SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
Download to read offline
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
• ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ และอาจารย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
• อนุกรรมการด้านการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และประสานการขับเคลื่อนการ
ดาเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในคณะกรรมการปฏิรูป
ประเทศด้านสาธารณสุข
4 เม.ย. 2562
ทิศทางของ Health IT
ของประเทศไทย
Thai Informatics
Year in Review
Thai Medical Informatics Association
2
Since 2012
Structure
WHO ITU. National eHealth strategy toolkit. Geneva, Switzerland: 2012.
3
eHealth strategy as the base of the
national eHealth roadmap
WHO-ITU National eHealth
Strategy Toolkit (2012)
WHA 58.28 resolution 2005: urged member countries to
▪ draw a long-term eHealth strategic plan
▪ develop eHealth infrastructure and
▪ build closer collaborate between public and private
sector on eHealth.
WHA 66.24 resolution 2013: urged member states to
▪ draw up a road map for implementation of eHealth and
health data standards
▪ develop policies and legislative mechanisms linked to
an overall national eHealth strategy
5
WHO-ITU eHealth Components
6
Leadership & Governance
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
หน้าที่
1.Implement แผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนา HIS
2. ประสานงาน สนับสนุนให้
เกิดกลไกตามยุทธศาสตร์
3.พัฒนาข้อเสนอด้านนโยบาย
HIS ให้ คสช.
คณะกรรมการข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ (2553)
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2550)
นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน
7
• New minister & deputy minister of public health
with health systems & academic mindset
• Supportive of eHealth initiatives
Prof. Rajata Rajatanavin, M.D.
Minister of Public Health
Outgoing Mahidol University President
Dr. Somsak Chunharas, M.D.
Deputy Minister of Public Health
New MoPH Leadership:
Renewed Hope for eHealth?
ข้อเสนอของสมาคมเวชสารสนเทศไทย ต่อ รมว.สธ. (ศ. นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน) เมื่อ พ.ศ. 2557
ข้อเสนอของสมาคมเวชสารสนเทศไทย ต่อ รมว.สธ. (ศ. นพ.
รัชตะ รัชตะนาวิน) เมื่อ พ.ศ. 2557
ข้อเสนอของสมาคมเวชสารสนเทศไทย ต่อ รมว.สธ. (ศ. นพ.
รัชตะ รัชตะนาวิน) เมื่อ พ.ศ. 2557
eHealth Leadership & Governance
•2015 Update
▫ Change in Minister of Public Health
▫ Still no leadership & national body on eHealth yet..
12 Image Source: http://www.hfocus.org/content/2015/08/10692
eHealth Leadership & Governance In The News
13
http://www.hfocus.org/content/2015/08/10718
1.ให้ความสาคัญสูงสุดต่อการพัฒนางานสาธารณสุขตามแนวพระราชดาริ
2.บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพระหว่าง สปสช. กับกระทรวง สธ.เพื่อให้การดูแลสุขภาพคนไทยเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพในทุกระดับและทุกมิติ
3.พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค
4.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับทั้งการบริหารการเงินการคลัง การบริหารกาลังคน และการ
บริหารข้อมูลสุขภาพเพื่อสนับสนุนการปฎิรูปสาธารณสุขและปฎิรูประเทศ ข้อมูล
คือหัวใจ แต่เทคโนโลยีต้องทาให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้
5.ให้ความสาคัญในการพัฒนากาลังคน
6.วิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยให้มีคุณภาพครบวงจรและเกิดผลดีต่อเศรษฐกิจไทย
7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฎิบัติงานสาธารณสุข เพื่อประสิทธิภาพที่ดีต่อสุขภาวะของประชาชน
8. สนับสนุนกลไการทางานสาธารณสุขเพื่อสร้างความมั่นคงของสังคมไทยและสังคมโลก
Glimmer of Hope for Thailand’s eHealth
14 http://www.hfocus.org/content/2015/03/9593
▫ eHealth Strategy Board (No Meeting Yet)
15
eHealth Leadership & Governance
•ความเดิมตอนที่แล้ว
16
https://www.hfocus.org/content/2017/08/14418
•2018 Updates: New Committees
17
•2018 Updates: New Health IT Committees
18
•2018 Updates: New Health IT Committees
19
•2018 Updates: New Health IT Committees
20
•2018 Updates: New Health IT Committees
21
•2018 Updates: New Health IT Committees
22
•2018 Updates: New Health IT Committees
23
•2018 Updates: New Health IT Committees
24
•2018 Updates: New Health IT Committees
25
•2018 Updates: New MOPH Health IT Executives
26
•2018 Updates: New MOPH Health IT Executives
27
28
http://fileserv.moph.go.th/index.php/s/OaTfw4Nr1swa58p
Establishing eHealth Vision & Strategy
•ความเดิมตอนที่แล้ว
Source: Courtesy of นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Health 4.0 as eHealth Vision
Source: Courtesy of นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Health 4.0 & Digital Economy (DE) Roadmap
Source: Courtesy of นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
DE, MoPH’s 4 Excellence & eHealth
eHealth Strategy & Investment In The News
33
https://www.hfocus.org/content/2016/06/12331
เป้าหมายระยะยาว 20 ปี
ประชาชนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงสารสนเทศเพื่อพัฒนาความฉลาด
ทางสุขภาพ (Health literacy) มีข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล (Personal health records) ที่
ครบถ้วน ปลอดภัย สามารถเข้าถึงและบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพของตนได้เมื่อต้องการ
และมีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ช่วยสนับสนุนการดูแลตนเอง (self-care) และได้รับบริการให้
คาแนะนาด้านสุขภาพและวินิจฉัยโรคเบื้องต้นได้อย่างสะดวกและทั่วถึง
เป้าหมายระยะยาว 20 ปี
ผู้ให้บริการมีระบบข้อมูลและสารสนเทศที่ทันสมัยสามารถให้บริการสุขภาพและ
สาธารณสุขแก่ประชาชนทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การ
รักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มีการใช้สารสนเทศ
เหล่านั้นในการวิเคราะห์วางแผน และพัฒนาการจัดบริการให้คุณภาพและประสิทธิภาพดี
ขึ้น มีการเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศที่สนับสนุนให้เกิดระบบบริการแบบไร้รอยต่อ และมีการ
ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม ที่ครอบคลุมถึงระบบปัญญาประดิษฐ์ในการ
สนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย์และการบริหารจัดการระบบสุขภาพ การให้บริการ
แพทย์ทางไกล (telemedicine) การเฝ้าระวัง และสื่อสารเตือนภัยด้านสุขภาพและการ
ควบคุมโรค รวมไปถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพในรูปแบบใหม่ สนับสนุนให้
เกิดอุตสาหกรรม และโอกาสทางเศรษฐกิจด้านสุขภาพและสาธารณสุข
เป้าหมายระยะยาว 20 ปี
รัฐบาลและผู้บริหารมีข้อมูลสารสนเทศที่ใช้บริหารจัดการการเงินการคลัง การบริการ
ในระบบสุขภาพและสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการมีสุขภาพ สุขภาวะที่
ดี หรือลดปัญหาสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในพื้นที่ห่างไกล กลุ่ม
แม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ
เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี
ระบบสาธารณสุข สถานบริการและสถานพยาบาลภาครัฐ โดยเฉพาะในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข หันมาใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม ในการพัฒนากระบวนการทางานและการ
บริหารจัดการ (Digital transformation) ซึ่งรวมถึงการพัฒนาระบบการเงินการคลัง
สุขภาพ ระบบบริหารงานบุคคล และการจัดการทรัพยากรอื่นๆ ในระบบดิจิทัล
บุคลากรในระบบสุขภาพส่วนใหญ่ มีความเข้าใจประโยชน์ และข้อจากัดของการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนระบบบริการสุขภาพ ผู้บริหารระบบสุขภาพนาข้อมูล
สารสนเทศมาใช้ในการวิเคราะห์และพัฒนาระบบอย่างสม่าเสมอ ทั้งในด้านการบริหาร
จัดการ (Business analytics) และในการรักษาพยาบาล (Clinical & health analytics)
เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี
การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างหน่วยบริการระดับต่างๆ เริ่มมีการใช้ระบบข้อมูลสุขภาพส่วน
บุคคลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic health records) เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ
ของการให้บริการ
เริ่มมีเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสุขภาพในรูปแบบใหม่ที่สามารถนามาใช้สนับสนุน
การจัดบริการสุขภาพได้จริง รวมถึง ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence) ใน
การสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยและพยากรณ์การเกิดโรค และการบริหารจัดการระบบ
สุขภาพ โดยเฉพาะในระบบการแพทย์และการสาธารณสุขพื้นฐาน (Primary care) ระบบ
การดูแลสุขภาพและให้บริการแพทย์ทางไกล (telehealth & telemedicine) ทั้งในกรณี
ระหว่างสถานพยาบาลระดับต่างๆ ระหว่างผู้ให้บริการกับประชาชน โดยเฉพาะกรณีการ
ดูแลประชาชนในพื้นที่ห่างไกล และระบบการเฝ้าระวังและสื่อสารเตือนภัยด้านสุขภาพและ
การควบคุมโรคอย่างทันท่วงที
เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี
มีกลไกอภิบาลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศระดับชาติ ซึ่งรวมถึงกลไกบูรณาการสารสนเทศ
สุขภาพ เช่น ระบบแลกเปลี่ยนประวัติสุขภาพผู้ป่วยอิเล็กทรอนิกส์ (Health information
exchange) และระบบสารสนเทศกลางด้านบริการ ด้านบุคลากร และด้านการคลังสุขภาพ
มีกลไกอย่างเป็นระบบในการผลิตและพัฒนาคนที่ทางานเกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศสุขภาพ ทั้งระดับปฏิบัติการ นักวิจัย และระดับบริหารจัดการ ให้เพียงพอกับการ
นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี
มีกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยและความลับส่วนบุคคล
ของข้อมูลสุขภาพ โดยพิจารณาประโยชน์ทั้งการป้องกันส่วนบุคคลและการเปิดเผยข้อมูลที่
จาเป็นเพื่อการรักษาพยาบาลที่ต่อเนื่อง ปลอดภัย มีคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมให้มีการนา
ข้อมูลสุขภาพไปใช้ประโยชน์ต่อยอดในการบริหารงาน การวิจัยและพัฒนาทางการแพทย์
และสาธารณสุข โดยมีมาตรการป้องกันที่เหมาะสมในกรณีที่ต้องละเมิดความเป็นส่วนตัว
ของบุคคล
มีมาตรฐานข้อมูลสุขภาพในทุกมิติรวมถึงกลไกในการดูแลมาตรฐานเพื่อให้ระบบ
สารสนเทศต่างๆ ทางานร่วมกันได้ (Interoperability) ให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
แบบไร้รอยต่อด้วยความปลอดภัยและเป็นประโยชน์กับการบริการสุขภาพ การบริหาร
จัดการและงานวิจัยและพัฒนา
WHO-ITU eHealth Components
WHO & ITU
Overview การปฏิรูปประเทศเรื่อง Health IT
Intra-Hospital IT
•Digital Health Records
(Electronic Health Records)
•Digital Transformation
•AI, Data Analytics
•Hospital IT Quality
Improvement (HA-IT)
Inter-Hospital IT
•Hospital Information
Exchange (HIE)
Extra-Hospital IT
•Personal Health
Records (PHRs) Patient
at Home
ขั้นตอนการดาเนินการ
1. การพัฒนาระบบบันทึกสุขภาพดิจิทัล Digital Health Record (DHR) และ การ
สนับสนุน Digital Transformation ของระบบบริการสุขภาพ
1.1 การพัฒนา DHR
(1) การจัดทาแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาระบบบันทึกสุขภาพดิจิทัล
(2) การลงทุนและพัฒนาระบบสาหรับจัดการ Provincial Health Information
Exchange
(3) การสนับสนุนการจ้างบุคลากรสารสนเทศสุขภาพ และนักวิเคราะห์ข้อมูล
สุขภาพ หรือการจ้างเหมาหน่วยงานที่มีศักยภาพ
(4) การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม (Incentives) เป็นลาดับขั้น เพื่อสนับสนุนให้
เกิดระบบ DHR ให้ใช้ประโยชน์ได้จริง
ปัญหา/ข้อจากัด
ปัญหา/ข้อจากัด
1. ยังไม่มี Governance body ที่เห็นภาพรวมทั้ง Health System แผน
แม่บทจึงไม่ครอบคลุม key stakeholders
2. การพัฒนา Provincial Health Information Exchange ต้องใช้
มาตรฐานข้อมูล ซึ่ง สธ. เน้นเฉพาะ 43 แฟ้มข้อมูล แต่มีอีกหลาย
มาตรฐานที่ต้องจัดทาขึ้นอย่างเข้าใจ (มีความเป็นวิชาการ) และเป็นที่
ยอมรับทุกภาคส่วน
3. การพัฒนา Health Information Exchange นอกจากเรื่องมาตรฐาน
ข้อมูลแล้ว ต้องมีการวางแผนออกแบบ Architecture ของระบบคู่กัน
4. การพัฒนา IT เพื่อตอบโจทย์ รพ. เอง (Digital Transformation) ซึ่ง
เป็น Precondition ของ Health information Exchange ยังไม่เกิด
ขั้นตอนการดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ
ยังมีความเข้าใจเรื่อง Digital Health Records (DHRs) ไม่ตรงกัน และไม่ตรงกับแนวคิด
ในทางวิชาการ ว่าหมายถึง Personal Health Records (PHRs) (ผู้ป่วยเข้าถึงข้อมูล
ส่วนตัวของทุกโรงพยาบาลได้) หรือ Electronic Health Records (EHRs) (โรงพยาบาล
เก็บข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์) หรือ Health Information Exchange (HIE)
(โรงพยาบาลแลกเปลี่ยนข้อมูลกันเองได้)
• เสนอปรับ Definition
ให้รวม HIE & PHRs
ให้ชัดเจน โดยเน้น HI
E ก่อน PHRs
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• ปรับไปรวมกับการจัดทาแผนแม่บท National Health IT Master Plan
• ควรกาหนดเรื่องการศึกษาทบทวนและจัดทา Architecture ของระบบ DHR
/HIE/PHRs และการจัดทาและประกาศมาตรฐานเพิ่มในแผน เนื่องจากเป็น
เงื่อนไขสาคัญและ bottleneck ของการปฏิรูป โดยเขียนรวมกับข้อ 2 (6)
ขั้นตอนการดาเนินการ
ควรตัดออกหรือไม่ เนื่องจากควรเป็นส่วนหนึ่งของการ
ขับเคลื่อนงานตามแผนแม่บท และไม่มีงบประมาณผูกพันจริง
ควรตัดออกหรือไม่ เนื่องจากควรเป็นส่วนหนึ่งของการ
ขับเคลื่อนงานตามแผนแม่บท และไม่มีงบประมาณผูกพันจริง
ยังไม่ได้ดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ
ขั้นตอนการดาเนินการ
1. การพัฒนาระบบบันทึกสุขภาพดิจิทัล Digital Health Record (DHR) และ การ
สนับสนุน Digital Transformation ของระบบบริการสุขภาพ
1.2 การปรับระบบบริการสู่ระบบดิจิทัล
(1) การจัดทาแผนแม่บทเพื่อการปรับระบบบริการเพื่อใช้ประโยชน์จากระบบ
ดิจิทัลในการพัฒนากระบวนการบริการ
(2) การพัฒนาแบบจาลองการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพสู่ระบบดิจิทัล และ
ทดลองดาเนินการในสถานพยาบาลระดับต่างๆ
(3) การขยายผลการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และโรงพยาบาลในสังกัด
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขระดับต่างๆ สู่ระบบดิจิทัลทั่วประเทศ
ปัญหา/ข้อจากัด
ปัญหา/ข้อจากัด
1. ยังไม่มี Governance body ที่เห็นภาพรวมทั้ง Health System แผน
แม่บทจึงไม่ครอบคลุม key stakeholders
2. Digital Transformation เป็นเรื่องที่ context-dependent อย่างมาก
จึงจาเป็นต้อง build capacity และ empower แต่ละ รพ. และแต่ละพื้นที่
ในการตัดสินใจ priorities และ how-to ของ Digital Transformation
รวมทั้งอาจมีข้อจากัดในการขยายผลเพราะอาจไม่ generalizable
3. เงื่อนไขสาคัญของ Digital Transformation ของ รพ. คือ competent
health IT vendors (as partners) และการมี competitive health IT
ecosystem (แต่ยังไม่มี strategy เพื่อสร้าง ecosystem)
ขั้นตอนการดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ • ปรับไปรวมกับการจัดทาแผนแม่บท National Health IT Master Plan
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• ควรปรับ Timeline และเร่งรัดให้กลไกคณะทางานร่วมฯ และ
คณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติจัดทาแผนแม่บทและขับเคลื่อน
แต่ต้องคานึงถึงบริบทของแต่ละโรงพยาบาล/หน่วยงานด้วย
• ควรเพิ่มเรื่อง Capacity Building ในระดับ รพ. (เช่น โครงการ HA-IT)
ไปด้วย
ยังไม่ถึงกาหนด
ดาเนินการ
ขั้นตอนการดาเนินการ
2. ระบบและองค์กรหลักเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปและการบูรณาการสารสนเทศสุขภาพ
ของชาติ
(1) การจัดตั้งและดาเนินการคณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติ
(2) การกาหนดองค์กรหลักและดาเนินการสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปและ
การพัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพของประเทศ
(3) การจัดตั้งองค์การมหาชนทาหน้าที่ National Health Data Clearing House
และทามาตรฐานส่วนที่เกี่ยวข้อง
(4) การจัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติ National Health
IT Master Plan
(5) การปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบด้านสารสนเทศสุขภาพ และด้านอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง
(6) การพัฒนามาตรฐานและจัดการมาตรฐานระบบข้อมูลบริการสาธารณสุขของ
ประเทศ
ขั้นตอนการดาเนินการ
2. ระบบและองค์กรหลักเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปและการบูรณาการสารสนเทศสุขภาพ
ของชาติ
(7) การบูรณาการสารสนเทศสุขภาพระดับประเทศ และส่งเสริมการนาไปใช้เพื่อ
ประโยชน์สาธารณะ
(8) การพัฒนากาลังคนด้านสารสนเทศสุขภาพ
- หลักสูตรและเนื้อหาด้านสาขาเวชสารสนเทศ (Medical Informatics)
- บรรจุเนื้อหาสารสนเทศสุขภาพในหลักสูตรของสถาบันการศึกษาที่ผลิต
บุคลากรวิชาชีพสุขภาพต่างๆ
- สนับสนุนการอบรมระยะสั้นสาหรับบุคลากรระดับปฏิบัติการ
(9) การพัฒนาฐานข้อมูลบุคลากรสุขภาพ และวิชาชีพสุขภาพ
ปัญหา/ข้อจากัด
ปัญหา/ข้อจากัด
1. ยังไม่เกิดการจัดตั้งคณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติ และการ
กาหนดองค์กรหลัก เนื่องจาก คปสธ. เป็นผู้รับผิดชอบ (รอกลไกการหารือ
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น MRC)
2. แนวทางการจัดตั้ง National Data Clearing House ยังไม่มีความชัดเจน
3. Lack of political will ในการดาเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4. ยังไม่มีหน่วยงานที่มี mission ด้านการสร้างมาตรฐาน ที่มีงบประมาณและ
ผู้เชี่ยวชาญสนับสนุนเพียงพอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่เข้าใจแนวคิดเรื่อง
มาตรฐานประเภทต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับ Health IT
5. การพัฒนา Health Information Exchange นอกจากเรื่องมาตรฐาน
ข้อมูลแล้ว ต้องมีการวางแผนออกแบบ Architecture ของระบบคู่กัน
ขั้นตอนการดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• กระทรวงสาธารณสุขควรดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสารสนเทศ
สุขภาพแห่งชาติโดยด่วน
• องค์ประกอบของคณะกรรมการควรประกอบด้วย ควรพิจารณาว่ามี
องค์ประกอบเหมาะสม โดยควรมีทั้ง policymakers ของกระทรวง,
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนี้ และนักวิชาการด้าน Health IT
• ควรศึกษาและทบทวนรูปแบบการแต่งตั้งคณะกรรมการให้มีความยั่งยืน
ขึ้น เช่น การกาหนดใน พรบ. หรือระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ยังไม่ได้กาหนดอย่างชัดเจน แต่
มีกลไกคณะทางานร่วมทางาน
ด้วยกันอยู่แล้ว
• ควรปรับแผนเป็นการศึกษา ทบทวน และหาข้อสรุปร่วมกันเรื่องบทบาท
หน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ และข้อเสนอเรื่องการจัดตั้ง/ยุบรวม/บูรณา
การการทางานของหน่วยงานต่างๆ โดยขับเคลื่อนผ่านคณะทางานร่วม
ยังไม่ได้ดาเนินการ • รอความชัดเจนทางนโยบายและการขับเคลื่อนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
• ควรแก้ไขคาว่า องค์การมหาชน ให้ถูกต้อง
ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรปรับแผนโดยเขียนเรื่องการจัดทาแผนแม่บทในส่วนต่างๆ รวมไป
ด้วยกัน เพราะมีความสัมพันธ์และ dependency ต่อกัน โดยเป็นหน้าที่
ของคณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติและคณะทางานร่วม
• ปรับ Timeline
ขั้นตอนการดาเนินการ
• ควรปรับแผนเป็นการศึกษา ทบทวน และหาข้อสรุปร่วมกันเรื่องการ
ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ โดยขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการ
สารสนเทศสุขภาพแห่งชาติและคณะทางานร่วม
ยังไม่ได้ดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรกาหนดเรื่องการศึกษาทบทวนและจัดทา Architecture ของระบบ DHR
/HIE/PHRs และการจัดทาและประกาศมาตรฐานในแผนให้ชัดเจน โดยเขียน
รวมกับข้อ 1.1(2)ยังไม่ถึงกาหนด
ดาเนินการ
ขั้นตอนการดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• ควรปรับแผนเป็นการศึกษา ทบทวน และหาข้อสรุปร่วมกันเรื่องการ
พัฒนากาลังคนและหลักสูตร
• เรื่องการบรรจุเนื้อหาไว้ในหลักสูตรของสถาบันการศึกษา ควรปรับเป็น
การทางานร่วมกันกับสถาบันการศึกษาและสภาวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมการ
บรรจุเนื้อหาในหลักสูตร และปรับผู้รับผิดชอบ
• ควรเพิ่มเรื่องการส่งเสริม HRM & HRD ของบุคลากรด้าน Health Infor
matics ในระบบราชการ โดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข โดย สธ
ทางานร่วมกับสานักงาน ก.พ.
ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรปรับ Timeline และแก้ไขข้อความเป็นเรื่องบุคลากรด้านสารสนเทศ
สุขภาพ (ไม่ใช่บุคลากรของทั้งระบบสุขภาพ)
ขั้นตอนการดาเนินการ
3. การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศสุขภาพ
(1) การวิจัยและการพัฒนากลไก กระบวนการ และเครื่องมือ เพื่อการสนับสนุน Di
gital Transformation
(2) การวิจัยที่จะสนับสนุนขับเคลื่อนการปฏิรูปด้านสารสนเทศสุขภาพของประเทศ
(3) การสารวจสุขภาพประชาชนและการเก็บตัวอย่างชีวภาพเพื่อสนับสนุนการทา
National Biobank
(4) การสนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากสารสนเทศสุขภาพในทุก
ระดับ
ปัญหา/ข้อจากัด
ปัญหา/ข้อจากัด
1. หน่วยงานผู้ให้ทุนยังไม่ได้สนับสนุนงานด้าน Health IT
2. การร่วมกันจัดทาโจทย์วิจัยในสาขานี้ยังไม่ชัดเจน
3. นักวิจัยในสาขานี้และสาขาใกล้เคียงยังมีจานวนน้อย อาจไม่เพียงพอต่อ
การสร้างองค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการปฏิรูปในระยะสั้น
ขั้นตอนการดาเนินการ
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• ควรหารือกับแหล่งทุนต่างๆ เพื่อกาหนดประเด็นวิจัยที่สนับสนุนเรื่อง
เหล่านี้ โดยควรกาหนดผู้รับผิดชอบในฝั่งของ สธ. ด้วย
• ควรทบทวน/เพิ่มเติมแหล่งทุนอื่นๆ เช่น สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• ควรหารือกับแหล่งทุนต่างๆ เพื่อกาหนดประเด็นวิจัยที่สนับสนุนเรื่อง
เหล่านี้
ยังไม่ได้ดาเนินการ
• น่าจะเป็นงานประจา ไม่จาเป็นต้องใส่ในแผนการปฏิรูปประเทศยังไม่ถึงกาหนดดาเนินการ
• ควรเร่ง establish interim governance body ด้าน
Health IT โดยด่วน โดยภารกิจในช่วงแรกควรเน้นการ
จัดทาแผนแม่บทด้าน Health IT ของประเทศ ที่
สอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
• ควรผลักดันการจัดตั้ง National Data Clearing
House โดยเร็ว เพื่อให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่อง
การพัฒนามาตรฐานข้อมูลที่เข้าใจโจทย์ดีพอ
ข้อเสนอเพิ่มเติม
• ระยะยาว ควรพิจารณาเสนอจัดตั้ง “สานักงานสารสนเทศสุขภาพ
แห่งชาติ (สสสช.)” (National Health Information Office:
NHIO) เป็นองค์การมหาชนที่ออกโดย พรบ. (หรือจัดตั้ง “สานัก
สารสนเทศสุขภาพ” ภายใต้ NHPB) เพื่อให้มี Governance Body
ที่มีอานาจหน้าที่ครอบคลุมทั้ง Health System และมีทรัพยากร
ความเชี่ยวชาญ เพียงพอ เพื่อให้การจัดทาและขับเคลื่อนแผนแม่บท
และการพัฒนา eHealth components ในด้านต่างๆ เดินหน้าได้
อย่างยั่งยืน โดยการตัดสินใจที่มีส่วนร่วมและมีผลผูกพันทุกภาคส่วน
ภายใต้การทางานร่วมกันกับนักวิชาการด้านสารสนเทศสุขภาพ
ข้อเสนอเพิ่มเติม
Digital Health Transformation
Nawanan Theera-Ampornpunt, M.D., Ph.D.
www.SlideShare.net/Nawanan
What words come to mind when you hear...
Digital Health
Transformation
https://medium.com/@marwantarek/it-is-the-perfect-storm-ai-cloud-bots-iot-etc-4b7cbb0481bc
http://www.ibtimes.com/google-deepminds-alphago-program-defeats-human-go-champion-first-time-ever-2283700
http://deepmind.com/ http://socialmediab2b.com
An Era of Smart Machines
englishmoviez.com
Rise of the Machines?
Digitizing Healthcare?
http://www.bloomberg.com/bw/stories/2005-03-27/cover-image-the-digital-hospital
“Big data is like teenage sex:
everyone talks about it,
nobody really knows how to do it,
everyone thinks everyone else is doing it,
so everyone claims they are doing it...”
-- Dan Ariely @danariely (2013)
Substitute “Big data” with “AI”, “Blockchain”, “IoT”
of your choice.
-- Nawanan Theera-Ampornpunt (2018)
Hype vs. Hope
Jeremy Kemp via http://en.wikipedia.org/wiki/Hype_cycle
http://www.gartner.com/technology/research/methodologies/hype-cycle.jsp
Gartner Hype Cycle 2017
https://www.gartner.com/smarterwithgartner/top-trends-in-the-gartner-hype-cycle-for-emerging-technologies-2017/
“Smart” Machines?
https://www.bbc.com/news/business-47514289
https://www.standardmedia
.co.ke/article/2001318679/e
thiopian-airlines-crash-
investigators-reach-
conclusion
Digitization 
Digital Transformation
“Smart Hospital”
So What Exactly Is Smart Healthcare?
Image Source: http://cdn2.hubspot.net/hub/134568/file-1208368053-jpg/6-blind-men-hans.jpg
Why Aren’t We Talk About These Words?
http://hcca-act.blogspot.com/2011/07/reflections-on-patient-centred-care.html
The Goal of Health Care
The answer is already obvious...
“Health”
“Care”
• Safe
• Timely
• Effective
• Patient-Centered
• Efficient
• Equitable
Institute of Medicine, Committee on Quality of Health Care in America. Crossing the quality
chasm: a new health system for the 21st century. Washington, DC: National Academy
Press; 2001. 337 p.
High Quality Care
77
77
WHO (2009)
Components of Health Systems
Health IT
Health
Information
Technology
Goal
Value-Add
Means
Hospital A Hospital B
Clinic D
Policymakers
Patient at
Home
Hospital C
HIE Platform
Health Information Exchange (HIE)
My Life-Long Dream...
My Life-Long Dream...
Areas of Health Informatics
Patients &
Consumers
Providers &
Patients
Healthcare
Managers, Policy-
Makers, Payers,
Epidemiologists,
Researchers
Copyright  Nawanan Theera-Ampornpunt (2018)
Clinical
Informatics
Public
Health
Informatics
Consumer
Health
Informatics
Incarnations of Health IT
Clinical
Informatics
Public
Health
Informatics
Consumer
Health
Informatics
HIS/CIS
EHRs
Computerized Physician
Order Entry (CPOE)
Clinical Decision
Support Systems
(CDS) (including AI)
Closed Loop
Medication
PACS/RIS
LIS
Nursing
Apps
Disease Surveillance
(Active/Passive)
Business
Intelligence &
Dashboards
Telemedicine
Real-time Syndromic
Surveillance
mHealth for Public
Health Workers &
Volunteers
PHRs
Health Information
Exchange (HIE)
eReferral
mHealth for
Consumers
Wearable
Devices
Social
Media
Copyright  Nawanan Theera-Ampornpunt (2018)
Where We Are Today...
Copyright  Nawanan Theera-Ampornpunt (2018)
Clinical
Informatics
Public
Health
Informatics
Consumer
Health
Informatics
Technology that
focuses on the sick,
not the healthy
Silos of data
within hospitalPoor/unstructured
data quality
Lack of health data
outside hospital
Poor data
integration across
hospitals/clinics
Poor data integration
for monitoring &
evaluation
Poor data quality (GIGO)
Finance leads
clinical outcomes
Poor IT change
management
Cybersecurity
& privacy risks
Few real examples
of precision
medicine
Little access
to own
health data
Poor patient
engagement
Poor accuracy
of wearables Lack of evidence
for health values
Health literacy
Information 
Behavioral
change
Few standards
Lack of health IT
governance
Healthtech Startup Ecosystem
www.facebook.com/HealthTechThailand/ No endorsements implied
WHO & ITU
Achieving Health Information Exchange (HIE)
https://www.hfocus.org/content/2016/02/11783
https://www.hfocus.org/content/2016/03/11968
https://www.hfocus.org/content/2016/09/12671
• Nothing is certain in medicine & health care
• Large variations exist in patient presentations,
clinical course, underlying genetic codes,
patient & provider behaviors, biological
responses & social contexts
• Human is good at pattern recognition, while
machine is good at logic & computations.
• Diagnosis is often achieved through
recognizing clinical patterns
• Not everything can be digitized or digitally
acquired
• Not everything digitized is accurate (“Garbage
In, Garbage Out”)
• Experience, context & human touch matters
Why Clinical Judgment Is Still Necessary?
Standard view
▪ With uncertainties around new technology,
“scientific evidence counsels caution and
prudence.”
▪ Evidence & reason determine appropriate level
of caution
▪ If such systems improve care at acceptable
cost in time & money, there’s an obligation to
use it
▪ Follows evolving evidence and standards of
care
Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes.
In Shortliffe (3rd Edition).
Appropriate Use of Health IT
Standard view
▪ For computer-assisted clinical diagnosis CDS,
human cognitive processes are more suited to
complex task of diagnosis than machine, and
should not be overridden or trumped by
computers.
▪ When adequate CDS tools are developed, they
should be viewed and used as supplementary
and subservient to human clinical judgment
Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes.
In Shortliffe (3rd Edition).
Appropriate Use of Health IT
Fundamental Theorem of Informatics
(Friedman, 2009)
Standard view
▪ Practitioners have obligation to use tools
responsibly, through adequate training &
understanding the system’s abilities &
limitations
▪ Practitioners must not ignore their clinical
judgment reflexively when using CDS.
Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes.
In Shortliffe (3rd Edition).
Appropriate Use of Health IT
▪ Health IT “should be used in clinical practice
only after appropriate evaluation of its efficacy
and the documentation that it performs its
intended task at an acceptable cost in time &
money”
▪ Qualified (licensed, trained & experienced)
health professionals as users
▪ Systems should be used to
augment/supplement, rather than replace or
supplant individuals’ decision making
▪ Adequate training
Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes.
In Shortliffe (3rd Edition).
Appropriate Use of Health IT
• A defense doctrine used in the U.S.
legal system (and some other countries)
which states that “a manufacturer of a
product has fulfilled his duty of care
when he provides all of the necessary
information to a ‘learned intermediary’
who then interacts with the consumer of
a product.” (Wikipedia)
• Primarily used by pharmaceutical &
medical device manufacturers in
defense of tort lawsuits.
Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Learned_intermediary
Learned Intermediary Doctrine
• Because health IT developers can’t expect a
CDS advice (e.g., alerts & reminders) to be
100% appropriate for each individual patient,
clinical judgment is still necessary.
• Health IT developers & manufacturers are
protected from liabilities for poor/inappropriate
advices or for bad outcomes associated with
them, as long as there is a clinician using it that
can intervene
• What about software bugs (e.g. wrong dose
calculations)?
Learned Intermediary Doctrine
95
My Plea...
Less Fancy Roofs
More Enabling Foundations
96
#LessHype
#MoreHope
My Plea...

More Related Content

What's hot

การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพMediaDonuts
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Pornarun Srihanat
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governanceFreelance
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
Developing Hospital Information System: How To Start?
Developing Hospital Information System: How To Start?Developing Hospital Information System: How To Start?
Developing Hospital Information System: How To Start?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdfChuta Tharachai
 
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeเปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeaucharapon theemcle
 

What's hot (20)

การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governance
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
Developing Hospital Information System: How To Start?
Developing Hospital Information System: How To Start?Developing Hospital Information System: How To Start?
Developing Hospital Information System: How To Start?
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
 
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeเปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
 

Similar to Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)

Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...
Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...
Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)
Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)
Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019) (20)

Research Trends in Health IT
Research Trends in Health ITResearch Trends in Health IT
Research Trends in Health IT
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Toward Thailand's eHealth
Toward Thailand's eHealthToward Thailand's eHealth
Toward Thailand's eHealth
 
Thai Informatics Year In Review 2014
Thai Informatics Year In Review 2014Thai Informatics Year In Review 2014
Thai Informatics Year In Review 2014
 
Research Agenda for Thailand's eHealth
Research Agenda for Thailand's eHealthResearch Agenda for Thailand's eHealth
Research Agenda for Thailand's eHealth
 
Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...
Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...
Health Information Integration (Digital Health) according to the National Ref...
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
Thai Informatics Year In Review 2012
Thai Informatics Year In Review 2012Thai Informatics Year In Review 2012
Thai Informatics Year In Review 2012
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
Thai Informatics Year In Review 2015
Thai Informatics Year In Review 2015Thai Informatics Year In Review 2015
Thai Informatics Year In Review 2015
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)
Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)
Health Informatics Development and Application in Organization (October 7, 2018)
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)

  • 1. นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ • ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ และอาจารย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • อนุกรรมการด้านการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และประสานการขับเคลื่อนการ ดาเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในคณะกรรมการปฏิรูป ประเทศด้านสาธารณสุข 4 เม.ย. 2562 ทิศทางของ Health IT ของประเทศไทย
  • 2. Thai Informatics Year in Review Thai Medical Informatics Association 2 Since 2012
  • 3. Structure WHO ITU. National eHealth strategy toolkit. Geneva, Switzerland: 2012. 3
  • 4. eHealth strategy as the base of the national eHealth roadmap WHO-ITU National eHealth Strategy Toolkit (2012) WHA 58.28 resolution 2005: urged member countries to ▪ draw a long-term eHealth strategic plan ▪ develop eHealth infrastructure and ▪ build closer collaborate between public and private sector on eHealth. WHA 66.24 resolution 2013: urged member states to ▪ draw up a road map for implementation of eHealth and health data standards ▪ develop policies and legislative mechanisms linked to an overall national eHealth strategy
  • 5. 5
  • 7. Leadership & Governance คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ (สช.) หน้าที่ 1.Implement แผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา HIS 2. ประสานงาน สนับสนุนให้ เกิดกลไกตามยุทธศาสตร์ 3.พัฒนาข้อเสนอด้านนโยบาย HIS ให้ คสช. คณะกรรมการข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ (2553) คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2550) นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน 7
  • 8. • New minister & deputy minister of public health with health systems & academic mindset • Supportive of eHealth initiatives Prof. Rajata Rajatanavin, M.D. Minister of Public Health Outgoing Mahidol University President Dr. Somsak Chunharas, M.D. Deputy Minister of Public Health New MoPH Leadership: Renewed Hope for eHealth?
  • 9. ข้อเสนอของสมาคมเวชสารสนเทศไทย ต่อ รมว.สธ. (ศ. นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน) เมื่อ พ.ศ. 2557
  • 10. ข้อเสนอของสมาคมเวชสารสนเทศไทย ต่อ รมว.สธ. (ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน) เมื่อ พ.ศ. 2557
  • 11. ข้อเสนอของสมาคมเวชสารสนเทศไทย ต่อ รมว.สธ. (ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน) เมื่อ พ.ศ. 2557
  • 12. eHealth Leadership & Governance •2015 Update ▫ Change in Minister of Public Health ▫ Still no leadership & national body on eHealth yet.. 12 Image Source: http://www.hfocus.org/content/2015/08/10692
  • 13. eHealth Leadership & Governance In The News 13 http://www.hfocus.org/content/2015/08/10718 1.ให้ความสาคัญสูงสุดต่อการพัฒนางานสาธารณสุขตามแนวพระราชดาริ 2.บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพระหว่าง สปสช. กับกระทรวง สธ.เพื่อให้การดูแลสุขภาพคนไทยเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพในทุกระดับและทุกมิติ 3.พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค 4.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับทั้งการบริหารการเงินการคลัง การบริหารกาลังคน และการ บริหารข้อมูลสุขภาพเพื่อสนับสนุนการปฎิรูปสาธารณสุขและปฎิรูประเทศ ข้อมูล คือหัวใจ แต่เทคโนโลยีต้องทาให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ 5.ให้ความสาคัญในการพัฒนากาลังคน 6.วิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยให้มีคุณภาพครบวงจรและเกิดผลดีต่อเศรษฐกิจไทย 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฎิบัติงานสาธารณสุข เพื่อประสิทธิภาพที่ดีต่อสุขภาวะของประชาชน 8. สนับสนุนกลไการทางานสาธารณสุขเพื่อสร้างความมั่นคงของสังคมไทยและสังคมโลก
  • 14. Glimmer of Hope for Thailand’s eHealth 14 http://www.hfocus.org/content/2015/03/9593
  • 15. ▫ eHealth Strategy Board (No Meeting Yet) 15
  • 16. eHealth Leadership & Governance •ความเดิมตอนที่แล้ว 16 https://www.hfocus.org/content/2017/08/14418
  • 17. •2018 Updates: New Committees 17
  • 18. •2018 Updates: New Health IT Committees 18
  • 19. •2018 Updates: New Health IT Committees 19
  • 20. •2018 Updates: New Health IT Committees 20
  • 21. •2018 Updates: New Health IT Committees 21
  • 22. •2018 Updates: New Health IT Committees 22
  • 23. •2018 Updates: New Health IT Committees 23
  • 24. •2018 Updates: New Health IT Committees 24
  • 25. •2018 Updates: New Health IT Committees 25
  • 26. •2018 Updates: New MOPH Health IT Executives 26
  • 27. •2018 Updates: New MOPH Health IT Executives 27
  • 28. 28
  • 29. http://fileserv.moph.go.th/index.php/s/OaTfw4Nr1swa58p Establishing eHealth Vision & Strategy •ความเดิมตอนที่แล้ว
  • 30. Source: Courtesy of นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Health 4.0 as eHealth Vision
  • 31. Source: Courtesy of นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Health 4.0 & Digital Economy (DE) Roadmap
  • 32. Source: Courtesy of นพ.พลวรรธน์ วิทูรกลชิต ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข DE, MoPH’s 4 Excellence & eHealth
  • 33. eHealth Strategy & Investment In The News 33 https://www.hfocus.org/content/2016/06/12331
  • 34. เป้าหมายระยะยาว 20 ปี ประชาชนมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงสารสนเทศเพื่อพัฒนาความฉลาด ทางสุขภาพ (Health literacy) มีข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล (Personal health records) ที่ ครบถ้วน ปลอดภัย สามารถเข้าถึงและบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพของตนได้เมื่อต้องการ และมีเทคโนโลยีดิจิทัลที่ช่วยสนับสนุนการดูแลตนเอง (self-care) และได้รับบริการให้ คาแนะนาด้านสุขภาพและวินิจฉัยโรคเบื้องต้นได้อย่างสะดวกและทั่วถึง
  • 35. เป้าหมายระยะยาว 20 ปี ผู้ให้บริการมีระบบข้อมูลและสารสนเทศที่ทันสมัยสามารถให้บริการสุขภาพและ สาธารณสุขแก่ประชาชนทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค การ รักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มีการใช้สารสนเทศ เหล่านั้นในการวิเคราะห์วางแผน และพัฒนาการจัดบริการให้คุณภาพและประสิทธิภาพดี ขึ้น มีการเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศที่สนับสนุนให้เกิดระบบบริการแบบไร้รอยต่อ และมีการ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม ที่ครอบคลุมถึงระบบปัญญาประดิษฐ์ในการ สนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย์และการบริหารจัดการระบบสุขภาพ การให้บริการ แพทย์ทางไกล (telemedicine) การเฝ้าระวัง และสื่อสารเตือนภัยด้านสุขภาพและการ ควบคุมโรค รวมไปถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพในรูปแบบใหม่ สนับสนุนให้ เกิดอุตสาหกรรม และโอกาสทางเศรษฐกิจด้านสุขภาพและสาธารณสุข
  • 36. เป้าหมายระยะยาว 20 ปี รัฐบาลและผู้บริหารมีข้อมูลสารสนเทศที่ใช้บริหารจัดการการเงินการคลัง การบริการ ในระบบสุขภาพและสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการมีสุขภาพ สุขภาวะที่ ดี หรือลดปัญหาสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในพื้นที่ห่างไกล กลุ่ม แม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ
  • 37. เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี ระบบสาธารณสุข สถานบริการและสถานพยาบาลภาครัฐ โดยเฉพาะในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข หันมาใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม ในการพัฒนากระบวนการทางานและการ บริหารจัดการ (Digital transformation) ซึ่งรวมถึงการพัฒนาระบบการเงินการคลัง สุขภาพ ระบบบริหารงานบุคคล และการจัดการทรัพยากรอื่นๆ ในระบบดิจิทัล บุคลากรในระบบสุขภาพส่วนใหญ่ มีความเข้าใจประโยชน์ และข้อจากัดของการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนระบบบริการสุขภาพ ผู้บริหารระบบสุขภาพนาข้อมูล สารสนเทศมาใช้ในการวิเคราะห์และพัฒนาระบบอย่างสม่าเสมอ ทั้งในด้านการบริหาร จัดการ (Business analytics) และในการรักษาพยาบาล (Clinical & health analytics)
  • 38. เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างหน่วยบริการระดับต่างๆ เริ่มมีการใช้ระบบข้อมูลสุขภาพส่วน บุคคลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic health records) เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของการให้บริการ เริ่มมีเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสุขภาพในรูปแบบใหม่ที่สามารถนามาใช้สนับสนุน การจัดบริการสุขภาพได้จริง รวมถึง ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence) ใน การสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยและพยากรณ์การเกิดโรค และการบริหารจัดการระบบ สุขภาพ โดยเฉพาะในระบบการแพทย์และการสาธารณสุขพื้นฐาน (Primary care) ระบบ การดูแลสุขภาพและให้บริการแพทย์ทางไกล (telehealth & telemedicine) ทั้งในกรณี ระหว่างสถานพยาบาลระดับต่างๆ ระหว่างผู้ให้บริการกับประชาชน โดยเฉพาะกรณีการ ดูแลประชาชนในพื้นที่ห่างไกล และระบบการเฝ้าระวังและสื่อสารเตือนภัยด้านสุขภาพและ การควบคุมโรคอย่างทันท่วงที
  • 39. เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี มีกลไกอภิบาลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศระดับชาติ ซึ่งรวมถึงกลไกบูรณาการสารสนเทศ สุขภาพ เช่น ระบบแลกเปลี่ยนประวัติสุขภาพผู้ป่วยอิเล็กทรอนิกส์ (Health information exchange) และระบบสารสนเทศกลางด้านบริการ ด้านบุคลากร และด้านการคลังสุขภาพ มีกลไกอย่างเป็นระบบในการผลิตและพัฒนาคนที่ทางานเกี่ยวข้องกับระบบเทคโนโลยี สารสนเทศสุขภาพ ทั้งระดับปฏิบัติการ นักวิจัย และระดับบริหารจัดการ ให้เพียงพอกับการ นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 40. เป้าหมายระยะกลาง 5 ปี มีกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยและความลับส่วนบุคคล ของข้อมูลสุขภาพ โดยพิจารณาประโยชน์ทั้งการป้องกันส่วนบุคคลและการเปิดเผยข้อมูลที่ จาเป็นเพื่อการรักษาพยาบาลที่ต่อเนื่อง ปลอดภัย มีคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมให้มีการนา ข้อมูลสุขภาพไปใช้ประโยชน์ต่อยอดในการบริหารงาน การวิจัยและพัฒนาทางการแพทย์ และสาธารณสุข โดยมีมาตรการป้องกันที่เหมาะสมในกรณีที่ต้องละเมิดความเป็นส่วนตัว ของบุคคล มีมาตรฐานข้อมูลสุขภาพในทุกมิติรวมถึงกลไกในการดูแลมาตรฐานเพื่อให้ระบบ สารสนเทศต่างๆ ทางานร่วมกันได้ (Interoperability) ให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ แบบไร้รอยต่อด้วยความปลอดภัยและเป็นประโยชน์กับการบริการสุขภาพ การบริหาร จัดการและงานวิจัยและพัฒนา
  • 42. Overview การปฏิรูปประเทศเรื่อง Health IT Intra-Hospital IT •Digital Health Records (Electronic Health Records) •Digital Transformation •AI, Data Analytics •Hospital IT Quality Improvement (HA-IT) Inter-Hospital IT •Hospital Information Exchange (HIE) Extra-Hospital IT •Personal Health Records (PHRs) Patient at Home
  • 43. ขั้นตอนการดาเนินการ 1. การพัฒนาระบบบันทึกสุขภาพดิจิทัล Digital Health Record (DHR) และ การ สนับสนุน Digital Transformation ของระบบบริการสุขภาพ 1.1 การพัฒนา DHR (1) การจัดทาแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาระบบบันทึกสุขภาพดิจิทัล (2) การลงทุนและพัฒนาระบบสาหรับจัดการ Provincial Health Information Exchange (3) การสนับสนุนการจ้างบุคลากรสารสนเทศสุขภาพ และนักวิเคราะห์ข้อมูล สุขภาพ หรือการจ้างเหมาหน่วยงานที่มีศักยภาพ (4) การจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม (Incentives) เป็นลาดับขั้น เพื่อสนับสนุนให้ เกิดระบบ DHR ให้ใช้ประโยชน์ได้จริง
  • 44. ปัญหา/ข้อจากัด ปัญหา/ข้อจากัด 1. ยังไม่มี Governance body ที่เห็นภาพรวมทั้ง Health System แผน แม่บทจึงไม่ครอบคลุม key stakeholders 2. การพัฒนา Provincial Health Information Exchange ต้องใช้ มาตรฐานข้อมูล ซึ่ง สธ. เน้นเฉพาะ 43 แฟ้มข้อมูล แต่มีอีกหลาย มาตรฐานที่ต้องจัดทาขึ้นอย่างเข้าใจ (มีความเป็นวิชาการ) และเป็นที่ ยอมรับทุกภาคส่วน 3. การพัฒนา Health Information Exchange นอกจากเรื่องมาตรฐาน ข้อมูลแล้ว ต้องมีการวางแผนออกแบบ Architecture ของระบบคู่กัน 4. การพัฒนา IT เพื่อตอบโจทย์ รพ. เอง (Digital Transformation) ซึ่ง เป็น Precondition ของ Health information Exchange ยังไม่เกิด
  • 45. ขั้นตอนการดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ ยังมีความเข้าใจเรื่อง Digital Health Records (DHRs) ไม่ตรงกัน และไม่ตรงกับแนวคิด ในทางวิชาการ ว่าหมายถึง Personal Health Records (PHRs) (ผู้ป่วยเข้าถึงข้อมูล ส่วนตัวของทุกโรงพยาบาลได้) หรือ Electronic Health Records (EHRs) (โรงพยาบาล เก็บข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์) หรือ Health Information Exchange (HIE) (โรงพยาบาลแลกเปลี่ยนข้อมูลกันเองได้) • เสนอปรับ Definition ให้รวม HIE & PHRs ให้ชัดเจน โดยเน้น HI E ก่อน PHRs ยังไม่ได้ดาเนินการ • ปรับไปรวมกับการจัดทาแผนแม่บท National Health IT Master Plan • ควรกาหนดเรื่องการศึกษาทบทวนและจัดทา Architecture ของระบบ DHR /HIE/PHRs และการจัดทาและประกาศมาตรฐานเพิ่มในแผน เนื่องจากเป็น เงื่อนไขสาคัญและ bottleneck ของการปฏิรูป โดยเขียนรวมกับข้อ 2 (6)
  • 46. ขั้นตอนการดาเนินการ ควรตัดออกหรือไม่ เนื่องจากควรเป็นส่วนหนึ่งของการ ขับเคลื่อนงานตามแผนแม่บท และไม่มีงบประมาณผูกพันจริง ควรตัดออกหรือไม่ เนื่องจากควรเป็นส่วนหนึ่งของการ ขับเคลื่อนงานตามแผนแม่บท และไม่มีงบประมาณผูกพันจริง ยังไม่ได้ดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ
  • 47. ขั้นตอนการดาเนินการ 1. การพัฒนาระบบบันทึกสุขภาพดิจิทัล Digital Health Record (DHR) และ การ สนับสนุน Digital Transformation ของระบบบริการสุขภาพ 1.2 การปรับระบบบริการสู่ระบบดิจิทัล (1) การจัดทาแผนแม่บทเพื่อการปรับระบบบริการเพื่อใช้ประโยชน์จากระบบ ดิจิทัลในการพัฒนากระบวนการบริการ (2) การพัฒนาแบบจาลองการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพสู่ระบบดิจิทัล และ ทดลองดาเนินการในสถานพยาบาลระดับต่างๆ (3) การขยายผลการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และโรงพยาบาลในสังกัด สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขระดับต่างๆ สู่ระบบดิจิทัลทั่วประเทศ
  • 48. ปัญหา/ข้อจากัด ปัญหา/ข้อจากัด 1. ยังไม่มี Governance body ที่เห็นภาพรวมทั้ง Health System แผน แม่บทจึงไม่ครอบคลุม key stakeholders 2. Digital Transformation เป็นเรื่องที่ context-dependent อย่างมาก จึงจาเป็นต้อง build capacity และ empower แต่ละ รพ. และแต่ละพื้นที่ ในการตัดสินใจ priorities และ how-to ของ Digital Transformation รวมทั้งอาจมีข้อจากัดในการขยายผลเพราะอาจไม่ generalizable 3. เงื่อนไขสาคัญของ Digital Transformation ของ รพ. คือ competent health IT vendors (as partners) และการมี competitive health IT ecosystem (แต่ยังไม่มี strategy เพื่อสร้าง ecosystem)
  • 49. ขั้นตอนการดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ • ปรับไปรวมกับการจัดทาแผนแม่บท National Health IT Master Plan ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรปรับ Timeline และเร่งรัดให้กลไกคณะทางานร่วมฯ และ คณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติจัดทาแผนแม่บทและขับเคลื่อน แต่ต้องคานึงถึงบริบทของแต่ละโรงพยาบาล/หน่วยงานด้วย • ควรเพิ่มเรื่อง Capacity Building ในระดับ รพ. (เช่น โครงการ HA-IT) ไปด้วย ยังไม่ถึงกาหนด ดาเนินการ
  • 50. ขั้นตอนการดาเนินการ 2. ระบบและองค์กรหลักเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปและการบูรณาการสารสนเทศสุขภาพ ของชาติ (1) การจัดตั้งและดาเนินการคณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติ (2) การกาหนดองค์กรหลักและดาเนินการสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปและ การพัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพของประเทศ (3) การจัดตั้งองค์การมหาชนทาหน้าที่ National Health Data Clearing House และทามาตรฐานส่วนที่เกี่ยวข้อง (4) การจัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติ National Health IT Master Plan (5) การปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบด้านสารสนเทศสุขภาพ และด้านอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง (6) การพัฒนามาตรฐานและจัดการมาตรฐานระบบข้อมูลบริการสาธารณสุขของ ประเทศ
  • 51. ขั้นตอนการดาเนินการ 2. ระบบและองค์กรหลักเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปและการบูรณาการสารสนเทศสุขภาพ ของชาติ (7) การบูรณาการสารสนเทศสุขภาพระดับประเทศ และส่งเสริมการนาไปใช้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะ (8) การพัฒนากาลังคนด้านสารสนเทศสุขภาพ - หลักสูตรและเนื้อหาด้านสาขาเวชสารสนเทศ (Medical Informatics) - บรรจุเนื้อหาสารสนเทศสุขภาพในหลักสูตรของสถาบันการศึกษาที่ผลิต บุคลากรวิชาชีพสุขภาพต่างๆ - สนับสนุนการอบรมระยะสั้นสาหรับบุคลากรระดับปฏิบัติการ (9) การพัฒนาฐานข้อมูลบุคลากรสุขภาพ และวิชาชีพสุขภาพ
  • 52. ปัญหา/ข้อจากัด ปัญหา/ข้อจากัด 1. ยังไม่เกิดการจัดตั้งคณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติ และการ กาหนดองค์กรหลัก เนื่องจาก คปสธ. เป็นผู้รับผิดชอบ (รอกลไกการหารือ ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น MRC) 2. แนวทางการจัดตั้ง National Data Clearing House ยังไม่มีความชัดเจน 3. Lack of political will ในการดาเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. ยังไม่มีหน่วยงานที่มี mission ด้านการสร้างมาตรฐาน ที่มีงบประมาณและ ผู้เชี่ยวชาญสนับสนุนเพียงพอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่เข้าใจแนวคิดเรื่อง มาตรฐานประเภทต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับ Health IT 5. การพัฒนา Health Information Exchange นอกจากเรื่องมาตรฐาน ข้อมูลแล้ว ต้องมีการวางแผนออกแบบ Architecture ของระบบคู่กัน
  • 53. ขั้นตอนการดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ • กระทรวงสาธารณสุขควรดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสารสนเทศ สุขภาพแห่งชาติโดยด่วน • องค์ประกอบของคณะกรรมการควรประกอบด้วย ควรพิจารณาว่ามี องค์ประกอบเหมาะสม โดยควรมีทั้ง policymakers ของกระทรวง, หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนี้ และนักวิชาการด้าน Health IT • ควรศึกษาและทบทวนรูปแบบการแต่งตั้งคณะกรรมการให้มีความยั่งยืน ขึ้น เช่น การกาหนดใน พรบ. หรือระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ยังไม่ได้กาหนดอย่างชัดเจน แต่ มีกลไกคณะทางานร่วมทางาน ด้วยกันอยู่แล้ว • ควรปรับแผนเป็นการศึกษา ทบทวน และหาข้อสรุปร่วมกันเรื่องบทบาท หน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ และข้อเสนอเรื่องการจัดตั้ง/ยุบรวม/บูรณา การการทางานของหน่วยงานต่างๆ โดยขับเคลื่อนผ่านคณะทางานร่วม ยังไม่ได้ดาเนินการ • รอความชัดเจนทางนโยบายและการขับเคลื่อนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ควรแก้ไขคาว่า องค์การมหาชน ให้ถูกต้อง ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรปรับแผนโดยเขียนเรื่องการจัดทาแผนแม่บทในส่วนต่างๆ รวมไป ด้วยกัน เพราะมีความสัมพันธ์และ dependency ต่อกัน โดยเป็นหน้าที่ ของคณะกรรมการสารสนเทศสุขภาพแห่งชาติและคณะทางานร่วม • ปรับ Timeline
  • 54. ขั้นตอนการดาเนินการ • ควรปรับแผนเป็นการศึกษา ทบทวน และหาข้อสรุปร่วมกันเรื่องการ ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ โดยขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการ สารสนเทศสุขภาพแห่งชาติและคณะทางานร่วม ยังไม่ได้ดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรกาหนดเรื่องการศึกษาทบทวนและจัดทา Architecture ของระบบ DHR /HIE/PHRs และการจัดทาและประกาศมาตรฐานในแผนให้ชัดเจน โดยเขียน รวมกับข้อ 1.1(2)ยังไม่ถึงกาหนด ดาเนินการ
  • 55. ขั้นตอนการดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรปรับแผนเป็นการศึกษา ทบทวน และหาข้อสรุปร่วมกันเรื่องการ พัฒนากาลังคนและหลักสูตร • เรื่องการบรรจุเนื้อหาไว้ในหลักสูตรของสถาบันการศึกษา ควรปรับเป็น การทางานร่วมกันกับสถาบันการศึกษาและสภาวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมการ บรรจุเนื้อหาในหลักสูตร และปรับผู้รับผิดชอบ • ควรเพิ่มเรื่องการส่งเสริม HRM & HRD ของบุคลากรด้าน Health Infor matics ในระบบราชการ โดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข โดย สธ ทางานร่วมกับสานักงาน ก.พ. ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรปรับ Timeline และแก้ไขข้อความเป็นเรื่องบุคลากรด้านสารสนเทศ สุขภาพ (ไม่ใช่บุคลากรของทั้งระบบสุขภาพ)
  • 56. ขั้นตอนการดาเนินการ 3. การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศสุขภาพ (1) การวิจัยและการพัฒนากลไก กระบวนการ และเครื่องมือ เพื่อการสนับสนุน Di gital Transformation (2) การวิจัยที่จะสนับสนุนขับเคลื่อนการปฏิรูปด้านสารสนเทศสุขภาพของประเทศ (3) การสารวจสุขภาพประชาชนและการเก็บตัวอย่างชีวภาพเพื่อสนับสนุนการทา National Biobank (4) การสนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากสารสนเทศสุขภาพในทุก ระดับ
  • 57. ปัญหา/ข้อจากัด ปัญหา/ข้อจากัด 1. หน่วยงานผู้ให้ทุนยังไม่ได้สนับสนุนงานด้าน Health IT 2. การร่วมกันจัดทาโจทย์วิจัยในสาขานี้ยังไม่ชัดเจน 3. นักวิจัยในสาขานี้และสาขาใกล้เคียงยังมีจานวนน้อย อาจไม่เพียงพอต่อ การสร้างองค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการปฏิรูปในระยะสั้น
  • 58. ขั้นตอนการดาเนินการ ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรหารือกับแหล่งทุนต่างๆ เพื่อกาหนดประเด็นวิจัยที่สนับสนุนเรื่อง เหล่านี้ โดยควรกาหนดผู้รับผิดชอบในฝั่งของ สธ. ด้วย • ควรทบทวน/เพิ่มเติมแหล่งทุนอื่นๆ เช่น สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ยังไม่ได้ดาเนินการ • ควรหารือกับแหล่งทุนต่างๆ เพื่อกาหนดประเด็นวิจัยที่สนับสนุนเรื่อง เหล่านี้ ยังไม่ได้ดาเนินการ • น่าจะเป็นงานประจา ไม่จาเป็นต้องใส่ในแผนการปฏิรูปประเทศยังไม่ถึงกาหนดดาเนินการ
  • 59. • ควรเร่ง establish interim governance body ด้าน Health IT โดยด่วน โดยภารกิจในช่วงแรกควรเน้นการ จัดทาแผนแม่บทด้าน Health IT ของประเทศ ที่ สอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข • ควรผลักดันการจัดตั้ง National Data Clearing House โดยเร็ว เพื่อให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่อง การพัฒนามาตรฐานข้อมูลที่เข้าใจโจทย์ดีพอ ข้อเสนอเพิ่มเติม
  • 60. • ระยะยาว ควรพิจารณาเสนอจัดตั้ง “สานักงานสารสนเทศสุขภาพ แห่งชาติ (สสสช.)” (National Health Information Office: NHIO) เป็นองค์การมหาชนที่ออกโดย พรบ. (หรือจัดตั้ง “สานัก สารสนเทศสุขภาพ” ภายใต้ NHPB) เพื่อให้มี Governance Body ที่มีอานาจหน้าที่ครอบคลุมทั้ง Health System และมีทรัพยากร ความเชี่ยวชาญ เพียงพอ เพื่อให้การจัดทาและขับเคลื่อนแผนแม่บท และการพัฒนา eHealth components ในด้านต่างๆ เดินหน้าได้ อย่างยั่งยืน โดยการตัดสินใจที่มีส่วนร่วมและมีผลผูกพันทุกภาคส่วน ภายใต้การทางานร่วมกันกับนักวิชาการด้านสารสนเทศสุขภาพ ข้อเสนอเพิ่มเติม
  • 61. Digital Health Transformation Nawanan Theera-Ampornpunt, M.D., Ph.D. www.SlideShare.net/Nawanan
  • 62. What words come to mind when you hear... Digital Health Transformation
  • 67. “Big data is like teenage sex: everyone talks about it, nobody really knows how to do it, everyone thinks everyone else is doing it, so everyone claims they are doing it...” -- Dan Ariely @danariely (2013) Substitute “Big data” with “AI”, “Blockchain”, “IoT” of your choice. -- Nawanan Theera-Ampornpunt (2018)
  • 68. Hype vs. Hope Jeremy Kemp via http://en.wikipedia.org/wiki/Hype_cycle http://www.gartner.com/technology/research/methodologies/hype-cycle.jsp
  • 69. Gartner Hype Cycle 2017 https://www.gartner.com/smarterwithgartner/top-trends-in-the-gartner-hype-cycle-for-emerging-technologies-2017/
  • 73. So What Exactly Is Smart Healthcare? Image Source: http://cdn2.hubspot.net/hub/134568/file-1208368053-jpg/6-blind-men-hans.jpg
  • 74. Why Aren’t We Talk About These Words? http://hcca-act.blogspot.com/2011/07/reflections-on-patient-centred-care.html
  • 75. The Goal of Health Care The answer is already obvious... “Health” “Care”
  • 76. • Safe • Timely • Effective • Patient-Centered • Efficient • Equitable Institute of Medicine, Committee on Quality of Health Care in America. Crossing the quality chasm: a new health system for the 21st century. Washington, DC: National Academy Press; 2001. 337 p. High Quality Care
  • 79. Hospital A Hospital B Clinic D Policymakers Patient at Home Hospital C HIE Platform Health Information Exchange (HIE)
  • 80. My Life-Long Dream... My Life-Long Dream...
  • 81. Areas of Health Informatics Patients & Consumers Providers & Patients Healthcare Managers, Policy- Makers, Payers, Epidemiologists, Researchers Copyright  Nawanan Theera-Ampornpunt (2018) Clinical Informatics Public Health Informatics Consumer Health Informatics
  • 82. Incarnations of Health IT Clinical Informatics Public Health Informatics Consumer Health Informatics HIS/CIS EHRs Computerized Physician Order Entry (CPOE) Clinical Decision Support Systems (CDS) (including AI) Closed Loop Medication PACS/RIS LIS Nursing Apps Disease Surveillance (Active/Passive) Business Intelligence & Dashboards Telemedicine Real-time Syndromic Surveillance mHealth for Public Health Workers & Volunteers PHRs Health Information Exchange (HIE) eReferral mHealth for Consumers Wearable Devices Social Media Copyright  Nawanan Theera-Ampornpunt (2018)
  • 83. Where We Are Today... Copyright  Nawanan Theera-Ampornpunt (2018) Clinical Informatics Public Health Informatics Consumer Health Informatics Technology that focuses on the sick, not the healthy Silos of data within hospitalPoor/unstructured data quality Lack of health data outside hospital Poor data integration across hospitals/clinics Poor data integration for monitoring & evaluation Poor data quality (GIGO) Finance leads clinical outcomes Poor IT change management Cybersecurity & privacy risks Few real examples of precision medicine Little access to own health data Poor patient engagement Poor accuracy of wearables Lack of evidence for health values Health literacy Information  Behavioral change Few standards Lack of health IT governance
  • 85. WHO & ITU Achieving Health Information Exchange (HIE)
  • 87. • Nothing is certain in medicine & health care • Large variations exist in patient presentations, clinical course, underlying genetic codes, patient & provider behaviors, biological responses & social contexts • Human is good at pattern recognition, while machine is good at logic & computations. • Diagnosis is often achieved through recognizing clinical patterns • Not everything can be digitized or digitally acquired • Not everything digitized is accurate (“Garbage In, Garbage Out”) • Experience, context & human touch matters Why Clinical Judgment Is Still Necessary?
  • 88. Standard view ▪ With uncertainties around new technology, “scientific evidence counsels caution and prudence.” ▪ Evidence & reason determine appropriate level of caution ▪ If such systems improve care at acceptable cost in time & money, there’s an obligation to use it ▪ Follows evolving evidence and standards of care Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes. In Shortliffe (3rd Edition). Appropriate Use of Health IT
  • 89. Standard view ▪ For computer-assisted clinical diagnosis CDS, human cognitive processes are more suited to complex task of diagnosis than machine, and should not be overridden or trumped by computers. ▪ When adequate CDS tools are developed, they should be viewed and used as supplementary and subservient to human clinical judgment Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes. In Shortliffe (3rd Edition). Appropriate Use of Health IT
  • 90. Fundamental Theorem of Informatics (Friedman, 2009)
  • 91. Standard view ▪ Practitioners have obligation to use tools responsibly, through adequate training & understanding the system’s abilities & limitations ▪ Practitioners must not ignore their clinical judgment reflexively when using CDS. Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes. In Shortliffe (3rd Edition). Appropriate Use of Health IT
  • 92. ▪ Health IT “should be used in clinical practice only after appropriate evaluation of its efficacy and the documentation that it performs its intended task at an acceptable cost in time & money” ▪ Qualified (licensed, trained & experienced) health professionals as users ▪ Systems should be used to augment/supplement, rather than replace or supplant individuals’ decision making ▪ Adequate training Goodman & Miller. Chapter 10: Ethics and Health Informatics: Users, Standards, and Outcomes. In Shortliffe (3rd Edition). Appropriate Use of Health IT
  • 93. • A defense doctrine used in the U.S. legal system (and some other countries) which states that “a manufacturer of a product has fulfilled his duty of care when he provides all of the necessary information to a ‘learned intermediary’ who then interacts with the consumer of a product.” (Wikipedia) • Primarily used by pharmaceutical & medical device manufacturers in defense of tort lawsuits. Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Learned_intermediary Learned Intermediary Doctrine
  • 94. • Because health IT developers can’t expect a CDS advice (e.g., alerts & reminders) to be 100% appropriate for each individual patient, clinical judgment is still necessary. • Health IT developers & manufacturers are protected from liabilities for poor/inappropriate advices or for bad outcomes associated with them, as long as there is a clinician using it that can intervene • What about software bugs (e.g. wrong dose calculations)? Learned Intermediary Doctrine
  • 95. 95 My Plea... Less Fancy Roofs More Enabling Foundations