SlideShare a Scribd company logo
i 
ชื่อหนังสือ : รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 
ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
ISBN : 978-616-11-2301-7 
จัดพิมพ์โดย : กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 
กระทรวงสาธารณสุข 
พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2556 
จานวน : 500 เล่ม 
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์วัชรินทร์ พี.พี. 02-497-6183
ii 
รายงาน 
การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 
ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ
ii
i 
คณะผู้วิจัย 
สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ 
นพ.เอกชัย เพียรศรีวัชรา สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล 
วิมล บ้านพวน ธีระ ศิริสมุด 
แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล 
ผศ.ดร.ลี่ลี อิงศรีสว่าง 
ดร.นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท ์ 
ที่ปรึกษาโครงการ 
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย 
นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพนื้ที่เครือข่ายที่ 5 
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพนื้ที่เครือข่ายที่ 12 
นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อานวยการสานักส่งเสริมสุขภาพ 
นายแพทย์ไกรวุฒิ ก้วนหิน้ ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช 
นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา 
คณะทางาน 
นางเบญจมาภรณ์ ศิริเฉลิม สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 
นางสาวพีรญา จันทร์คง สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 
ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยเขต ที่ 1-12 กรมอนามัย 
ออกแบบปก 
วรุฒ เลิศศราวุฒ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ
i 
คานา 
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ฉบับนี้ 
กรมอนามัย โดยกลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สานักส่งเสริมสุขภาพ ได้ดาเนินการจัดทาขึ้น ภายใต้โครงการ 
สารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 
สารวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุในประเทศไทย ติดตามผลการดาเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 
ตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ และเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับผู้บริหาร 
ในการกาหนดนโยบายด้านผู้สูงอายุ 
สานักส่งเสริมสุขภาพ โดยกลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ และคณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ 
อธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพืน้ที่เครือข่ายที่ 5 
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพืน้ที่เครือข่ายที่ 12 รองอธิบดีกรมอนามัย 
ทุกท่าน นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อานวยการสานักส่งเสริมสุขภาพ คณะผู้เชี่ยวชาญจากกรมสุขภาพจิต 
กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุจากศูนย์อนามัย 
ที่ 1-12 และผู้รับผิดชอบงานจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดพืน้ที่เป้าหมายทุกแห่ง นักวิจัยภาคสนามทุกท่าน 
ในการร่วมกันดาเนินงานด้วยดีจนบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายแผนงานโครงการ 
สุดท้ายนีข้อขอบพระคุณ สานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 
ที่ได้ให้ข้อคิดเห็น แนวทางการดาเนินงาน และสนับสนุนทุนในการวิจัยครัง้นี้ 
คณะผู้วิจัย 
พ.ศ. 2556
ii
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
iii 
บทสรุปผู้บริหาร 
ปี พ.ศ. 2555 กรมอนามัย ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนา 
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงได้ร่วมกันจัดทาและดาเนินแผนงาน “โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ” ขึน้ 
โดยบูรณาการงานร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ สาหรับกรมอนามัย โดยสานักส่งเสริมสุขภาพ ได้จัดทาและดาเนิน 
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการตัง้แต่นัน้มา หลังดาเนินการ 1 ปี สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 
กระทรวงสาธารณสุข และโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ ร่วมมือสารวจสถานการณ์ปัญหา 
สุขภาวะของผู้สูงอายุ รวมทัง้ติดตามผลการดาเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 
และผู้พิการดังกล่าว โดยสารวจข้อมูลผู้สูงอายุจานวน 13,642 คน จาก 28 จังหวัดเป็นตัวแทนครอบคลุมทัง้ 
12 เครือข่ายบริการสุขภาพ/ศูนย์อนามัยเขต และสารวจระบบการให้บริการเกี่ยวกับผู้สูงอายุของสถานพยาบาลในพืน้ที่ 
สารวจสุขภาวะผู้สูงอายุ จานวน 181 แห่ง โดยมงุ่หวังเพื่อค้นหาข้อมูลจากการดาเนินงานตามแผนงานดังกล่าวมาใช้ 
ประโยชน์ในการวางแผน ปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ์การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการต่อไป 
สรุปผลการศึกษา 
1. ผู้สูงอายุไทย มีความเจ็บป่วยด้วยโรค/ปัญหาสุขภาพดังต่อไปนี้โรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 41) โรคเบาหวาน 
(ร้อยละ 18) ข้อเข่าเสื่อม (ร้อยละ 9) เป็นผู้พิการ (ร้อยละ 6) โรคซึมเศร้า (ร้อยละ 1) และผู้ป่วยติดเตียง (ร้อยละ 1) 
ขณะที่มีเพียงร้อยละ 5 เท่านัน้ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์และไม่มีโรค/ปัญหาสุขภาพดังกล่าว 
2. จานวนผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยข้างต้นอาจมีจานวนน้อยกว่านี้หากผู้สูงอายุเข้าถึงการคัดกรองโรคเหล่านัน้ได้อย่าง 
ถ้วนหน้า โดยในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80 
โรคเบาหวาน ร้อยละ 73 ซึมเศร้าร้อยละ 33 และข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 9 
3. นอกเหนือจากการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองโรคแล้ว คุณภาพของการคัดกรองโรคก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สาคัญ 
ที่ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่ การสารวจนีพ้บว่าผู้สูงอายุที่มีผลการคัดกรองโรคเบาหวานผิดปกติ ร้อยละ 37 
ไม่ทราบว่าตนเองอาจมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน และผู้สูงอายุที่มีผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตผิดปกติ 
ร้อยละ 43 ไม่ทราบว่าตนเองอาจมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ทัง้นีผู้้สูงอายุที่มีผลการคัดกรองผิดปกติ 
เหล่านัน้ จึงกลายเป็นผู้เสียโอกาสในการดูแลรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างทันท่วงที ทัง้ที่ได้รับการคัดกรอง 
โรคแล้ว 
4. การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างถ้วนหน้าและมีคุณภาพจะช่วยลดปัญหาผู้สูงอายุป่วยเป็น 
โรคแทรกซ้อนจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดภาระของระบบสุขภาพในการดูแลโรคแทรกซ้อนเหล่านัน้ 
ในปัจจุบันพบว่าผู้สูงอายุถึงร้อยละ 18 มีโรคแทรกซ้อนจากเบาหวานและร้อยละ 13 มีโรคแทรกซ้อนจาก 
ความดันโลหิตสูง 
5. คุณภาพการรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่เพิ่มขึน้ ทัง้นีถึ้งแม้ว่าผู้ป่วย 
ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคส่วนใหญ่จะได้รับการติดตาม รักษาโรค (ร้อยละ 94 ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ ร้อยละ 97 
ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง) แต่ยังมีผู้สูงอายุมากถึงร้อยละ 55 ไม่สามารถควบคุมระดับนา้ตาลในเลือด 
และร้อยละ 43 ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต โดยปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับค่านา้ตาลในเลือด
iv 
ปกติ ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มีสมาชิกในบ้าน 2 คน (OR=1.4 95 CI:1.1-2.2) สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ 
(OR=1.4 95 CI:1.0-1.9) รอบเอวปกติ (OR=1.1 95 CI:1.0-1.6) เป็นโรคเบาหวาน 1-2 ปี และ 3-4 ปี (OR=1.4 
95 CI:1.1-1.9) และไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (OR=2.7 95 CI:1.1-1.9) 
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับค่าความดันโลหิตปกติ ได้แก่ ผู้สูงอายุอาศัยในเขตภาคใต้ (OR=1.5 95 CI:1.1- 
2.4) ใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (OR=2.0 95 CI:1.2-3.4) มีและใช้สมุดคู่มือการดูแลส่งเสริม- 
สุขภาพผู้สูงอายุ (OR=2.0 95 CI:1.1-3.7) มีฟันใช้งานมากกว่า 20 ซี่หรือ 4 คู่สบ (OR=1.4 95 CI:1.0-2.0) 
ดื่มสุราเป็นบางครัง้และไม่ดื่มสุรา (OR=3.5 95 CI:1.1-3.4 และ OR=3.5 95 CI:1.3-3.4) 
6. การสารวจครั้งนี้พบว่าผู้สูงอายุไทยร้อยละ 26 มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ซึ่งต่ากว่าเป้าหมายที่ตัง้ไว้ 
ร้อยละ 30 ทัง้นีพ้ฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ผู้สูงอายุไทยปฏิบัติตัวได้น้อยที่สุดเรียงตามลาดับ ได้แก่ 
ออกกาลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 15-30 นาทีเป็นประจา (ร้อยละ 57) ดื่มนา้สะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่า 
เป็นประจา (ร้อยละ 65) รับประทานผักและผลไม้เป็นประจา (ร้อยละ 66) ไม่ดื่มสุรา/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 
(ร้อยละ 83) และไม่สูบบุหรี่ (ร้อยละ 84) 
7. ปัจจัยสัมพันธ์เชิงบวกที่สาคัญต่อการที่ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ครบทัง้ 5 ประการ ได้แก่ 
การจัดกิจกรรมทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ เช่น ชมรมผู้สูงอายุ (OR=1.4 95CI: 1.1-1.9) หรือการเข้าร่วมกิจกรรม 
ในหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นประจา (OR=2.0 95CI: 1.6-4.6) มีและใช้สมุดคู่มือการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 
(OR=1.1 95CI: 1.4-2.7) รวมถึงผู้สูงอายุมีฟันใช้งานมากกว่า 20 ซี่หรือ 4 คสู่บ (OR=1.1 95CI: 1.4-2.3) 
8. การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ส่งผลให้ผู้สูงอายุไทยมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพหลายประการ ที่สาคัญที่สุด 
คือ ภาวะนา้หนักเกินและโรคอ้วน การสารวจนีพ้บความชุกสูงถึงร้อยละ 43 ในเพศชาย และร้อยละ 50 
ในเพศหญิง โดยปัจจัยป้องกันที่สาคัญ ได้แก่ การออกกาลังกายเป็นประจา (OR=0.8 95 CI: 0.7-0.9) 
9. โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์ทัง้หมดมีโครงสร้างที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาล 
ส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ร้อยละ 13 ไม่มีส้วมนงั่ราบห้อยขา นอกจากนัน้ยังพบว่าร้อยละ 13 ไม่ได้ปรับปรุง 
ห้องส้วมให้มีราวจับเพื่อช่วยพยุง และไม่ปรับพืน้ห้องนา้เพื่อป้องกันการลื่นหกล้ม 
10. จานวนพยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงแพทย์ มีสัดส่วนบุคลากรต่อการดูแลผู้สูงอายุดีกว่าบุคลากร 
ด้านอื่นๆ ได้แก่ นักกายภาพบาบัด นักกิจกรรมบาบัด นักสังคมสงเคราะห์ ทันตแพทย์ รวมทัง้แพทย์แผนไทย
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
v 
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 
1. ปรับปรุงแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุฯ ให้ดาเนินการเชิงรุกนอกสถานพยาบาลมากขึน้ โดยครอบครัวและ 
ชุมชนควรมีบทบาทที่สาคัญในการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและโอกาส 
ในการเป็นโรคเรือ้รังในผู้สูงอายุ 
2. ค้นหามาตรการและนโยบายที่มีประสิทธิภาพในการทาให้ผู้สูงอายุไทยมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 
เพิ่มสูงขึน้ ทัง้นอี้าจพัฒนาเป็นงานวิจัยที่มีระบบการประเมินผลที่ถูกต้องแม่นยา 
3. เพิ่มคุณภาพการคัดกรองโรคสาหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะการแจ้งผลการตรวจ และการปฏิบัติตัวทัง้ผู้ที่เป็นโรค 
และไม่เป็นโรค ทัง้นีค้วรพัฒนาตัวชีวั้ดด้านคุณภาพ (quality indicators) เพื่อใช้ประเมินผลการดาเนินงานของ 
โครงการและจัดสรรงบประมาณ นอกเหนือจากตัวชีวั้ดเชิงกระบวนการ (process indicators) เช่น จานวนบริการ 
ที่ให้ 
4. ปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 
5. พิจารณาเพมิ่จานวนบุคลากรที่ขาดแคลน ในพืน้ที่ที่ขาดแคลน เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุไทยเข้าถึงบริการผู้สูงอายุ 
ที่จาเป็นอย่างถ้วนหน้าและจาเป็น 
6. มีการศึกษาเชิงลึกเพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ของการมีสมุดคมูื่อฯ กับการควบคุมระดับนา้ตาลในเลือด และควบคุม 
ระดับความดันโลหิตกับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 
7. จัดให้มีการประเมินผลการดาเนนิงานแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุฯ ในสองปีข้างหน้า
vi
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
vii 
สารบัญ 
หน้า 
คานา i 
บทสรุปผู้บริหาร iii 
1 บทนา 1 
2 ระเบียบวิธีวิจัย 5 
3 ผลการศึกษา 15 
การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย 16 
การสารวจสถานพยาบาลและการให้บริการผู้สูงอายุ 40 
ผลการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนงาน 59 
ยุทธศาสตร์ที่ 1: ส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีตามมาตรฐานสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ 59 
ยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 67 
ยุทธศาสตร์ที่ 3: สร้างความเข้มแข็งการมสี่วนร่วมของท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลผู้สูงอายุ 
ในชุมชน 
68 
4 สรุปและอภิปรายผล 71 
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 83 
เอกสารอ้างอิง 85 
ภาคผนวก 87
viii 
สารบัญรูป 
หน้า 
รูป 1 กรอบการศึกษา 7 
รูป 2 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 11 
รูป 3 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการได้รับการคัดกรองและประเมินอาการโรคเบาหวานและ 
ความดันโลหิตสูง 
13 
รูป 4 จังหวัดตัวอย่างในการสารวจ 17 
รูป 5 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการจาแนกตามประเภทความพิการ 18 
รูป 6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการจาแนกตามความจา เป็นและการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคน 
18 
พิการ 
รูป 7 ร้อยละของระดับรอบเอวผู้สูงอายุจาแนกตามเพศ 19 
รูป 8 ร้อยละของค่าดัชนีมวลกายผู้สูงอายุจา แนกตามเพศ 20 
รูป 9 ร้อยละของค่าของดัชนีมวลกายผู้สูงอายุจาแนกตามกลุ่มโรคและเพศ 20 
รูป 10 ร้อยละของโรค/ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุจาแนกตามเพศ 21 
รูป 11 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ทราบค่าระดับนา้ตาลในเลือดจาแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค 
และสถานพยาบาลที่รับบริการ 
22 
รูป 12 สัดส่วนของผู้สูงอายุทเี่ป็นโรคเบาหวานไม่ได้รับคาแนะนาหลังตรวจจาแนกตามสถานพยาบาล 
ที่รับบริการ 
22 
รูป 13 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ทราบค่าระดับความดันโลหิตจาแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค 
และสถานพยาบาลที่รับบริการ 
23 
รูป 14 สัดส่วนของผู้สูงอายุทเี่ป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ได้รับคาแนะนาหลังตรวจจา แนกตาม 
สถานพยาบาลที่รับบริการ 
24 
รูป 15 ร้อยละของผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงที่ได้รับการเยี่ยมบ้านและความพึงพอใจต่อการเยี่ยมบ้าน 25 
รูป 16 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รบัการคัดกรองโรค/ปัญหาสุขภาพ 26 
รูป 17 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง และภาค 26 
รูป 18 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคเบาหวานไม่ทราบค่าระดับนา้ตาลในเลือดจากการคัดกรอง 
จาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง ภาค และสถานพยาบาลที่รับบริการ 
26 
รูป 19 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคเบาหวานไม่ได้รบัคาแนะนาการปฏิบัติตัวหลังการคัดกรอง 
จาแนกตามสถานพยาบาลที่รับบริการ 
28 
รูป 20 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง 
และภาค 
28 
รูป 21 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ทราบค่าระดับความดันโลหิตจากการคัด 
กรองจาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง ภาค และสถานพยาบาลที่รับบริการ 
29
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
ix 
สารบัญรูป (ต่อ) 
รูป 22 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ได้รับคาแนะนา การปฏิบัติตัวหลังการคัด 
กรองจาแนกตามสถานพยาบาลที่รับบริการ 
หน้า 
29 
รูป 23 ร้อยละของผู้สูงอายุจา แนกตามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และการปฏิบัติ 31 
รูป 24 สัดส่วนของผู้สูงอายุทปี่่วยเป็นโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง 32 
รูป 25 สัดส่วนของผู้สูงอายุทปี่่วยเป็นโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงและได้รับคาแนะนาการปฏิบัติ 
ตัวจาแนกตามพฤติกรรมการดื่มสุรา 
32 
รูป 26 ร้อยละของผู้สูงอายุจา แนกตามการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมและความพึงพอใจ 32 
รูป 27 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับนา้ตาลในเลือดปกติของผู้ป่วยเบาหวานที่มารบัการตรวจประเมิน 
ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา 
34 
รูป 28 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับค่าความดันโลหิตปกติของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มารับการ 
ตรวจประเมินในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา 
35 
รูป 29 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 36 
รูป 30 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบ BMI ต่ากว่าเกณฑ์ปกติ (< 18.5 kg/m2) 38 
รูป 31 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบ BMI สูงกว่าเกณฑ์ปกติ (≥ 25.0 kg/m2) 39 
รูป 32 จานวนบุคลากรเทียบกับประชากรผู้สูงอายุในพืน้ที่จา แนกตามประเภทสถานพยาบาล 41 
รูป 33 ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีบุคลากรอบรมหลักสูตร ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ (ครู ก) 42 
รูป 34 ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีคมูื่อปฏิบัติงานกจิกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทสี่าคัญจาแนกตาม 
ประเภทสถานพยาบาล 
44 
รูป 35 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามความเพียงพอของงบประมาณในการดาเนินงานปี 
พ.ศ. 2556 และประเภทของสถานพยาบาล 
47 
รูป 36 จานวนและร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามจานวนบุคลากรในทีมสุขภาพ 
(home health care team) 
48 
รูป 37 ร้อยละของบุคลากรในทีมสุขภาพ (home health care team) จาแนกตามประเภท 49 
รูป 38 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามผลการประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทบี่้านที่มีคุณภาพ 50 
รูป 39 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามผลการประเมินคุณภาพ “กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันต 
สุขภาพ” 
52 
รูป 40 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามการประเมินตาบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวของ 
สถานพยาบาลสุขภาพ 
55 
รูป 41 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการได้รับการคัดกรองและการประเมินอาการโรคเบาหวาน 56 
รูป 42 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการได้รับการคัดกรองและการประเมินอาการโรคความดันโลหิตสูง 57
x 
สารบัญรูป (ต่อ) 
หน้า 
รูป 43 ผลการประเมินตัวชวีั้ดการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 5 โรค/ปัญหาสุขภาพจาก 
การสารวจผู้สูงอายุไทยปี พ.ศ. 2556 
60 
รูป 44 ผลการประเมินตัวชวีั้ดการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 6 โรคหรือปัญหาสุขภาพของ 
สถานพยาบาล 
61 
รูป 45 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ 
ของสถานพยาบาล 
65 
รูป 46 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มผู้ป่วยได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ 
ของสถานพยาบาล 
65 
รูป 47 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพทพีึ่งประสงค์จากการสารวจผู้สูงอายุไทย 
ปี พ.ศ. 2556 
66 
รูป 48 ผลการประเมินตัวชวีั้ดสถานพยาบาลที่มีห้องนา้ผู้สูงอายุและผู้พิการ (ส้วมนงั่ราบห้อยขา 
และการปรับปรุงห้องนา้) 
67 
รูป 49 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุมีฟันใช้เคีย้วอาหารได้อย่างเหมาะสม 68 
รูป 50 ร้อยละสถานพยาบาลที่มี อผส. ในพืน้ที่รับผิดชอบ 69 
รูป 51 ผลการประเมินตัวชวีั้ดตาบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 70
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
xi 
สารบัญตาราง 
หน้า 
ตาราง 1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ จาแนกตามภาค 8 
ตาราง 2 รายละเอียดขัน้ตอนและวิธีการคานวนกลุ่มตัวอย่าง 8 
ตาราง 3 อัตราตอบกลับแบบสอบถาม 40 
ตาราง 4 จานวนบุคลากรที่ทางานด้านผู้สูงอายุและอัตราส่วนต่อสถานพยาบาล 41 
ตาราง 5 จานวนและร้อยละของการถ่ายทอดองค์ความรู้และพัมนาทักษะของครู ก ในแต่ละ 
สถานพยาบาล 
43 
ตาราง 6 จานวนและร้อยละของความเพียงพอของคมูื่อปฏิบัติงานในสถานพยาบาล 45 
ตาราง 7 จานวนและร้อยละของการบันทึกและใช้ประโยชน์ข้อมูลด้านผู้สูงอายุในสถานพยาบาล 46 
ตาราง 8 จานวนและร้อยละของแหล่งงบประมาณดา เนนิงานด้านผู้สูงอายุในสถานพยาบาล 47 
ตาราง 9 จานวนและร้อยละของการบริหารงบประมาณที่ไม่เพียงพอต่อการดาเนินงานในสถานพยาบาล 48 
ตาราง 10 จานวนและร้อยละของสถานพยาบาลที่มีการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุนอนติดเตียงและติดบ้านของทีม 
สุขภาพ (home health care team) 
49 
ตาราง 11 จานวนและร้อยละของสถานพยาบาลที่มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)และการปฏิบัติงาน 
เยี่ยมบ้าน 
51 
ตาราง 12 จานวนและร้อยละของกิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้พิการใน 
สถานพยาบาล 
52 
ตาราง 13 จานวนและร้อยละของส้วมนงั่ราบห้อยขา และการปรับส้วมและทางลาดชันให้เหมาะกับ 
ผู้สูงอายุและผู้พิการในสถานพยาบาล 
53 
ตาราง 14 จานวนและร้อยละของการจัดสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน 54 
ตาราง 15 ผลการประเมินตัวชีวั้ดการได้รับการพัฒนาทักษะกายและใจ 64
xii
2 
หลักการและเหตุผล 
ประเทศไทยก้าวสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตัง้แต่ปี พ.ศ. 2548 และมีแนวโน้มสถานการณ์ผู้สูงอายุ 
เพิ่มสูงขึน้อย่างรวดเร็วทัง้จานวนและสัดส่วน โดยพบว่าประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึน้ไป คิดเป็นร้อยละ 7.4 หรืออายุ 
60 ปีขึน้ไป คิดเป็นร้อยละ 12 มีการคาดการณ์ว่าอีก 20 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด 
(Super aged society) ซึ่งหมายถึงมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึน้ไป คิดเป็นร้อยละ 20 ขึน้ไป หรืออาจ 
กล่าวได้ว่าในอีก 7 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2564) ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society)1 
ในขณะที่แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลาพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึน้ ซึ่งมีผลต่อการให้การดูแลผู้สูงอายุ 
ทัง้ด้านร่างกายและจิตใจ อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคไร้เชือ้ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน 
หรือไขมันในเลือดสูง ซงึ่โรคเหล่านีล้้วนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึน้และเป็นโรคที่รักษาไม่หาย ทาให้มีภาวการณ์พึ่งพา 
ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและระยะยาว ผู้สูงอายุจานวนมากมีปัญหาข้อเข่าเสื่อม และครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุ 
มีฟันแท้เหลือน้อยกว่า 20 ซี่ ทาให้ไม่สามารถเคีย้วอาหารได้ ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน2 การจัด 
สภาพแวดล้อมให้เอือ้ต่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยเฉพาะการจัดให้มีส้วมนงั่ราบห้อยขาในทุกสถานบริการ 
และในชุมชนเพื่อลดความรุนแรงจากโรคข้อเข่าเสื่อม และการสร้างเสริมสุขภาพชอ่งปากผู้สูงอายุจึงมีความสาคัญ 
จากรายงานโครงการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 
(พ.ศ. 2554 - 2564) ฉบับปรับปรุงครัง้ที่ 1 พ.ศ. 2552 ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2550 - 2554)3 ดัชนีวัดที่ 8 สัดส่วน 
ประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ซงึ่กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รับผิดชอบหลักมีเป้าหมายการ 
ดาเนินงาน ร้อยละ 30 ซึ่งพบว่าผลการดาเนินงานได้เพียงร้อยละ 18.7 เช่นเดียวกับ ดัชนีวัดที่ 38 สัดส่วนของ 
ตาบลที่มีบริการสาหรับผู้สูงอายุต่อไปนี้1. สนับสนุนการดูแลระยะยาว 2. ระบบประคับประคอง 3. ดูแลโรคเรือ้รัง 
ที่สาคัญ 4. อาสาสมัครในชุมชน 5. สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งกระทรวง 
สาธารณสุขดาเนินงานภายใต้ “ตาบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว” ซึ่งไม่ผ่านการประเมินที่กาหนดไว้ โดย 
ผลการประเมินคิดเป็นร้อยละ 34.3 จากเป้าหมายร้อยละ 50 
ปี พ.ศ. 2555 กรมอนามัย ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนา 
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงได้ร่วมกันดาเนินงานแผนงาน “โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ” 
โดยบูรณาการงานร่วมกับภาคีเครือข่ายโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีเป้าหมายสาคัญเพื่อ 1) ส่งเสริม 
และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพทพีึ่งประสงค์โดยผสมผสานมาตรฐานการดูแลสุขภาพแบบ 
องค์รวมทัง้สุขภาพกายและจิต 2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้า 
และเท่าเทียม 3) เพื่อพัฒนาระบบบริการเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้มีคุณภาพทัง้ในสถานบริการและบริการเชิงรุก 
ในชุมชน 4) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ และ 5) เพื่อดูแล 
ผู้สูงอายุและผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
3 
หลังจากดาเนินงานตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการระยะเวลา 1 ปี สานักส่งเสริมสุขภาพ 
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ จึงได้จัดทา 
“โครงการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ” 
โดยมุ่งหวังเพื่อค้นหาและนาข้อมูลจากการดาเนินงานตามแผนงานดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ในการวางแผน 
ปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ์การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวติผู้สูงอายุและผู้พิการในการดาเนินงานตามแผนงาน 
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการระยะต่อไป 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อสารวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของผู้สูงอายุในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2556 
2. เพื่อติดตามผลการดาเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 
3. เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับผู้บริหารในการกาหนดนโยบายด้านผู้สูงอายุ 
พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 
พนื้ที่ดาเนินงานสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 จานวน 28 จังหวัด ครอบคลุม 12 เครือข่ายบริการ 
สุขภาพฯ 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1. มีข้อมูลที่สาคัญและมีความจาเป็นในการวางแผนการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทัง้ในระดับเขต 
บริการสุขภาพและในภาพรวมของประเทศ 
2. มีข้อมูลผลการดาเนินงานตามตัวชวีั้ดสาคัญตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ เพื่อรายงานต่อ 
กระทรวงสาธารณสุขและรัฐบาล 
3. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการดูแลที่เหมาะสม
4
6 
การสารวจครัง้นี้ต้องการศึกษาผลที่เกิดจากการดาเนินงานด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริม 
สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ เป็นการศึกษาตลอดทัง้การดาเนินงานของโครงการในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา 
(ปีงบประมาณ 2556) ซึ่งประเด็นที่ศึกษา ได้แก่ ปัจจัยนาเข้า (Inputs) ในด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ 
เครื่องมือ การบริหารจัดการ แนวคิดและนโยบาย ศึกษาวิธีการหรือกระบวนการดาเนินงาน ( Processes) 
ของแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ศึกษาผลการดาเนินของกิจกรรมโครงการ (Outputs) 
ตามแผนงานดังกล่าว เพื่ออธิบายผลลัพธ์ตามเป้าหมายและตัวชีวั้ดที่ต้องการของโครงการ ( Outcomes) 
นอกจากนัน้ยังศึกษาผลกระทบระยะสัน้ที่จะเกิดขึน้จากโครงการดังกล่าว (Impacts) ดังนัน้ การสารวจครัง้นีจึ้ง 
ต้องเก็บรวบรวบข้อมูลจาก 2 ส่วน คือ 1) ข้อมูลสุขภาวะและการใช้บริการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และ 2) ข้อมูล 
ผู้ให้บริการ สถานพยาบาลและระบบบริการ ดาเนินการศึกษาตัง้แต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึง เมษายน 
พ.ศ. 2557 รวมระยะเวลา 6 เดือน โดยมีกรอบการศึกษา ดังรูป 1 
การสารวจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย 2) การสารวจสถานพยาบาลและการ 
ให้บริการผู้สูงอายุ มีรายละเอียดของระเบียบวิธีวิจัยในแต่ละส่วน ดังนี้ 
ส่วนที่ 1 การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย 
รูปแบบและขอบเขตการศึกษา 
การศึกษาวิจัยเชิงสารวจครัวเรือนภาคตัดขวาง (cross-sectional household survey) โดยเก็บข้อมูลผู้สูงอายุไทย 
ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึน้ไป ที่อาศัยในหมบู่้านหรือชุมชนในพนื้ที่12 เครือข่ายบริการสุขภาพฯ 
ประชากรเป้าหมาย 
ผู้สูงอายุไทยที่พักอาศัยในหมบู่้าน/ชุมชนตัวอย่าง อย่างน้อย 6 เดือน (นับย้อนจากวันที่สัมภาษณ์) และเกิดก่อน 
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497 
กลุ่มตัวอย่างและการกาหนดขนาดตัวอย่าง 
การสารวจเสนอผลข้อมูล 2 ระดับ คือ ระดับเครือข่ายบริการสุขภาพหรือศูนย์อนามัยเขต และระดับประเทศ ดังนัน้ 
ผู้สูงอายุที่จะสมุ่เป็นกลุ่มตัวอย่างจะคานวณตามแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ ตามสูตรการสารวจข้อมูลที่ทราบ 
จานวนประชากรผู้สูงอายุ และเป็นประชากรผู้สูงอายุในแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ มีสูตรคานวณ ดังนี้ 
2 
/ 2 
Z NPQ 
α 
+ 
ε α 
2 2 
/ 2 
Z PQ N 
n 
= 
n = จานวนผู้สูงอายุตัวอย่าง Z oe/2 = 1.96 (ค่าคงที่ที่ระดับความเชื่อมนั่ 95) N = จานวนประชากรผู้สูงอายุในแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ P = สัดส่วน 
พฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่พึงประสงค์4 (ตาราง 1)) e = ขนาดความคลาด-เคลื่อนหรือความผิดพลาดที่ยอมให้เกิดจากการวิจัย = 3 
หมายเหตุ : สัดส่วนพฤติกรรมสุขภาพผสูู้งอายุที่ไม่พึงประสงค์ของแต่ละภาค (P1-P4) จะถูกนาไปคิดคานวณกลุ่มตัวอย่างในแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ ที่อยู่ในภูมิภาคนนั้ๆ
วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ สื่อ แนวคิด/นโยบาย 
ประชาสัมพันธ์ให้สถานบริการสาธารณะปรับ 
สภาพแวดล้อมให้เอือ้ต่อผู้สูงอายุและคนพิการ 
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
7 
Inputs 
Processes 
Outputs 
Outcomes 
Impacts 
บุคลากร งบประมาณ การบริหารจัดการ 
จัดระบบบริการผู้สูงอายุกลมุ่ต่างๆ 
เน้นติดบ้าน ติดเตียง 
จัดตัง้ชมรมผู้สูงอายุ 
การอบรม ครู ก (เจ้าหน้าที่) 
ครู ก จัดอบรมเจ้าหน้าที่คน 
อื่น/อสม. อปท. วัด 
พัฒนาและจัดระบบบริการ/ทีม Home 
health care 
มีแนวทาง เครื่องมือ และทาการคัดกรองโรค พัฒนาคู่มือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (สมุดประจาตัว) 
ได้แก่ เบาหวาน ความดัน ADL ซึมเศร้า ข้อเข่า 
เสื่อม สมองเสื่อม คนพิการ จัดทาแนวทางพัฒนากาย ใจ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรร 
รมทุกระดับสถานบริการและ อสม. 
จัดให้มีส้วมนงั่ราบห้อยขาในสถาน 
บริการสาธารณะ 
มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 
การติดตามประเมินผล 
ผู้สูงอายุที่ได้การคัดกรองและการ 
จาแนกกลมุ่ (ปกติ เสี่ยง เป็นโรค) 
มีเจ้าหน้าที่ได้รับการ 
อบรมเป็นครู ก และ 
อบรมถ่ายทอดสู่ 
เจ้าหน้าที่คนอื่น/อสม. 
และผู้สูงอายุ 
มีระบบบริการดูแล ติดตาม เฝ้าระวังผู้สูงอายุกลมุ่ 
ต่างๆ เน้นกลมุ่ติดบ้าน ติดเตียง 
มี Home health care ที่มี 
คุณภาพ 
มีระบบส่งเสริม ป้องกัน ทันตสุขภาพ 
มีส้วมนงั่ราบห้อยขาในสถานบริการสุขภาพ 
สถานบริการสาธารณะปรับสภาพแวดล้อมเอือ้ต่อ 
ผู้สูงอายุและคนพิการ 
อสม. ผสอ.มีความรู้ความเข้าใจและ 
สามารถพัฒนาทักษะกาย ใจของตน 
ได้ 
ผสอ.มีและใช้สมุดคู่มือประจาตัว 
เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 
การส่งเสริม ป้องกัน รักษา ติดตาม เฝ้าระวัง (ทัง้ผู้สูงอายุปกติ และผู้ที่เป็นโรคที่พบจากการ คัดกรอง โรค 
ทางทันตกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพและการให้เครื่องช่วยคนพิการ) 
ผสอ. มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ การออกกาลังกาย ทานผัก ผลไม้ ดื่มนา้สะอาดเพียงพอ 
ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุรี่ 
ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทัง้กายใจ ได้แก่ 1. กินอาหารได้ 2. มีค่า BMI ปกติ/รอบเอว 
ปกติ 3. ช่วยเหลือตนเองได้ 4. ไม่ฆ่าตัวตาย 
ผู้สูงอายุที่เป็นโรคมีการดาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 
ผู้พิการได้รับการบริการการทางแพทย์ที่เหมาะสมและเท่าเทียม 
ผู้สูงอายุและผู้พิการมีส่วน 
ร่วมกับชุมชน 
รูป 1 กรอบการศึกษา
8 
ตาราง 1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ จาแนกตามภาค 
ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ ร้อยละ 
กลาง (ตะวันออกและตะวันตก) (P1) 0.79 
เหนือ (P2) 0.83 
ตะวันออกเฉียงเหนือ (P3) 0.83 
ใต้ (P4) 0.80 
รวมทัง้ประเทศ 0.81 
ได้กลุ่มตัวอย่างทัง้สิน้ 14,070 คน มีรายละเอียดขัน้ตอนและวธิีการคานวณ ดังนี้(ตาราง 2) 
ตาราง 2 รายละเอียดขัน้ตอนและวธิีการคานวณกลุ่มตัวอย่าง 
ขัน้ตอนการคานวณกลุ่มตัวอย่าง 
จานวนกลุ่ม 
ตัวอย่าง (คน) 
1. แทนค่าในสูตรข้างต้น 8,510 
2. กาหนดอัตราการไม่ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 10 9,361 
3. ปรับค่าความแปรปรวนที่มีการสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขัน้ตอน เป็น 1.5 
เท่า 
14,042 
4. กาหนดเก็บข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนละ 30 คน คานวณหาจานวนหมู่บ้าน/ชุมชน 
ตัวอย่าง โดยนาขนาดตัวอย่างแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ หารกับ 30 ปรับ 
กลุ่มตัวอย่างตามความเหมาะสม 
14,070 
การเลือกพื้นที่และกลุ่มตัวอย่าง 
การสารวจครัง้นไี้ด้สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ 3 ชัน้ภูมิ (stratified three-stage sampling) มีรายละเอียด ดังนี้ 
ขั้นที่ 1 สุ่มเลือกจังหวัดพืน้ที่ตวัอย่างเป็นระบบ (Systematic random sampling) มีขัน้ตอน ดังนี้ 
1. แบ่งพนื้ที่การเก็บข้อมูลออกเป็น 12 หน่วย (ตามเครือข่ายบริการสุขภาพฯ ยกเว้น กทม.) 
2. หาจานวนประชากรผู้สูงอายุของเครือข่ายบริการสุขภาพฯ นัน้ๆ 
3. คิดสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุจากทัง้หมดของแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ 
4. กาหนดจานวนพืน้ที่ตัวอย่าง โดยมีข้อกาหนด ได้แก่ 
4.1 เครือข่ายบริการสุขภาพฯ ที่มีสดัส่วนผู้สูงอายุ < ร้อยละ 10 สุ่มเลือก 2 จังหวัด 
4.2 เครือข่ายบริการสุขภาพฯ ที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุ ≥ ร้อยละ 10 สุ่มเลือก 3-4 จังหวัด 
5. การเลือกจังหวัดตัวอย่างจะสุ่มเลือกอย่างง่าย (Simple random sampling ) โดยพิจารณาให้จังหวัดที่สุ่ม 
เลือกมีการกระจายไปตามขนาดพืน้ที่เล็ก/ใหญ่ของจังหวัด และพิจารณาให้เกิดการกระจายครอบคลุมทวั่ 
ภูมิภาคตามแผนที่ประเทศไทย
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
9 
ขั้นที่ 2 สุ่มเลือกหมู่บ้านหรือชุมชนอย่างง่าย (Simple random sampling) มีขัน้ตอน ดังนี้ 
6. กาหนดให้พนื้ที่ตัวอย่างกระจายตามเขตการปกครอง คือ เขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ในอัตราส่วน 1:2 
7. กาหนดการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุหมบู่้าน/ชุมชนละ 30 คน และนาไปคานวณโดยหารกับจานวนกลุ่มตัวอย่างที่ 
คานวณได้ของแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ จะได้จานวนหมู่บ้าน/ชุมชนตัวอย่างของแต่ละเครือข่ายบริการ 
สุขภาพฯ 
8. กาหนดจานวนหมบู่้าน/ชุมชนในจังหวัดที่ถูกเลือกของเครือข่ายฯ นัน้ๆ ตามขนาดสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 
9. สุ่มเลือกหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างง่ายตามจานวนของแต่ละจังหวัด และตามอัตราส่วนระหว่างเขตเทศบาล 
และนอกเขตในจังหวัดที่สุ่มเลือก 
ขั้นที่ 3 สุ่มเลือกกล่มุตัวอย่างผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ (Systematic random sampling) 
10. แบ่งกลุ่มอายุเป็น 3 ชัน้ภูมิ ได้แก่ อายุ 60-69 ปี อายุ 70-79 ปี และ อายุ 80 ปีขึน้ไป คานวณสัดส่วนผู้สูงอายุ 
ในแต่ละกลุ่มช่วงอายุ (จากการสารวจผู้สูงอายุคนไทยปี พ.ศ. 25544) พบสัดส่วน แต่ละกลุ่มเป็น 58, 32, 10 
หรือ 6:3:1 ได้กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ ดังนี้อายุ 60-69 ปี จานวน 18 คน (ชาย 9 คน หญิง 9 คน) อายุ 70-79 
ปี จานวน 9 คน (ชาย 4 คน หญิง 5 คน) อายุ 80 ปีขึน้ไป จานวน 3 คน (ชาย 1 คน หญิง 2 คน) 
11. สุ่มเลือกผู้สูงอายุในแต่ละชัน้ภูมิด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กาหนดให้สัมภาษณ์ผู้สูงอายุครัวเรือนละ 1 คน 
โดยสัมภาษณ์หมู่บ้านหรือชุมชนละ 30 คน 
(กรณีไม่สามารถหากลุ่มตัวอย่างได้ครบตามข้อ 10 ได้ ควรสัมภาษณ์อย่างนอ้ย 25 คนและกระจายทุกกลุ่มอายุ) 
เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ 
(Inclusion criteria) 
เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมออกจากโครงการ 
(Exclusion criteria) 
 ผู้สูงอายุไทย ที่พักอาศัยในหมบู่้าน/ชุมชน 
ตัวอย่างอย่างน้อย 6 เดือน (นับจากวันที่ 
สัมภาษณ์) 
 เกิดก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497 
 เป็นผู้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ ถึงแม้มีความ 
ผิดปกติทางจิตหรือทางกาย โดยขึน้อยกูั่บการ 
ประเมินของทีมวิจัยหรือเจ้าหน้าที่เก็บข้อมูล 
 ยินดีให้ความร่วมมือ 
 เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุไม่ครบ 60 ปี คือ เกิดหลัง 
ปี พ.ศ. 2496 
 เป็นผู้สูงอายุคนที่ 2 หรือมากกว่าในครัวเรือน 
เดียวกับผู้สูงอายุที่สุ่มเลือกสัมภาษณ์ 
 ไม่ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 
 เป็นผู้ที่เจ้าหน้าที่ได้ประเมินและสรุปว่าไม่ 
สามารถทาการสัมภาษณ์ได้ อาจเนื่องจาก 
มีความผิดปกติทางจิตหรือทางกายกาเริบ 
ดื่มสุราและอาจเป็นอันตรายต่อผู้สัมภาษณ์ 
เป็นต้น
10 
เครื่องมือในการสารวจ 
ในการสารวจประกอบด้วยแบบสอบถาม 4 ส่วน ดังนี้1) ข้อมูลทวั่ไป 2) ข้อมูลด้านสุขภาพและการได้รับบริการ 
สุขภาพ 3) ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ และ 4) ข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุ 
ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในพื้นที่ 
1. หัวหน้าทีมสารวจภาคสนามบริหารจัดการทีมสารวจให้สามารถดาเนินการตามขัน้ตอนและข้อกาหนดในคู่มือ 
การปฏิบัติการภาคสนาม5 
2. การลงพืน้ที่เก็บข้อมูลจะต้องกาหนดผู้รับผิดชอบดาเนินการในแต่ละวัน ได้แก่ ผู้ตรวจสอบความครบถ้วน 
ของข้อมูลในแบบสารวจ 
3. ทีมสารวจภาคสนามติดต่อผู้ประสานงานเพื่อนาทางไปพืน้ที่เป้าหมาย 
4. ผู้สัมภาษณ์ชีแ้จงและพิทักษ์สิทธิของผู้ยินยอมให้ข้อมูล ก่อนเก็บข้อมูลรับคายินยอม ให้กลุ่มตัวอย่างลง 
ลายมือชื่อในใบยินยอมเข้าร่วมโครงการโดยสมัครใจ ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ด้วย 
สาเหตุทางกายภาพ หรือไม่สามารถเขียนหนังสือได้ ให้พิมพล์ายนวิ้มือ แทนและมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 
2 คน 
5. ผู้สัมภาษณ์ดาเนินการสัมภาษณ์ตามขัน้ตอน 
6. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ดังนี้ 
ครัง้ที่ 1 โดยผู้สัมภาษณ์ ทาการตรวจสอบก่อนออกจากพืน้ที่ กรณีข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ขอข้อมูลเพิ่มเติม 
ครัง้ที่ 2 โดยหัวหน้าทีมภาคสนามทาการตรวจสอบก่อนออกจากพืน้ที่ กรณีข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ขอข้อมูลเพิ่มเติม 
ครัง้ที่ 3 โดยหัวหน้าทีมนักวิจัย หรือผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด/เขตบริการสุขภาพ ตรวจสอบข้อมูลในการสารวจ 
ก่อนส่งทีมวิจัยจากส่วนกลาง กรณีข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ประสานพนื้ที่เพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม 
หัวหน้าทีมสารวจภาคสนามสรุปรายงานการสารวจและจัดส่งแบบสารวจให้กับทีมวิจัยตรวจสอบความถูกต้อง 
ของข้อมูลก่อนบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
11 
การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล 
 การประมวลผลข้อมูล นาแบบสารวจลงรหัสข้อมูล บันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตรวจสอบข้อมูลในทุก 
ขัน้ตอนโดยนักวิจัยจากส่วนกลาง 
 การวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จานวนร้อยละ สัดส่วนค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้ 
อธิบายลักษณะทวั่ไป ข้อมูลด้านสุขภาพและการได้รับบริการสุขภาพ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ และข้อมูลสภาวะ 
แวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุ 
สถิติเชิงวิเคราะห์ (analytical statistics) เพื่อพิสูจน์ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการมีภาวะ 
สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุในพนื้ที่เป้าหมายตามกรอบการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ ดังนี้ 
วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติความถดถอยโลจิสติกเชิงพหุ (multiple binary logistic regression) เพื่อได้ 
adjusted odd ratio (OR.adj.) และ 95 Confidence Interval กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามกรอบ 
การวิเคราะห์ (รูป 2) 
รูป 2 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
12 
ส่วนที่ 2 การสารวจสถานพยาบาลและการให้บริการ 
รูปแบบและขอบเขตการศึกษา 
สารวจข้อมูลการให้บริการผู้สูงอายุในสถานพยาบาล ประกอบด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 
(โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ ในพืน้ที่ดาเนิน 
โครงการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี พ.ศ. 2556 จานวน 28 จังหวัด 
เครื่องมือในการสารวจ 
แบบสอบถามจานวน 13 ข้อ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลโครงสร้างพืน้ฐานของสถานบริการ รวมถึงงบประมาณ 
การบันทึกและรายงานผล ข้อมูลการจัดบริการผู้สูงอายุทวั่ไป ข้อมูลการจัดสภาพแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุและ 
ผู้พิการและข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของสถานบริการ 
การเก็บรวบรวมข้อมูล 
ผู้รับผิดชอบแต่ละสถานพยาบาลเป็นผู้กรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม และส่งข้อมูลกลับมายังส่วนกลาง 
โดยนักวิจัยส่วนกลางทาหน้าที่ตรวจสอบข้อมูล ลงรหัสข้อมูล บันทึกข้อมูลและนาเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา 
และเชิงวิเคราะห์ 
การวิเคราะห์ข้อมูล 
สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จานวนร้อยละ สัดส่วนค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้ 
อธิบายลักษณะ ข้อมูลโครงสร้างพืน้ฐานของสถานบริการ งบประมาณ การบันทึกและรายงานผลข้อมูล 
การจัดบริการผู้สูงอายุทวั่ไป ข้อมูลการจัดสภาพแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุและผู้พิการ 
สถิติเชิงวิเคราะห์ (Analytical statistics) พิสูจน์ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการได้รับการ 
คัดกรองและประเมินอาการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของผู้สูงอายุตามกรอบการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ 
ความถดถอยโลจิสติกเชิงพหุ (multiple binary logistic regression) เพื่อได้ adjusted odd ratio (OR.adj.) และ 
95 Confidence Interval ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามกรอบการวิเคราะห์ (รูป 3)
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
13 
รูป 3 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการได้รับการคัดกรองและประเมินอาการโรคเบาหวานและ 
ความดันโลหิตสูง
14
16 
การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย 
การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยในกลุ่มตัวอย่างประชากรอายุตัง้แต่ 60 ปีขึน้ไป ผลสารวจแบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้ 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ไป 
ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสุขภาพและการได้รับบริการสุขภาพ 
ส่วนที่ 3 ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ 
ส่วนที่ 4 ข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุ 
ส่วนที่ 5 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 
การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ.2556 จานวน 13,642 คน ใน 28 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ พะเยา ลาพูน 
สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุทัยธานี กาแพงเพชร อ่างทอง ปทุมธานี สระบุรี สิงห์บุรี สมุทรสงคราม กาญจนบุรี ชลบุรี 
สระแก้ว มหาสารคาม ร้อยเอ็ด หนองบัวลาภู เลย นครราชสีมา ชัยภูมิ สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร ชุมพร กระบี่ 
นราธิวาส และสงขลา (รูป 4) ผลการสารวจกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุพบว่า อาศัยอยใู่นพืน้ที่เขตเทศบาล ร้อยละ 38 
นอกเขตเทศบาล ร้อยละ 62 (คิดเป็นอัตราส่วน 1:2) ช่วงอายุ 60-69 ปี ร้อยละ 59 ช่วงอายุ 70-79 ปี ร้อยละ 31 
และช่วงอายุ 80 ปีขึน้ไป ร้อยละ 10 (คิดเป็นอัตราส่วน 6:3:1) เพศหญิง ร้อยละ 56 เพศชาย ร้อยละ 44 
กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส (ร้อยละ 61) รองลงมาคือ หม้าย (ร้อยละ 33) หย่าร้าง/แยกกัน- 
อยู่ และโสดเท่ากันที่ร้อยละ 3 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 75) รองลงมา ไม่ได้รับ- 
การศึกษา (ร้อยละ 16) ผู้ดูแลหลักส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุดูแลตนเอง (ร้อยละ 47) รองลงมาคือ บุตร 
(ร้อยละ 38) คสู่มรส (ร้อยละ 11) นอกจากนีพ้บว่ามีผู้สูงอายุร้อยละ 8 ที่อาศัยอยคู่นเดียว 
ด้านเศรษฐานะพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพ/ทางานบ้าน (ร้อยละ 46) รองลงมาประกอบ 
อาชีพเกษตรกรรม (ร้อยละ 34) ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว (ร้อยละ 9) รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 8) ค่ามัธยฐานรายได้ 
รวมกันของสมาชิกในครัวเรือนต่อเดือน 6,000 บาท แหล่งรายได้หลักส่วนใหญ่มาจากบุตร (ร้อยละ 50) รองลงมา 
จากตนเอง (ร้อยละ 38) คู่สมรส (ร้อยละ 8) และจากบุคคลอื่นๆ (ร้อยละ 4) 
ด้านสวัสดิการพบว่าร้อยละ 93 ได้รับเบีย้ยังชีพผู้สูงอายุ สาหรับผู้ที่ไม่ได้รับเบีย้ยังชีพฯ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุ 
60-69 ปี อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล สิทธิในการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 
(ร้อยละ 86) รองลงมาคือ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (ร้อยละ 13) ประกันสังคม (ร้อยละ 1)
รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 
17 
รูป 4 จังหวัดตัวอย่างในการสารวจ
18 
ผู้สูงอายุกับความพิการ 
กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุจานวน 728 คน (ร้อยละ 6) เป็นผู้ขึน้ทะเบียนเป็นคนพิการ โดยแยกเป็นเพศชาย ร้อยละ 49 
เพศหญิง ร้อยละ 51 ในจานวนดังกล่าว ร้อยละ 85 ได้รับเบยี้ยังชีพคนพิการ ด้านประเภทความพิการ ส่วนใหญ่ 
พิการด้านการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย (ร้อยละ 58) รองลงมาคือ การได้ยินหรือสื่อความหมาย (ร้อยละ 24) 
การเห็น (ร้อยละ 19) การเรียนรู้ (ร้อยละ 4) จิตใจหรือพฤติกรรม (ร้อยละ 3) และสติปัญญา (ร้อยละ 2) ทัง้นี้ 
บางรายมีประเภทความพิการมากกว่า 1 ด้าน (รูป 5) สาหรับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการพบว่า ร้อยละ 53 ระบุว่า 
ตนเองจาเป็นต้องใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยฯ โดยมีเพียงร้อยละ 29 ที่ได้รับอุปกรณ์ฯ (รูป 6) 
58 
24 
19 
4 3 2 
60 
50 
40 
30 
20 
10 
0 
การเคลื่อนไหว 
และร่างกาย 
การได้ยินหรือ 
สื่อความหมาย 
การเห็น การเรียนรู้ จิตใจหรือ 
พฤติกรรม 
สติปัญญา 
รูป 5 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการ จาแนกตามประเภทความพิการ 
ร้อยละ 
ไม่จาเป็น 
47% 
ไม่ได้รับ 
อุปกรณ์ฯ 
24% 
ได้รับ 
อุปกรณ์ฯ 
29% 
รูป 6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการ จาแนกตามความจาเป็นและการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 
ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพในรอบ 12 เดือน พบว่าผู้สูงอายุที่มีความพิการส่วนใหญ่ได้รับการฝึกทากิจวัตร- 
ประจาวัน/ทักษะการดารงชีวิต (ร้อยละ 37) รองลงมาได้รับการทากายภาพบาบัด และทากิจกรรมบาบัด/ 
พฤติกรรมบาบัด/จิตบาบัด (ร้อยละ 29 และ 23 ตามลาดับ) นอกจากนีมี้ร้อยละ 9 ได้รับงบประมาณสนับสนุนเพื่อ 
ปรับสภาพบ้าน/ส่งเสริมอาชีพ
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh
Elderly survey doh

More Related Content

What's hot

แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
Utai Sukviwatsirikul
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
Japan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderlyJapan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderly
Nattadech Choomplang
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
Tuang Thidarat Apinya
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
Chuchai Sornchumni
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
โปรตอน บรรณารักษ์
 
CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE
CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE
CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE
Utai Sukviwatsirikul
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
Chuchai Sornchumni
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
Yumisnow Manoratch
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
Suradet Sriangkoon
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 

What's hot (20)

แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
Japan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderlyJapan's healthcare policy for the elderly
Japan's healthcare policy for the elderly
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
Osdop swat
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE
CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE
CLINICAL PRACTICE GUIDELINE FOR DIAGNOSIS AND MANAGEMENT OF PARKINSON'S DISEASE
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 

Similar to Elderly survey doh

คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
Utai Sukviwatsirikul
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
SiiimSiiim
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔Puku Wunmanee
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
Chuchai Sornchumni
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
Utai Sukviwatsirikul
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
School of Allied Health Science of NPU
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
Thira Woratanarat
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
gel2onimal
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
CAPD AngThong
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
Mickey Toon Luffy
 

Similar to Elderly survey doh (20)

คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 

More from Chuchai Sornchumni

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
Chuchai Sornchumni
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Chuchai Sornchumni
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
Chuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
Chuchai Sornchumni
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
Chuchai Sornchumni
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
Chuchai Sornchumni
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
Chuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
Chuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
Chuchai Sornchumni
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
Chuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
Chuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
Chuchai Sornchumni
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
Chuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
Chuchai Sornchumni
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
Chuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 

Elderly survey doh

  • 1.
  • 2. i ชื่อหนังสือ : รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ISBN : 978-616-11-2301-7 จัดพิมพ์โดย : กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2556 จานวน : 500 เล่ม พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์วัชรินทร์ พี.พี. 02-497-6183
  • 3. ii รายงาน การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ
  • 4. ii
  • 5. i คณะผู้วิจัย สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ นพ.เอกชัย เพียรศรีวัชรา สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล วิมล บ้านพวน ธีระ ศิริสมุด แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล ผศ.ดร.ลี่ลี อิงศรีสว่าง ดร.นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท ์ ที่ปรึกษาโครงการ นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพนื้ที่เครือข่ายที่ 5 นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพนื้ที่เครือข่ายที่ 12 นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อานวยการสานักส่งเสริมสุขภาพ นายแพทย์ไกรวุฒิ ก้วนหิน้ ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา คณะทางาน นางเบญจมาภรณ์ ศิริเฉลิม สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย นางสาวพีรญา จันทร์คง สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยเขต ที่ 1-12 กรมอนามัย ออกแบบปก วรุฒ เลิศศราวุฒ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ
  • 6.
  • 7. i คานา รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ฉบับนี้ กรมอนามัย โดยกลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สานักส่งเสริมสุขภาพ ได้ดาเนินการจัดทาขึ้น ภายใต้โครงการ สารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สารวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุในประเทศไทย ติดตามผลการดาเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ และเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับผู้บริหาร ในการกาหนดนโยบายด้านผู้สูงอายุ สานักส่งเสริมสุขภาพ โดยกลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ และคณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ดร.นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพืน้ที่เครือข่ายที่ 5 นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตพืน้ที่เครือข่ายที่ 12 รองอธิบดีกรมอนามัย ทุกท่าน นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อานวยการสานักส่งเสริมสุขภาพ คณะผู้เชี่ยวชาญจากกรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุจากศูนย์อนามัย ที่ 1-12 และผู้รับผิดชอบงานจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดพืน้ที่เป้าหมายทุกแห่ง นักวิจัยภาคสนามทุกท่าน ในการร่วมกันดาเนินงานด้วยดีจนบรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายแผนงานโครงการ สุดท้ายนีข้อขอบพระคุณ สานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ได้ให้ข้อคิดเห็น แนวทางการดาเนินงาน และสนับสนุนทุนในการวิจัยครัง้นี้ คณะผู้วิจัย พ.ศ. 2556
  • 8. ii
  • 9. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ iii บทสรุปผู้บริหาร ปี พ.ศ. 2555 กรมอนามัย ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงได้ร่วมกันจัดทาและดาเนินแผนงาน “โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ” ขึน้ โดยบูรณาการงานร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ สาหรับกรมอนามัย โดยสานักส่งเสริมสุขภาพ ได้จัดทาและดาเนิน แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการตัง้แต่นัน้มา หลังดาเนินการ 1 ปี สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ ร่วมมือสารวจสถานการณ์ปัญหา สุขภาวะของผู้สูงอายุ รวมทัง้ติดตามผลการดาเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และผู้พิการดังกล่าว โดยสารวจข้อมูลผู้สูงอายุจานวน 13,642 คน จาก 28 จังหวัดเป็นตัวแทนครอบคลุมทัง้ 12 เครือข่ายบริการสุขภาพ/ศูนย์อนามัยเขต และสารวจระบบการให้บริการเกี่ยวกับผู้สูงอายุของสถานพยาบาลในพืน้ที่ สารวจสุขภาวะผู้สูงอายุ จานวน 181 แห่ง โดยมงุ่หวังเพื่อค้นหาข้อมูลจากการดาเนินงานตามแผนงานดังกล่าวมาใช้ ประโยชน์ในการวางแผน ปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ์การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการต่อไป สรุปผลการศึกษา 1. ผู้สูงอายุไทย มีความเจ็บป่วยด้วยโรค/ปัญหาสุขภาพดังต่อไปนี้โรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 41) โรคเบาหวาน (ร้อยละ 18) ข้อเข่าเสื่อม (ร้อยละ 9) เป็นผู้พิการ (ร้อยละ 6) โรคซึมเศร้า (ร้อยละ 1) และผู้ป่วยติดเตียง (ร้อยละ 1) ขณะที่มีเพียงร้อยละ 5 เท่านัน้ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์และไม่มีโรค/ปัญหาสุขภาพดังกล่าว 2. จานวนผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยข้างต้นอาจมีจานวนน้อยกว่านี้หากผู้สูงอายุเข้าถึงการคัดกรองโรคเหล่านัน้ได้อย่าง ถ้วนหน้า โดยในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80 โรคเบาหวาน ร้อยละ 73 ซึมเศร้าร้อยละ 33 และข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 9 3. นอกเหนือจากการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองโรคแล้ว คุณภาพของการคัดกรองโรคก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สาคัญ ที่ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่ การสารวจนีพ้บว่าผู้สูงอายุที่มีผลการคัดกรองโรคเบาหวานผิดปกติ ร้อยละ 37 ไม่ทราบว่าตนเองอาจมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน และผู้สูงอายุที่มีผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตผิดปกติ ร้อยละ 43 ไม่ทราบว่าตนเองอาจมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ทัง้นีผู้้สูงอายุที่มีผลการคัดกรองผิดปกติ เหล่านัน้ จึงกลายเป็นผู้เสียโอกาสในการดูแลรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างทันท่วงที ทัง้ที่ได้รับการคัดกรอง โรคแล้ว 4. การคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างถ้วนหน้าและมีคุณภาพจะช่วยลดปัญหาผู้สูงอายุป่วยเป็น โรคแทรกซ้อนจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดภาระของระบบสุขภาพในการดูแลโรคแทรกซ้อนเหล่านัน้ ในปัจจุบันพบว่าผู้สูงอายุถึงร้อยละ 18 มีโรคแทรกซ้อนจากเบาหวานและร้อยละ 13 มีโรคแทรกซ้อนจาก ความดันโลหิตสูง 5. คุณภาพการรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่เพิ่มขึน้ ทัง้นีถึ้งแม้ว่าผู้ป่วย ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคส่วนใหญ่จะได้รับการติดตาม รักษาโรค (ร้อยละ 94 ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ ร้อยละ 97 ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง) แต่ยังมีผู้สูงอายุมากถึงร้อยละ 55 ไม่สามารถควบคุมระดับนา้ตาลในเลือด และร้อยละ 43 ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต โดยปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับค่านา้ตาลในเลือด
  • 10. iv ปกติ ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มีสมาชิกในบ้าน 2 คน (OR=1.4 95 CI:1.1-2.2) สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (OR=1.4 95 CI:1.0-1.9) รอบเอวปกติ (OR=1.1 95 CI:1.0-1.6) เป็นโรคเบาหวาน 1-2 ปี และ 3-4 ปี (OR=1.4 95 CI:1.1-1.9) และไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (OR=2.7 95 CI:1.1-1.9) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับค่าความดันโลหิตปกติ ได้แก่ ผู้สูงอายุอาศัยในเขตภาคใต้ (OR=1.5 95 CI:1.1- 2.4) ใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (OR=2.0 95 CI:1.2-3.4) มีและใช้สมุดคู่มือการดูแลส่งเสริม- สุขภาพผู้สูงอายุ (OR=2.0 95 CI:1.1-3.7) มีฟันใช้งานมากกว่า 20 ซี่หรือ 4 คู่สบ (OR=1.4 95 CI:1.0-2.0) ดื่มสุราเป็นบางครัง้และไม่ดื่มสุรา (OR=3.5 95 CI:1.1-3.4 และ OR=3.5 95 CI:1.3-3.4) 6. การสารวจครั้งนี้พบว่าผู้สูงอายุไทยร้อยละ 26 มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ซึ่งต่ากว่าเป้าหมายที่ตัง้ไว้ ร้อยละ 30 ทัง้นีพ้ฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ผู้สูงอายุไทยปฏิบัติตัวได้น้อยที่สุดเรียงตามลาดับ ได้แก่ ออกกาลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 15-30 นาทีเป็นประจา (ร้อยละ 57) ดื่มนา้สะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่า เป็นประจา (ร้อยละ 65) รับประทานผักและผลไม้เป็นประจา (ร้อยละ 66) ไม่ดื่มสุรา/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (ร้อยละ 83) และไม่สูบบุหรี่ (ร้อยละ 84) 7. ปัจจัยสัมพันธ์เชิงบวกที่สาคัญต่อการที่ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ครบทัง้ 5 ประการ ได้แก่ การจัดกิจกรรมทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ เช่น ชมรมผู้สูงอายุ (OR=1.4 95CI: 1.1-1.9) หรือการเข้าร่วมกิจกรรม ในหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นประจา (OR=2.0 95CI: 1.6-4.6) มีและใช้สมุดคู่มือการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (OR=1.1 95CI: 1.4-2.7) รวมถึงผู้สูงอายุมีฟันใช้งานมากกว่า 20 ซี่หรือ 4 คสู่บ (OR=1.1 95CI: 1.4-2.3) 8. การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ส่งผลให้ผู้สูงอายุไทยมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพหลายประการ ที่สาคัญที่สุด คือ ภาวะนา้หนักเกินและโรคอ้วน การสารวจนีพ้บความชุกสูงถึงร้อยละ 43 ในเพศชาย และร้อยละ 50 ในเพศหญิง โดยปัจจัยป้องกันที่สาคัญ ได้แก่ การออกกาลังกายเป็นประจา (OR=0.8 95 CI: 0.7-0.9) 9. โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์ทัง้หมดมีโครงสร้างที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ร้อยละ 13 ไม่มีส้วมนงั่ราบห้อยขา นอกจากนัน้ยังพบว่าร้อยละ 13 ไม่ได้ปรับปรุง ห้องส้วมให้มีราวจับเพื่อช่วยพยุง และไม่ปรับพืน้ห้องนา้เพื่อป้องกันการลื่นหกล้ม 10. จานวนพยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงแพทย์ มีสัดส่วนบุคลากรต่อการดูแลผู้สูงอายุดีกว่าบุคลากร ด้านอื่นๆ ได้แก่ นักกายภาพบาบัด นักกิจกรรมบาบัด นักสังคมสงเคราะห์ ทันตแพทย์ รวมทัง้แพทย์แผนไทย
  • 11. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ v ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ปรับปรุงแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุฯ ให้ดาเนินการเชิงรุกนอกสถานพยาบาลมากขึน้ โดยครอบครัวและ ชุมชนควรมีบทบาทที่สาคัญในการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ในการเป็นโรคเรือ้รังในผู้สูงอายุ 2. ค้นหามาตรการและนโยบายที่มีประสิทธิภาพในการทาให้ผู้สูงอายุไทยมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เพิ่มสูงขึน้ ทัง้นอี้าจพัฒนาเป็นงานวิจัยที่มีระบบการประเมินผลที่ถูกต้องแม่นยา 3. เพิ่มคุณภาพการคัดกรองโรคสาหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะการแจ้งผลการตรวจ และการปฏิบัติตัวทัง้ผู้ที่เป็นโรค และไม่เป็นโรค ทัง้นีค้วรพัฒนาตัวชีวั้ดด้านคุณภาพ (quality indicators) เพื่อใช้ประเมินผลการดาเนินงานของ โครงการและจัดสรรงบประมาณ นอกเหนือจากตัวชีวั้ดเชิงกระบวนการ (process indicators) เช่น จานวนบริการ ที่ให้ 4. ปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 5. พิจารณาเพมิ่จานวนบุคลากรที่ขาดแคลน ในพืน้ที่ที่ขาดแคลน เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุไทยเข้าถึงบริการผู้สูงอายุ ที่จาเป็นอย่างถ้วนหน้าและจาเป็น 6. มีการศึกษาเชิงลึกเพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ของการมีสมุดคมูื่อฯ กับการควบคุมระดับนา้ตาลในเลือด และควบคุม ระดับความดันโลหิตกับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 7. จัดให้มีการประเมินผลการดาเนนิงานแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุฯ ในสองปีข้างหน้า
  • 12. vi
  • 13. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ vii สารบัญ หน้า คานา i บทสรุปผู้บริหาร iii 1 บทนา 1 2 ระเบียบวิธีวิจัย 5 3 ผลการศึกษา 15 การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย 16 การสารวจสถานพยาบาลและการให้บริการผู้สูงอายุ 40 ผลการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนงาน 59 ยุทธศาสตร์ที่ 1: ส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดีตามมาตรฐานสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ 59 ยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 67 ยุทธศาสตร์ที่ 3: สร้างความเข้มแข็งการมสี่วนร่วมของท้องถิ่นในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชน 68 4 สรุปและอภิปรายผล 71 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 83 เอกสารอ้างอิง 85 ภาคผนวก 87
  • 14. viii สารบัญรูป หน้า รูป 1 กรอบการศึกษา 7 รูป 2 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 11 รูป 3 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการได้รับการคัดกรองและประเมินอาการโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง 13 รูป 4 จังหวัดตัวอย่างในการสารวจ 17 รูป 5 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการจาแนกตามประเภทความพิการ 18 รูป 6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการจาแนกตามความจา เป็นและการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคน 18 พิการ รูป 7 ร้อยละของระดับรอบเอวผู้สูงอายุจาแนกตามเพศ 19 รูป 8 ร้อยละของค่าดัชนีมวลกายผู้สูงอายุจา แนกตามเพศ 20 รูป 9 ร้อยละของค่าของดัชนีมวลกายผู้สูงอายุจาแนกตามกลุ่มโรคและเพศ 20 รูป 10 ร้อยละของโรค/ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุจาแนกตามเพศ 21 รูป 11 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ทราบค่าระดับนา้ตาลในเลือดจาแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค และสถานพยาบาลที่รับบริการ 22 รูป 12 สัดส่วนของผู้สูงอายุทเี่ป็นโรคเบาหวานไม่ได้รับคาแนะนาหลังตรวจจาแนกตามสถานพยาบาล ที่รับบริการ 22 รูป 13 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ทราบค่าระดับความดันโลหิตจาแนกตามเพศ เขตการปกครอง ภาค และสถานพยาบาลที่รับบริการ 23 รูป 14 สัดส่วนของผู้สูงอายุทเี่ป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ได้รับคาแนะนาหลังตรวจจา แนกตาม สถานพยาบาลที่รับบริการ 24 รูป 15 ร้อยละของผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงที่ได้รับการเยี่ยมบ้านและความพึงพอใจต่อการเยี่ยมบ้าน 25 รูป 16 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รบัการคัดกรองโรค/ปัญหาสุขภาพ 26 รูป 17 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง และภาค 26 รูป 18 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคเบาหวานไม่ทราบค่าระดับนา้ตาลในเลือดจากการคัดกรอง จาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง ภาค และสถานพยาบาลที่รับบริการ 26 รูป 19 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคเบาหวานไม่ได้รบัคาแนะนาการปฏิบัติตัวหลังการคัดกรอง จาแนกตามสถานพยาบาลที่รับบริการ 28 รูป 20 สัดส่วนของผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง และภาค 28 รูป 21 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ทราบค่าระดับความดันโลหิตจากการคัด กรองจาแนกตาม เพศ เขตการปกครอง ภาค และสถานพยาบาลที่รับบริการ 29
  • 15. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ix สารบัญรูป (ต่อ) รูป 22 สัดส่วนของผู้สูงอายุกลุ่มที่ไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่ได้รับคาแนะนา การปฏิบัติตัวหลังการคัด กรองจาแนกตามสถานพยาบาลที่รับบริการ หน้า 29 รูป 23 ร้อยละของผู้สูงอายุจา แนกตามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์และการปฏิบัติ 31 รูป 24 สัดส่วนของผู้สูงอายุทปี่่วยเป็นโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง 32 รูป 25 สัดส่วนของผู้สูงอายุทปี่่วยเป็นโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงและได้รับคาแนะนาการปฏิบัติ ตัวจาแนกตามพฤติกรรมการดื่มสุรา 32 รูป 26 ร้อยละของผู้สูงอายุจา แนกตามการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมและความพึงพอใจ 32 รูป 27 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับนา้ตาลในเลือดปกติของผู้ป่วยเบาหวานที่มารบัการตรวจประเมิน ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา 34 รูป 28 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบระดับค่าความดันโลหิตปกติของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มารับการ ตรวจประเมินในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา 35 รูป 29 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 36 รูป 30 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบ BMI ต่ากว่าเกณฑ์ปกติ (< 18.5 kg/m2) 38 รูป 31 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการพบ BMI สูงกว่าเกณฑ์ปกติ (≥ 25.0 kg/m2) 39 รูป 32 จานวนบุคลากรเทียบกับประชากรผู้สูงอายุในพืน้ที่จา แนกตามประเภทสถานพยาบาล 41 รูป 33 ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีบุคลากรอบรมหลักสูตร ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ (ครู ก) 42 รูป 34 ร้อยละของสถานพยาบาลที่มีคมูื่อปฏิบัติงานกจิกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทสี่าคัญจาแนกตาม ประเภทสถานพยาบาล 44 รูป 35 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามความเพียงพอของงบประมาณในการดาเนินงานปี พ.ศ. 2556 และประเภทของสถานพยาบาล 47 รูป 36 จานวนและร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามจานวนบุคลากรในทีมสุขภาพ (home health care team) 48 รูป 37 ร้อยละของบุคลากรในทีมสุขภาพ (home health care team) จาแนกตามประเภท 49 รูป 38 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามผลการประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทบี่้านที่มีคุณภาพ 50 รูป 39 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามผลการประเมินคุณภาพ “กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันต สุขภาพ” 52 รูป 40 ร้อยละของสถานพยาบาลจาแนกตามการประเมินตาบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวของ สถานพยาบาลสุขภาพ 55 รูป 41 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการได้รับการคัดกรองและการประเมินอาการโรคเบาหวาน 56 รูป 42 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการได้รับการคัดกรองและการประเมินอาการโรคความดันโลหิตสูง 57
  • 16. x สารบัญรูป (ต่อ) หน้า รูป 43 ผลการประเมินตัวชวีั้ดการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 5 โรค/ปัญหาสุขภาพจาก การสารวจผู้สูงอายุไทยปี พ.ศ. 2556 60 รูป 44 ผลการประเมินตัวชวีั้ดการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 6 โรคหรือปัญหาสุขภาพของ สถานพยาบาล 61 รูป 45 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ของสถานพยาบาล 65 รูป 46 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มผู้ป่วยได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ ของสถานพยาบาล 65 รูป 47 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพทพีึ่งประสงค์จากการสารวจผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 66 รูป 48 ผลการประเมินตัวชวีั้ดสถานพยาบาลที่มีห้องนา้ผู้สูงอายุและผู้พิการ (ส้วมนงั่ราบห้อยขา และการปรับปรุงห้องนา้) 67 รูป 49 ผลการประเมินตัวชวีั้ดผู้สูงอายุมีฟันใช้เคีย้วอาหารได้อย่างเหมาะสม 68 รูป 50 ร้อยละสถานพยาบาลที่มี อผส. ในพืน้ที่รับผิดชอบ 69 รูป 51 ผลการประเมินตัวชวีั้ดตาบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว 70
  • 17. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ xi สารบัญตาราง หน้า ตาราง 1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ จาแนกตามภาค 8 ตาราง 2 รายละเอียดขัน้ตอนและวิธีการคานวนกลุ่มตัวอย่าง 8 ตาราง 3 อัตราตอบกลับแบบสอบถาม 40 ตาราง 4 จานวนบุคลากรที่ทางานด้านผู้สูงอายุและอัตราส่วนต่อสถานพยาบาล 41 ตาราง 5 จานวนและร้อยละของการถ่ายทอดองค์ความรู้และพัมนาทักษะของครู ก ในแต่ละ สถานพยาบาล 43 ตาราง 6 จานวนและร้อยละของความเพียงพอของคมูื่อปฏิบัติงานในสถานพยาบาล 45 ตาราง 7 จานวนและร้อยละของการบันทึกและใช้ประโยชน์ข้อมูลด้านผู้สูงอายุในสถานพยาบาล 46 ตาราง 8 จานวนและร้อยละของแหล่งงบประมาณดา เนนิงานด้านผู้สูงอายุในสถานพยาบาล 47 ตาราง 9 จานวนและร้อยละของการบริหารงบประมาณที่ไม่เพียงพอต่อการดาเนินงานในสถานพยาบาล 48 ตาราง 10 จานวนและร้อยละของสถานพยาบาลที่มีการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุนอนติดเตียงและติดบ้านของทีม สุขภาพ (home health care team) 49 ตาราง 11 จานวนและร้อยละของสถานพยาบาลที่มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)และการปฏิบัติงาน เยี่ยมบ้าน 51 ตาราง 12 จานวนและร้อยละของกิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้พิการใน สถานพยาบาล 52 ตาราง 13 จานวนและร้อยละของส้วมนงั่ราบห้อยขา และการปรับส้วมและทางลาดชันให้เหมาะกับ ผู้สูงอายุและผู้พิการในสถานพยาบาล 53 ตาราง 14 จานวนและร้อยละของการจัดสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน 54 ตาราง 15 ผลการประเมินตัวชีวั้ดการได้รับการพัฒนาทักษะกายและใจ 64
  • 18. xii
  • 19.
  • 20. 2 หลักการและเหตุผล ประเทศไทยก้าวสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตัง้แต่ปี พ.ศ. 2548 และมีแนวโน้มสถานการณ์ผู้สูงอายุ เพิ่มสูงขึน้อย่างรวดเร็วทัง้จานวนและสัดส่วน โดยพบว่าประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึน้ไป คิดเป็นร้อยละ 7.4 หรืออายุ 60 ปีขึน้ไป คิดเป็นร้อยละ 12 มีการคาดการณ์ว่าอีก 20 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super aged society) ซึ่งหมายถึงมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึน้ไป คิดเป็นร้อยละ 20 ขึน้ไป หรืออาจ กล่าวได้ว่าในอีก 7 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2564) ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged Society)1 ในขณะที่แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลาพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึน้ ซึ่งมีผลต่อการให้การดูแลผู้สูงอายุ ทัง้ด้านร่างกายและจิตใจ อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคไร้เชือ้ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือไขมันในเลือดสูง ซงึ่โรคเหล่านีล้้วนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึน้และเป็นโรคที่รักษาไม่หาย ทาให้มีภาวการณ์พึ่งพา ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและระยะยาว ผู้สูงอายุจานวนมากมีปัญหาข้อเข่าเสื่อม และครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุ มีฟันแท้เหลือน้อยกว่า 20 ซี่ ทาให้ไม่สามารถเคีย้วอาหารได้ ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน2 การจัด สภาพแวดล้อมให้เอือ้ต่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยเฉพาะการจัดให้มีส้วมนงั่ราบห้อยขาในทุกสถานบริการ และในชุมชนเพื่อลดความรุนแรงจากโรคข้อเข่าเสื่อม และการสร้างเสริมสุขภาพชอ่งปากผู้สูงอายุจึงมีความสาคัญ จากรายงานโครงการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2554 - 2564) ฉบับปรับปรุงครัง้ที่ 1 พ.ศ. 2552 ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2550 - 2554)3 ดัชนีวัดที่ 8 สัดส่วน ประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ซงึ่กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รับผิดชอบหลักมีเป้าหมายการ ดาเนินงาน ร้อยละ 30 ซึ่งพบว่าผลการดาเนินงานได้เพียงร้อยละ 18.7 เช่นเดียวกับ ดัชนีวัดที่ 38 สัดส่วนของ ตาบลที่มีบริการสาหรับผู้สูงอายุต่อไปนี้1. สนับสนุนการดูแลระยะยาว 2. ระบบประคับประคอง 3. ดูแลโรคเรือ้รัง ที่สาคัญ 4. อาสาสมัครในชุมชน 5. สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งกระทรวง สาธารณสุขดาเนินงานภายใต้ “ตาบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว” ซึ่งไม่ผ่านการประเมินที่กาหนดไว้ โดย ผลการประเมินคิดเป็นร้อยละ 34.3 จากเป้าหมายร้อยละ 50 ปี พ.ศ. 2555 กรมอนามัย ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงได้ร่วมกันดาเนินงานแผนงาน “โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ” โดยบูรณาการงานร่วมกับภาคีเครือข่ายโดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีเป้าหมายสาคัญเพื่อ 1) ส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสุขภาพทพีึ่งประสงค์โดยผสมผสานมาตรฐานการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวมทัง้สุขภาพกายและจิต 2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้า และเท่าเทียม 3) เพื่อพัฒนาระบบบริการเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้มีคุณภาพทัง้ในสถานบริการและบริการเชิงรุก ในชุมชน 4) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ และ 5) เพื่อดูแล ผู้สูงอายุและผู้พิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
  • 21. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 3 หลังจากดาเนินงานตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการระยะเวลา 1 ปี สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ จึงได้จัดทา “โครงการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ” โดยมุ่งหวังเพื่อค้นหาและนาข้อมูลจากการดาเนินงานตามแผนงานดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ในการวางแผน ปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ์การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวติผู้สูงอายุและผู้พิการในการดาเนินงานตามแผนงาน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการระยะต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสารวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของผู้สูงอายุในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2556 2. เพื่อติดตามผลการดาเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 3. เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายสาหรับผู้บริหารในการกาหนดนโยบายด้านผู้สูงอายุ พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ พนื้ที่ดาเนินงานสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2556 จานวน 28 จังหวัด ครอบคลุม 12 เครือข่ายบริการ สุขภาพฯ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีข้อมูลที่สาคัญและมีความจาเป็นในการวางแผนการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทัง้ในระดับเขต บริการสุขภาพและในภาพรวมของประเทศ 2. มีข้อมูลผลการดาเนินงานตามตัวชวีั้ดสาคัญตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ เพื่อรายงานต่อ กระทรวงสาธารณสุขและรัฐบาล 3. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการดูแลที่เหมาะสม
  • 22. 4
  • 23.
  • 24. 6 การสารวจครัง้นี้ต้องการศึกษาผลที่เกิดจากการดาเนินงานด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ เป็นการศึกษาตลอดทัง้การดาเนินงานของโครงการในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ 2556) ซึ่งประเด็นที่ศึกษา ได้แก่ ปัจจัยนาเข้า (Inputs) ในด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ การบริหารจัดการ แนวคิดและนโยบาย ศึกษาวิธีการหรือกระบวนการดาเนินงาน ( Processes) ของแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ศึกษาผลการดาเนินของกิจกรรมโครงการ (Outputs) ตามแผนงานดังกล่าว เพื่ออธิบายผลลัพธ์ตามเป้าหมายและตัวชีวั้ดที่ต้องการของโครงการ ( Outcomes) นอกจากนัน้ยังศึกษาผลกระทบระยะสัน้ที่จะเกิดขึน้จากโครงการดังกล่าว (Impacts) ดังนัน้ การสารวจครัง้นีจึ้ง ต้องเก็บรวบรวบข้อมูลจาก 2 ส่วน คือ 1) ข้อมูลสุขภาวะและการใช้บริการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ และ 2) ข้อมูล ผู้ให้บริการ สถานพยาบาลและระบบบริการ ดาเนินการศึกษาตัง้แต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึง เมษายน พ.ศ. 2557 รวมระยะเวลา 6 เดือน โดยมีกรอบการศึกษา ดังรูป 1 การสารวจแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย 2) การสารวจสถานพยาบาลและการ ให้บริการผู้สูงอายุ มีรายละเอียดของระเบียบวิธีวิจัยในแต่ละส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย รูปแบบและขอบเขตการศึกษา การศึกษาวิจัยเชิงสารวจครัวเรือนภาคตัดขวาง (cross-sectional household survey) โดยเก็บข้อมูลผู้สูงอายุไทย ที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึน้ไป ที่อาศัยในหมบู่้านหรือชุมชนในพนื้ที่12 เครือข่ายบริการสุขภาพฯ ประชากรเป้าหมาย ผู้สูงอายุไทยที่พักอาศัยในหมบู่้าน/ชุมชนตัวอย่าง อย่างน้อย 6 เดือน (นับย้อนจากวันที่สัมภาษณ์) และเกิดก่อน วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497 กลุ่มตัวอย่างและการกาหนดขนาดตัวอย่าง การสารวจเสนอผลข้อมูล 2 ระดับ คือ ระดับเครือข่ายบริการสุขภาพหรือศูนย์อนามัยเขต และระดับประเทศ ดังนัน้ ผู้สูงอายุที่จะสมุ่เป็นกลุ่มตัวอย่างจะคานวณตามแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ ตามสูตรการสารวจข้อมูลที่ทราบ จานวนประชากรผู้สูงอายุ และเป็นประชากรผู้สูงอายุในแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ มีสูตรคานวณ ดังนี้ 2 / 2 Z NPQ α + ε α 2 2 / 2 Z PQ N n = n = จานวนผู้สูงอายุตัวอย่าง Z oe/2 = 1.96 (ค่าคงที่ที่ระดับความเชื่อมนั่ 95) N = จานวนประชากรผู้สูงอายุในแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ P = สัดส่วน พฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่พึงประสงค์4 (ตาราง 1)) e = ขนาดความคลาด-เคลื่อนหรือความผิดพลาดที่ยอมให้เกิดจากการวิจัย = 3 หมายเหตุ : สัดส่วนพฤติกรรมสุขภาพผสูู้งอายุที่ไม่พึงประสงค์ของแต่ละภาค (P1-P4) จะถูกนาไปคิดคานวณกลุ่มตัวอย่างในแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ ที่อยู่ในภูมิภาคนนั้ๆ
  • 25. วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ สื่อ แนวคิด/นโยบาย ประชาสัมพันธ์ให้สถานบริการสาธารณะปรับ สภาพแวดล้อมให้เอือ้ต่อผู้สูงอายุและคนพิการ รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 7 Inputs Processes Outputs Outcomes Impacts บุคลากร งบประมาณ การบริหารจัดการ จัดระบบบริการผู้สูงอายุกลมุ่ต่างๆ เน้นติดบ้าน ติดเตียง จัดตัง้ชมรมผู้สูงอายุ การอบรม ครู ก (เจ้าหน้าที่) ครู ก จัดอบรมเจ้าหน้าที่คน อื่น/อสม. อปท. วัด พัฒนาและจัดระบบบริการ/ทีม Home health care มีแนวทาง เครื่องมือ และทาการคัดกรองโรค พัฒนาคู่มือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (สมุดประจาตัว) ได้แก่ เบาหวาน ความดัน ADL ซึมเศร้า ข้อเข่า เสื่อม สมองเสื่อม คนพิการ จัดทาแนวทางพัฒนากาย ใจ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรร รมทุกระดับสถานบริการและ อสม. จัดให้มีส้วมนงั่ราบห้อยขาในสถาน บริการสาธารณะ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตามประเมินผล ผู้สูงอายุที่ได้การคัดกรองและการ จาแนกกลมุ่ (ปกติ เสี่ยง เป็นโรค) มีเจ้าหน้าที่ได้รับการ อบรมเป็นครู ก และ อบรมถ่ายทอดสู่ เจ้าหน้าที่คนอื่น/อสม. และผู้สูงอายุ มีระบบบริการดูแล ติดตาม เฝ้าระวังผู้สูงอายุกลมุ่ ต่างๆ เน้นกลมุ่ติดบ้าน ติดเตียง มี Home health care ที่มี คุณภาพ มีระบบส่งเสริม ป้องกัน ทันตสุขภาพ มีส้วมนงั่ราบห้อยขาในสถานบริการสุขภาพ สถานบริการสาธารณะปรับสภาพแวดล้อมเอือ้ต่อ ผู้สูงอายุและคนพิการ อสม. ผสอ.มีความรู้ความเข้าใจและ สามารถพัฒนาทักษะกาย ใจของตน ได้ ผสอ.มีและใช้สมุดคู่มือประจาตัว เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ การส่งเสริม ป้องกัน รักษา ติดตาม เฝ้าระวัง (ทัง้ผู้สูงอายุปกติ และผู้ที่เป็นโรคที่พบจากการ คัดกรอง โรค ทางทันตกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพและการให้เครื่องช่วยคนพิการ) ผสอ. มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ การออกกาลังกาย ทานผัก ผลไม้ ดื่มนา้สะอาดเพียงพอ ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุรี่ ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทัง้กายใจ ได้แก่ 1. กินอาหารได้ 2. มีค่า BMI ปกติ/รอบเอว ปกติ 3. ช่วยเหลือตนเองได้ 4. ไม่ฆ่าตัวตาย ผู้สูงอายุที่เป็นโรคมีการดาเนินชีวิตอย่างเป็นสุข ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้พิการได้รับการบริการการทางแพทย์ที่เหมาะสมและเท่าเทียม ผู้สูงอายุและผู้พิการมีส่วน ร่วมกับชุมชน รูป 1 กรอบการศึกษา
  • 26. 8 ตาราง 1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ จาแนกตามภาค ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ ร้อยละ กลาง (ตะวันออกและตะวันตก) (P1) 0.79 เหนือ (P2) 0.83 ตะวันออกเฉียงเหนือ (P3) 0.83 ใต้ (P4) 0.80 รวมทัง้ประเทศ 0.81 ได้กลุ่มตัวอย่างทัง้สิน้ 14,070 คน มีรายละเอียดขัน้ตอนและวธิีการคานวณ ดังนี้(ตาราง 2) ตาราง 2 รายละเอียดขัน้ตอนและวธิีการคานวณกลุ่มตัวอย่าง ขัน้ตอนการคานวณกลุ่มตัวอย่าง จานวนกลุ่ม ตัวอย่าง (คน) 1. แทนค่าในสูตรข้างต้น 8,510 2. กาหนดอัตราการไม่ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 10 9,361 3. ปรับค่าความแปรปรวนที่มีการสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขัน้ตอน เป็น 1.5 เท่า 14,042 4. กาหนดเก็บข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนละ 30 คน คานวณหาจานวนหมู่บ้าน/ชุมชน ตัวอย่าง โดยนาขนาดตัวอย่างแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ หารกับ 30 ปรับ กลุ่มตัวอย่างตามความเหมาะสม 14,070 การเลือกพื้นที่และกลุ่มตัวอย่าง การสารวจครัง้นไี้ด้สุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ 3 ชัน้ภูมิ (stratified three-stage sampling) มีรายละเอียด ดังนี้ ขั้นที่ 1 สุ่มเลือกจังหวัดพืน้ที่ตวัอย่างเป็นระบบ (Systematic random sampling) มีขัน้ตอน ดังนี้ 1. แบ่งพนื้ที่การเก็บข้อมูลออกเป็น 12 หน่วย (ตามเครือข่ายบริการสุขภาพฯ ยกเว้น กทม.) 2. หาจานวนประชากรผู้สูงอายุของเครือข่ายบริการสุขภาพฯ นัน้ๆ 3. คิดสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุจากทัง้หมดของแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ 4. กาหนดจานวนพืน้ที่ตัวอย่าง โดยมีข้อกาหนด ได้แก่ 4.1 เครือข่ายบริการสุขภาพฯ ที่มีสดัส่วนผู้สูงอายุ < ร้อยละ 10 สุ่มเลือก 2 จังหวัด 4.2 เครือข่ายบริการสุขภาพฯ ที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุ ≥ ร้อยละ 10 สุ่มเลือก 3-4 จังหวัด 5. การเลือกจังหวัดตัวอย่างจะสุ่มเลือกอย่างง่าย (Simple random sampling ) โดยพิจารณาให้จังหวัดที่สุ่ม เลือกมีการกระจายไปตามขนาดพืน้ที่เล็ก/ใหญ่ของจังหวัด และพิจารณาให้เกิดการกระจายครอบคลุมทวั่ ภูมิภาคตามแผนที่ประเทศไทย
  • 27. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 9 ขั้นที่ 2 สุ่มเลือกหมู่บ้านหรือชุมชนอย่างง่าย (Simple random sampling) มีขัน้ตอน ดังนี้ 6. กาหนดให้พนื้ที่ตัวอย่างกระจายตามเขตการปกครอง คือ เขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ในอัตราส่วน 1:2 7. กาหนดการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุหมบู่้าน/ชุมชนละ 30 คน และนาไปคานวณโดยหารกับจานวนกลุ่มตัวอย่างที่ คานวณได้ของแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพฯ จะได้จานวนหมู่บ้าน/ชุมชนตัวอย่างของแต่ละเครือข่ายบริการ สุขภาพฯ 8. กาหนดจานวนหมบู่้าน/ชุมชนในจังหวัดที่ถูกเลือกของเครือข่ายฯ นัน้ๆ ตามขนาดสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 9. สุ่มเลือกหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างง่ายตามจานวนของแต่ละจังหวัด และตามอัตราส่วนระหว่างเขตเทศบาล และนอกเขตในจังหวัดที่สุ่มเลือก ขั้นที่ 3 สุ่มเลือกกล่มุตัวอย่างผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ (Systematic random sampling) 10. แบ่งกลุ่มอายุเป็น 3 ชัน้ภูมิ ได้แก่ อายุ 60-69 ปี อายุ 70-79 ปี และ อายุ 80 ปีขึน้ไป คานวณสัดส่วนผู้สูงอายุ ในแต่ละกลุ่มช่วงอายุ (จากการสารวจผู้สูงอายุคนไทยปี พ.ศ. 25544) พบสัดส่วน แต่ละกลุ่มเป็น 58, 32, 10 หรือ 6:3:1 ได้กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ ดังนี้อายุ 60-69 ปี จานวน 18 คน (ชาย 9 คน หญิง 9 คน) อายุ 70-79 ปี จานวน 9 คน (ชาย 4 คน หญิง 5 คน) อายุ 80 ปีขึน้ไป จานวน 3 คน (ชาย 1 คน หญิง 2 คน) 11. สุ่มเลือกผู้สูงอายุในแต่ละชัน้ภูมิด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย กาหนดให้สัมภาษณ์ผู้สูงอายุครัวเรือนละ 1 คน โดยสัมภาษณ์หมู่บ้านหรือชุมชนละ 30 คน (กรณีไม่สามารถหากลุ่มตัวอย่างได้ครบตามข้อ 10 ได้ ควรสัมภาษณ์อย่างนอ้ย 25 คนและกระจายทุกกลุ่มอายุ) เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ (Inclusion criteria) เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมออกจากโครงการ (Exclusion criteria)  ผู้สูงอายุไทย ที่พักอาศัยในหมบู่้าน/ชุมชน ตัวอย่างอย่างน้อย 6 เดือน (นับจากวันที่ สัมภาษณ์)  เกิดก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2497  เป็นผู้ที่สามารถให้ข้อมูลได้ ถึงแม้มีความ ผิดปกติทางจิตหรือทางกาย โดยขึน้อยกูั่บการ ประเมินของทีมวิจัยหรือเจ้าหน้าที่เก็บข้อมูล  ยินดีให้ความร่วมมือ  เป็นผู้สูงอายุที่มีอายุไม่ครบ 60 ปี คือ เกิดหลัง ปี พ.ศ. 2496  เป็นผู้สูงอายุคนที่ 2 หรือมากกว่าในครัวเรือน เดียวกับผู้สูงอายุที่สุ่มเลือกสัมภาษณ์  ไม่ยินยอมเข้าร่วมโครงการ  เป็นผู้ที่เจ้าหน้าที่ได้ประเมินและสรุปว่าไม่ สามารถทาการสัมภาษณ์ได้ อาจเนื่องจาก มีความผิดปกติทางจิตหรือทางกายกาเริบ ดื่มสุราและอาจเป็นอันตรายต่อผู้สัมภาษณ์ เป็นต้น
  • 28. 10 เครื่องมือในการสารวจ ในการสารวจประกอบด้วยแบบสอบถาม 4 ส่วน ดังนี้1) ข้อมูลทวั่ไป 2) ข้อมูลด้านสุขภาพและการได้รับบริการ สุขภาพ 3) ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ และ 4) ข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในพื้นที่ 1. หัวหน้าทีมสารวจภาคสนามบริหารจัดการทีมสารวจให้สามารถดาเนินการตามขัน้ตอนและข้อกาหนดในคู่มือ การปฏิบัติการภาคสนาม5 2. การลงพืน้ที่เก็บข้อมูลจะต้องกาหนดผู้รับผิดชอบดาเนินการในแต่ละวัน ได้แก่ ผู้ตรวจสอบความครบถ้วน ของข้อมูลในแบบสารวจ 3. ทีมสารวจภาคสนามติดต่อผู้ประสานงานเพื่อนาทางไปพืน้ที่เป้าหมาย 4. ผู้สัมภาษณ์ชีแ้จงและพิทักษ์สิทธิของผู้ยินยอมให้ข้อมูล ก่อนเก็บข้อมูลรับคายินยอม ให้กลุ่มตัวอย่างลง ลายมือชื่อในใบยินยอมเข้าร่วมโครงการโดยสมัครใจ ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ด้วย สาเหตุทางกายภาพ หรือไม่สามารถเขียนหนังสือได้ ให้พิมพล์ายนวิ้มือ แทนและมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 2 คน 5. ผู้สัมภาษณ์ดาเนินการสัมภาษณ์ตามขัน้ตอน 6. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ดังนี้ ครัง้ที่ 1 โดยผู้สัมภาษณ์ ทาการตรวจสอบก่อนออกจากพืน้ที่ กรณีข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ขอข้อมูลเพิ่มเติม ครัง้ที่ 2 โดยหัวหน้าทีมภาคสนามทาการตรวจสอบก่อนออกจากพืน้ที่ กรณีข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ขอข้อมูลเพิ่มเติม ครัง้ที่ 3 โดยหัวหน้าทีมนักวิจัย หรือผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด/เขตบริการสุขภาพ ตรวจสอบข้อมูลในการสารวจ ก่อนส่งทีมวิจัยจากส่วนกลาง กรณีข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ประสานพนื้ที่เพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติม หัวหน้าทีมสารวจภาคสนามสรุปรายงานการสารวจและจัดส่งแบบสารวจให้กับทีมวิจัยตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูลก่อนบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป
  • 29. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 11 การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล  การประมวลผลข้อมูล นาแบบสารวจลงรหัสข้อมูล บันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตรวจสอบข้อมูลในทุก ขัน้ตอนโดยนักวิจัยจากส่วนกลาง  การวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จานวนร้อยละ สัดส่วนค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้ อธิบายลักษณะทวั่ไป ข้อมูลด้านสุขภาพและการได้รับบริการสุขภาพ ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ และข้อมูลสภาวะ แวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุ สถิติเชิงวิเคราะห์ (analytical statistics) เพื่อพิสูจน์ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการมีภาวะ สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุในพนื้ที่เป้าหมายตามกรอบการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ ดังนี้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติความถดถอยโลจิสติกเชิงพหุ (multiple binary logistic regression) เพื่อได้ adjusted odd ratio (OR.adj.) และ 95 Confidence Interval กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามกรอบ การวิเคราะห์ (รูป 2) รูป 2 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
  • 30. 12 ส่วนที่ 2 การสารวจสถานพยาบาลและการให้บริการ รูปแบบและขอบเขตการศึกษา สารวจข้อมูลการให้บริการผู้สูงอายุในสถานพยาบาล ประกอบด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล) โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ ในพืน้ที่ดาเนิน โครงการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยปี พ.ศ. 2556 จานวน 28 จังหวัด เครื่องมือในการสารวจ แบบสอบถามจานวน 13 ข้อ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลโครงสร้างพืน้ฐานของสถานบริการ รวมถึงงบประมาณ การบันทึกและรายงานผล ข้อมูลการจัดบริการผู้สูงอายุทวั่ไป ข้อมูลการจัดสภาพแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุและ ผู้พิการและข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของสถานบริการ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รับผิดชอบแต่ละสถานพยาบาลเป็นผู้กรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม และส่งข้อมูลกลับมายังส่วนกลาง โดยนักวิจัยส่วนกลางทาหน้าที่ตรวจสอบข้อมูล ลงรหัสข้อมูล บันทึกข้อมูลและนาเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา และเชิงวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จานวนร้อยละ สัดส่วนค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อใช้ อธิบายลักษณะ ข้อมูลโครงสร้างพืน้ฐานของสถานบริการ งบประมาณ การบันทึกและรายงานผลข้อมูล การจัดบริการผู้สูงอายุทวั่ไป ข้อมูลการจัดสภาพแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุและผู้พิการ สถิติเชิงวิเคราะห์ (Analytical statistics) พิสูจน์ความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการได้รับการ คัดกรองและประเมินอาการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของผู้สูงอายุตามกรอบการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ ความถดถอยโลจิสติกเชิงพหุ (multiple binary logistic regression) เพื่อได้ adjusted odd ratio (OR.adj.) และ 95 Confidence Interval ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ตามกรอบการวิเคราะห์ (รูป 3)
  • 31. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 13 รูป 3 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการได้รับการคัดกรองและประเมินอาการโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง
  • 32. 14
  • 33.
  • 34. 16 การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทยในกลุ่มตัวอย่างประชากรอายุตัง้แต่ 60 ปีขึน้ไป ผลสารวจแบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ไป ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสุขภาพและการได้รับบริการสุขภาพ ส่วนที่ 3 ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ ส่วนที่ 4 ข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่เอือ้ต่อผู้สูงอายุ ส่วนที่ 5 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป การสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ.2556 จานวน 13,642 คน ใน 28 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ พะเยา ลาพูน สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุทัยธานี กาแพงเพชร อ่างทอง ปทุมธานี สระบุรี สิงห์บุรี สมุทรสงคราม กาญจนบุรี ชลบุรี สระแก้ว มหาสารคาม ร้อยเอ็ด หนองบัวลาภู เลย นครราชสีมา ชัยภูมิ สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร ชุมพร กระบี่ นราธิวาส และสงขลา (รูป 4) ผลการสารวจกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุพบว่า อาศัยอยใู่นพืน้ที่เขตเทศบาล ร้อยละ 38 นอกเขตเทศบาล ร้อยละ 62 (คิดเป็นอัตราส่วน 1:2) ช่วงอายุ 60-69 ปี ร้อยละ 59 ช่วงอายุ 70-79 ปี ร้อยละ 31 และช่วงอายุ 80 ปีขึน้ไป ร้อยละ 10 (คิดเป็นอัตราส่วน 6:3:1) เพศหญิง ร้อยละ 56 เพศชาย ร้อยละ 44 กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส (ร้อยละ 61) รองลงมาคือ หม้าย (ร้อยละ 33) หย่าร้าง/แยกกัน- อยู่ และโสดเท่ากันที่ร้อยละ 3 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 75) รองลงมา ไม่ได้รับ- การศึกษา (ร้อยละ 16) ผู้ดูแลหลักส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุดูแลตนเอง (ร้อยละ 47) รองลงมาคือ บุตร (ร้อยละ 38) คสู่มรส (ร้อยละ 11) นอกจากนีพ้บว่ามีผู้สูงอายุร้อยละ 8 ที่อาศัยอยคู่นเดียว ด้านเศรษฐานะพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพ/ทางานบ้าน (ร้อยละ 46) รองลงมาประกอบ อาชีพเกษตรกรรม (ร้อยละ 34) ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว (ร้อยละ 9) รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 8) ค่ามัธยฐานรายได้ รวมกันของสมาชิกในครัวเรือนต่อเดือน 6,000 บาท แหล่งรายได้หลักส่วนใหญ่มาจากบุตร (ร้อยละ 50) รองลงมา จากตนเอง (ร้อยละ 38) คู่สมรส (ร้อยละ 8) และจากบุคคลอื่นๆ (ร้อยละ 4) ด้านสวัสดิการพบว่าร้อยละ 93 ได้รับเบีย้ยังชีพผู้สูงอายุ สาหรับผู้ที่ไม่ได้รับเบีย้ยังชีพฯ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุ 60-69 ปี อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล สิทธิในการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ร้อยละ 86) รองลงมาคือ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (ร้อยละ 13) ประกันสังคม (ร้อยละ 1)
  • 35. รายงานการสารวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 17 รูป 4 จังหวัดตัวอย่างในการสารวจ
  • 36. 18 ผู้สูงอายุกับความพิการ กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุจานวน 728 คน (ร้อยละ 6) เป็นผู้ขึน้ทะเบียนเป็นคนพิการ โดยแยกเป็นเพศชาย ร้อยละ 49 เพศหญิง ร้อยละ 51 ในจานวนดังกล่าว ร้อยละ 85 ได้รับเบยี้ยังชีพคนพิการ ด้านประเภทความพิการ ส่วนใหญ่ พิการด้านการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย (ร้อยละ 58) รองลงมาคือ การได้ยินหรือสื่อความหมาย (ร้อยละ 24) การเห็น (ร้อยละ 19) การเรียนรู้ (ร้อยละ 4) จิตใจหรือพฤติกรรม (ร้อยละ 3) และสติปัญญา (ร้อยละ 2) ทัง้นี้ บางรายมีประเภทความพิการมากกว่า 1 ด้าน (รูป 5) สาหรับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการพบว่า ร้อยละ 53 ระบุว่า ตนเองจาเป็นต้องใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยฯ โดยมีเพียงร้อยละ 29 ที่ได้รับอุปกรณ์ฯ (รูป 6) 58 24 19 4 3 2 60 50 40 30 20 10 0 การเคลื่อนไหว และร่างกาย การได้ยินหรือ สื่อความหมาย การเห็น การเรียนรู้ จิตใจหรือ พฤติกรรม สติปัญญา รูป 5 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการ จาแนกตามประเภทความพิการ ร้อยละ ไม่จาเป็น 47% ไม่ได้รับ อุปกรณ์ฯ 24% ได้รับ อุปกรณ์ฯ 29% รูป 6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความพิการ จาแนกตามความจาเป็นและการได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพในรอบ 12 เดือน พบว่าผู้สูงอายุที่มีความพิการส่วนใหญ่ได้รับการฝึกทากิจวัตร- ประจาวัน/ทักษะการดารงชีวิต (ร้อยละ 37) รองลงมาได้รับการทากายภาพบาบัด และทากิจกรรมบาบัด/ พฤติกรรมบาบัด/จิตบาบัด (ร้อยละ 29 และ 23 ตามลาดับ) นอกจากนีมี้ร้อยละ 9 ได้รับงบประมาณสนับสนุนเพื่อ ปรับสภาพบ้าน/ส่งเสริมอาชีพ