SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ

              ทัศวิญา พัดเกาะ
   สาขาวิชากายภาพบาบัด สานักสหเวชศาสตร์
          มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา         1
วัตถุประสงค์
• ทราบโครงสร้างกระทรวงสาธารสุข
• ทราบความหมาย ประวัติ และขอบเขตของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
• ทราบความหมาย องค์ประกอบ และหน้าที่ของวิชาชีพสาธารณสุข (หมอ
  อนามัย)
• ทราบความต้องการของประชาชนต่อระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ




                                                          2
โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข


                            3
กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Pubic Health)
     กระทรวงสาธารณสุข มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริม
 สุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟืนฟู้
 สมรรถภาพของประชาชนและราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย
 กาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วน
 ราชการทีสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
         ่


                                               ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข



                                                                 4
ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข มีกลุ่มภารกิจรวม 3 กลุ่ม (Cluster) ดังนี้
1. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ (Cluster of Medical Services
   Development)
2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข (Cluster of Pubic
   Health Development)
3. กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุนงานบริการสุขภาพ (Cluster of Pubic
   Health Services Support)
   * สานักงานปลัดกระทรวง (Permanent Secretary)

                                                                        5
                                              ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
1. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์
ภารกิจ : พัฒนาวิชาการด้านการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
กระบวนทัศน์ :
  การศึกษา วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี
  การบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ
  การจัดระบบความรู้และสร้างมาตรฐานการแพทย์แผนไทยและ
  การแพทย์ทางเลือก
       เพื่อนาไปใช้ในระบบบริการสุขภาพ ซึงจะส่งผลให้ประชาชน
                                        ่
  มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
                                                                   6
                                         ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข
ภารกิจ : พัฒนาวิชาการด้านส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและ
  ป้องกันโรค
กระบวนทัศน์ :
  การศึกษา วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรูและเทคโนโลยี
                                           ้
  การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค เพื่อนาไปใช้ใน
  ระบบบริการสุขภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง
  สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
                                                ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข



                                                                  7
3. กลุ่มภารกิจด้านการสนับสนุนงานบริการสุขภาพ

ภารกิจ : สนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยบริการสุขภาพ
กระบวนทัศน์ :
  การพัฒนาระบบและกลไกที่เอื้อต่อการจัดบริการสุขภาพระบบ
  สุขภาพภาคประชาชน
  การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพและด้านผลิตภัณฑ์
  สุขภาพ
       เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองและได้รับบริการจาก
  หน่วยบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
                                                                    8
                                          ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
*สานักงานปลัดกระทรวง
ภารกิจ :
  พัฒนานโยบายและแผนด้านสุขภาพ
  บริหารจัดการด้านแผนงาน คน และงบประมาณของกระทรวง
  กากับดูแลและประสานงานสาธารณสุขในพื้นที่
  พัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ
  ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ
  พัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ
  พัฒนางานสาธารณสุขระหว่างประเทศ              ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข



                                                                  9
*หน่วยงานที่ไม่ได้อยู่ภายใต้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
องค์การมหาชน               หน่วยงานในกากับ               รัฐวิสาหกิจ
     สถานบริการสุขภาพ           สถาบันวิจัยสาธารณสุข     องค์การเภสัชกรรม

                              สานักงานหลักประกันสุขภาพ
  สถาบันการแพทย์เฉพาะทาง
                                      แห่งชาติ
   สานักงานจัดระบบบริการ
                               สถาบันพระบรมราชชนก
   การแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ)
   สถาบันพัฒนาและรับรอง        สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์
     คุณภาพโรงพยาบาล                สาธารณสุข
                              สานักงานสนับสนุนการสร้าง
                                  เสริมสุขภาพ (สสส)                         10
โครงสร้างของกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกลาง




                                         11
12
โครงสร้างของหน่วยงานในส่วนภูมิภาค




                                    13
14
15
16
ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
(PRIMARY HEALTH CARE SYSTEM)



                               17
ทาไมต้องปฏิรูประบบสุขภาพที่เน้นระบบปฐมภูมิมากขึ้น?
1). เน้นการตังรับเพื่อซ่อมสุขภาพเสีย มากกว่าสร้าง
             ้
2). ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพแพงมากแต่ได้ผลต่า ประสิทธิภาพต่า
  (2.5 แสนล้านต่อปี เพิมปีละ 10 %)
                       ่
3). คนไทยป่วยและตายโดยไม่จาเป็นเป็นจานวนมาก
4). ระบบบริการสุขภาพมีปัญหา มีคณภาพลึกแคบ เข้าถึงยาก
                               ุ
5). คนไทยเกือบ 20 ล้านคนขาดหลักประกันสุขภาพ
6). ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย
                                              นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
                                                                          18
19
Bio-medical   Bio-Psycho-Social




                                  20
21
22
23
ระบบการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ
                                                       Technical Quality
Social Quality
                                                       Specialized Care
Simple treatment                Hospital               Referral Center
Health Promotion
                             Primary Care

                     ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง
  1.คุณภาพบริการ 2. ไม่ซ้าซ้อน 3. มีระบบส่งต่อทั้งข้อมูลข่าวสารและผู้ป่วย
                                                                           24
แนวคิด / กระบวนทัศน์


     นโยบาย

ระบบ      กาลังคน
บริการ

                       25
การเปลี่ยนแปลงของระบบบริการ

 1๐ 2๐ 3๐ รพศ./         รพศ./   3 ๐
         รพท.           รพท.
1๐ 2๐     รพช.          รพช.          2๐

1๐                                          1๐
          สอ.           ศสช.
                                       26
สอ.             รพ.
หมอพูด          หมอยา          ศูนย์สุขภาพชุมชน

ที่ไม่มียา   ที่ไม่มีเวลาพูด   หมอยา + หมอพูด
                               ดูแลทั้งครอบครัว

                                                  27
World Health Organization, 1978
     Primary health care (การสาธารณสุขมูลฐาน) was defined as
follow: “Essential health care based on
practical, scientifically sound and socially acceptable
methods and technology made universally accessible to
individuals and families in the community by means
acceptable to them and at a cost that the community and
the country can afford to maintain at every stage of their
development in a spirit of self-reliance and self-
determination. It forms an integral part of both the
country’s health system of which it is the central function
and the main focus of the overall social and economic
development of the community. It the 1st level of contact
of individuals, the family and the community with the
national health system, bringing health care as close as
possible to where people live with work and constitutes
the first element of a continuing health care process. 28
นิยามของบริการปฐมภูมิ
      การให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ที่ประยุกต์
ความรู้อย่างผสมผสานทั้งทางด้านการแพทย์ จิตวิทยา และสังคม
เพื่อให้บริการทั้งที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ
รักษาโรค และการฟื้นฟูสภาพ เป็นบริการที่ดูแลประชาชนอย่าง
ต่อเนื่อง ให้แก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน ด้วยแนวคิดแบบองค์
รวม โดยมีระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลอย่าง
เหมาะสม รวมทั้งสามารถประสานกับองค์กรชุมชนในท้องถิ่น
เพื่อพัฒนาความรู้ของประชาชนในการดูแลได้ในยามเจ็บป่วย
รวมถึงส่งเสริมสุขภาพของตนเองเพื่อให้บรรลุสู่การมีสุขภาพที่ดี
ได้ต่อไป                     ที่มา: สานักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ (Health care reform office)


                                                                                             29
ความสัมพันธ์ระหว่างการสาธารณสุขมูลฐาน บริการปฐมภูมิ และเวชศาสตร์ครอบครัว




                                                                           30
ที่มา: สานักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ (Health care reform office)
ความสาคัญของระบบบริการปฐมภูมิ
                        *ทาให้เพิ่ม*
• Equity   เท่าเทียม เข้าถึงได้
           (ภูมิศาสตร์ สังคมจิตวิทยา เศรษฐกิจ)
• Quality คุณภาพด้านเทคนิค (มาตรฐานทางวิชาชีพ)
           คุณภาพด้านสังคม (ผสมผสาน เป็นองค์รวม ต่อเนื่อง)
• Efficiency       ประสิทธิภาพ (คุ้มทุน คุมค่า)
                                          ้
• Social Accountability           สนองความต้องการของประชาชน
                                  ประชาชนมีบทบาทและสามารถ
                                  ตรวจสอบได้
แก่นสาคัญของระบบปฐมภูมิ
•   การดูแลแบบองค์รวม ต่อเนื่อง
•   ตอบสนองปัญหาที่พบบ่อย ปัญหาพืนที่
                                   ้
•   เป็นหน่วยประสานเชื่อมโยง
•   เพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองของประชาชน

               เข้าถึง เข้าใจ ใส่ใจ ใกล้ชิด

                                              32
บทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ
•   ร่วมรับผิดชอบสุขภาพของประชาชน ชุมชน อย่างต่อเนื่อง
•   ดูแลผสมผสาน การรักษา ส่งเสริม ป้องกัน และฟืนฟู
                                               ้
•   ให้คาปรึกษา ให้ขอมูลพื้นฐาน
                    ้
•   ส่งต่อ ประสานงาน เชื่อมโยง

                    ขอบเขตการดูแล
• ระดับบุคคล ครอบครัว
• ระดับกลุ่มประชากร
• เสริมการเรียนรู้ของชุมชนในด้านสุขภาพ
                                                         33
34
บริการโดยตรง/ประสาน                                ชุมชน
หน่วยบริการ                                  Individual
  ปฐมภูมิ                                                 ครอบครัว
                    Facilitate                 Health


                                        Community
                                       Empowerment     Community
                                                      Development




                                       พัฒนาสภาพแวดล้อม
   องค์กรอื่นๆ
      สธ. ฯ                                และชุมชน
                   Social
                  movement



   บทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ                                          35
หน่วยบริการปฐมภูมิ
• เป็นหน่วยบริการผสมผสาน
   (รักษา + ส่งเสริม + ป้องกัน + ฟื้นฟู)
• มิใช่หน่วย Extended OPD
  เน้นการสร้างเสริมสุขภาพควบคู่กับการรักษา
• มีความเป็นกันเอง รู้จักประจา ทีมประจา
  ต่อเนื่อง
หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ
• เป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของ
  ประชาชน อย่างต่อเนื่อง- รู้สภาวะสุขภาพ หามาตรการ
  สร้างเสริมสุขภาพ
• เป็นที่ปรึกษาของประชาชนในด้านการดูแลสุขภาพ
• ให้บริการพื้นฐานที่จาเป็นแก่ประชาชนทุกกลุ่มอายุ และ
  บริการทั้งที่เป็นการรักษาพยาบาล การส่งเสริมฯ การ
  ป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ
• ติดตาม ประสาน การให้บริการประเภทต่างๆ เพื่อให้เกิด
  บริการทีบูรณาการ ต่อเนื่อง
           ่
ลักษณะวิธีทางาน
• ให้บริการโดยตรง
• ประสาน เชือมโยงบริการ
               ่
• กระตุ้น เอื้ออานวย สนับสนุนให้มีการพัฒนาสุขภาพโดยชุมชน
  และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง




                                                           38
Goal




       39
หน่วยบริการของรัฐระดับปฐมภูมิ
       สถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน
             โรงพยาบาลชุมชน
 นิยามของศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.)
• เป็นหน่วยรับผิดชอบสุขภาพของประชาชนแบบ ผสมผสาน เป็น
  องค์รวม และต่อเนื่อง เน้นที่ผลลัพธ์ของงาน คือ ใกล้บ้าน ใกล้ใจ
  และสร้างสุขภาพ
• ให้ ทุก สอ.ทาหน้าที่เป็น ศสช. ในการดูแลประชากร อาจน้อยกว่า
  10,000 คน แต่ไม่ควรมากกว่า
• แต่ในการจัดสรรทรัพยากร ให้คานึงถึงการกระจายของ
  ทรัพยากร(คน เงิน ของ) โดยใช้ประชากร 10,000 คนเป็นฐาน        40
ประวัติ ศสช.
2456:   โอสถสภา
2475:   สุขศาลา
              - ชั้นที่ 1  มีแพทย์
              - ชั้นที่ 2  ไม่มแพทย์
                                ี
2485:   สถาปนา “กระทรวงสาธารณสุข”
2495:   สุขศาลาชันที่ 2 เป็น “อนามัยชั้น 2”
                 ้
2515:   สถานีอนามัย
∴ศูนย์สุขภาพชุมชน
สถานบริการด่านหน้า
ใกล้ชิดและผูกพันกับประชาชน
จานวน 9,762 แห่ง ครอบคลุม 100% ทุกตาบล
ดูแลสุขภาพประชาชนชนบท ราว 60.3 ล้านคน
มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประมาณ 30,000 คน
43
PCU 4 มุมมอง
มุมมองที่ 1 PCU 4 แบบ
แบบ 1   ตั้งในโรงพยาบาล
        (คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว = PCU)
แบบ 2    ตั้งในเขตเมือง
        (ศูนย์สาธารณสุขเทศบาล,ศูนย์แพทย์ชุมชน
         = ศพช. = PCU)
แบบ 3    ตั้งในเขตชนบท
        (พัฒนาจากสถานีอนามัยเป็น PCU)
แบบ 4    ที่ทุรกันดารห่างไกล = Mobile PCU
                                 นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
PCU 4 มุมมอง

     มุมมองที่ 2
     Main PCU

Sub PCU     Sub PCU

                   นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
PCU 4 มุมมอง

             มุมมองที่ 3
PCU ที่มีแพทย์ (อย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์)
PCU ที่มีพยาบาลประจา
PCU ที่มีเจ้าหน้าที่ สอ.
มุมมองที่ 4
ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 1

    • มีเจ้าของครอบครัว
    • มี Family Folder 50 %
    • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม
      2 วัน ( Basic Program )
ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 2

     • มีเจ้าของครอบครัว เจ้าของคนไข้
     • มี Family Folder 100 %
     • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2+4 วัน
       ( Basic Program + ชุมชน +
       Counseling )
ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 3
      • มี Family Folder 100
        %
      • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม
        2+4 วัน + 9 สัปดาห์
      • ผู้ป่วยในเขตมารับบริการ
        > 70 %
ความแตกต่างระหว่าง OPD รพ. และ ศสช.

              รพ.                         ศสช.
•   รู้จักกันเฉพาะในห้องตรวจ   • รู้จักกันทั้งครอบครัว
•   รักษาโรค                   • รักษาคน
•   ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย      • ประชาชนมีส่วนร่วมมาก
                               • มีขอบเขตรับผิดชอบ
•   ไม่มีขอบเขตรับผิดชอบ         ชัดเจน
•   Ward คือ หอผู้ป่วย         • บ้านคือหอผู้ป่วย
•   โรงซ่อมสุขภาพ              • โรงสร้างสุขภาพ
กระบวนการหลักของหนวยบริ การปฐมภูมิ (PCU)
 บริการในชุมชน           บริการใน PCU           บริการตอเนื่อง
1. สํารวจครอบครัว       2. ทะเบียน/คั ดกรอง

 8. กิจกรรม ชุ มชน         3. บริการหลัก          4. Counseling

     9. บริหาร         5. บริการกอนกลับ บาน   6. สงตอ/เยี่ยมบาน

10. นิเทศ/ประเมิ นผล    7. ประชุม วางแผน
                           กิจ กรรมตอเนื่อง
1. การสารวจครอบครัวและชุมชน
       • 1. สร้างสัมพันธภาพ
       • 2. รู้จักและเข้าใจสภาพวิถีชีวิต
       • 3. ประเมินสภาพปัญหาและความ
         ต้องการในการบริการ
                                           ด้อย
       ปกติ       เสี่ยง     ป่วย /พิการ
                                           โอกาส

       ส่งเสริม   ส่งเสริม      รักษา      ดูแลทาง
                  ป้องกัน       ฟื้นฟู     สังคม
2. การลงทะเบียน / การคัดกรอง
               • การจัดเตรียมเอกสารและ
                 ข้อมูลเพื่อช่วยให้เกิดการดูแล
                 อย่าง ผสมผสาน เป็นองค์
                 รวม ต่อเนื่อง
               • การค้นหาความคาดหวังของผู้
                 มารับบริการ
               • การประเมินปัญหาด้าน Bio-
                 Psycho-Social
               • การคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง
               • การให้คาแนะนาเบื้องต้น
3. บริการหลัก
ตรวจรักษา / ส่งเสริมป้องกัน / ทันตกรรม / ER / ชันสูตร

                    ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ
                           และสิทธิประโยชน์
4. การให้คาปรึกษา
• ให้ผู้รับบริการได้เปิดเผย
  ความรู้สึกและค้นหาและ
  เข้าใจปัญหาของตนเอง
• ให้ผู้รับบริการใช้
  ศักยภาพของตนเองเพื่อ
  ใช้แก้ไขปัญหาและ
  ปรับตัวให้เหมาะสม
5. บริการก่อนกลับบ้าน (Exit Care)
                 • ตรวจสอบความเข้าใจใน
                   การมารับบริการและการ
                   ตอบสนองต่อความ
                   คาดหวัง
                 • จ่ายยา / เก็บเงิน
                 • นัดหมายเพือรับบริการ
                               ่
                   ต่อเนื่อง (เยี่ยมบ้าน ส่ง
                   ต่อ นัดมารับบริการ
                   ต่อเนื่อง)
6. การส่งต่อ/การเยี่ยมบ้าน                   การเยี่ยมบ้าน
                                     • เพื่อรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ
                                       และครอบครัว
           การส่งต่อ
                                     • เพื่อค้นหาศักยภาพของ
• ประสานงานสถานบริการระดับสูง          ครอบครัวและเครือข่ายทาง
• มีจุดเชื่อมต่อชัดเจน                 สังคม นามาเสริมสร้าง Self
• มีระบบตอบกลับ                        Care
• ถ้าผู้ป่วย Admit ต้องไปเยี่ยมที่
  รพ.
• ถ้าผู้ป่วยไม่ไปตามการส่งต่อ ต้อง
  ไปเยี่ยมบ้านเพื่อหาสาเหตุ
7. ประชุมวางแผนงานและกิจกรรมต่อเนื่อง
                   ข้อมูลนาเข้าในการประชุม
                   1. ทบทวนพันธกิจ วิสัยทัศน์
                   2. ผลการให้บริการ (ขาดนัด Refer เยี่ยม
                       บ้าน)
                   3. การเฝ้าระวังโรค/ปัญหาสุขภาพ
                   4. พฤติกรรมเสียง / ปัจจัยเสี่ยง
                                  ่
       P           5. Feed Back จากผู้รับบริการ
                   6. ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน
A           D      7. ปัญหา อุปสรรค / ผลการแก้ปัญหาที่ผ่าน
                       มา
       C
8. กิจกรรมชุมชน
  • กิจกรรมบริการในชุมชน ได้แก่ การคัด
    กรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยง การ
    สอบสวนโรค การป้องกันควบคุมโรค
    การสุขาภิบาล การรณรงค์ต่างๆ
  • การแสวงหาการมีส่วนร่วมจากชุมชนและ
    องค์กรปกครองท้องถิ่น อสม. กสค.
    อสร. อสว. ประชาคมสร้างเสริมสุขภาพ
  • สนับสนุนบทบาทของชุมชนในการ
    ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมประเมินผล ร่วม
    เรียนรู้
หมออนามัย คือ...?
                         ร้อยละ


                  4.71
                             26.9


                                    ประกาศนียบัตร
           71.8                     ปริญญาตรี
                                    ปริญญาโท




                                                60
วิชาชีพสาขาต่างๆ ทางสาธารณสุข
                                       เทคนิค
                                      การแพทย์
                           เภสัชกร               กายภาพบาบัด


             ทันตแพทย์                                         พยาบาล



                                       วิชาชีพ                   สาธารณสุข
          แพทย์
                                     สาธารณสุข                     ชุมชน


                                                                             61
ที่มา: สมาคมหมออนามัย
องค์ประกอบวิชาชีพการสาธารณสุข




                                62
วิชาชีพสาธารณสุข
            • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาด้านการดูแลสุขภาพอนามัย
 ป้องกัน
            • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาด้านการปรับปรุงอนามัยสิ่งแวดล้อม
   โรค
            • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
 ส่งเสริม
            • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย
 สุขภาพ
         • การรักษาพยาบาล (ระเบียบ ก. ๒๕๑๘): การรักษาพยาบาลเบื้องต้น สูติกรรม ทันตกรรม เภสัช
รักษาพยา
           กรรม
   บาล
            • การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย
 ควบคุม     • สอบสวนควบคุมโรค
  ฟื้นฟู
            • ควบคุมพาหะนาโรค
 สภาพ
                                                                                      63
ความต้องการของประชาชนต่อ
 ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ


                       64
ความต้องการสถานบริการของประชาชน

   สอ


 รพศ


 รพช


คลินิก


         0        1      2                   3   4   5
                          ค่าเฉลี่ยความต้องการ


                                                     65
ความต้องการสถานบริการของประชาชน




                                  66
ความต้องการบริการที่สถานีอนามัย
94
        92.5
92
90
88
                     86.5
86
84                               83.5

82                                            81.5

80
78
76
     รักษาพยาบาล   ควบคุมโรค   ป้องกันโรค   ฟื้นฟูสภาพ

                                                         67
ความต้องการด้านสุขภาพของประชาชน
                4.87   4.87
4.87
4.86
4.85                          4.84
4.84
4.83     4.82
4.82                                 4.81
4.81
 4.8
4.79
4.78




                                            68
ความต้องการกาลังคนด้านสาธารณสุข
                              ร้อยละ

เทคนิคการแพทย์    10.5

  กายภาพบาบัด      13

       เภสัชกร           23

     ทันตแพทย์                26.5

      พยาบาล                   28

        แพทย์                          42.5

    หมออนามัย                                 76.5


                                                 69
เอกสารอ้างอิง
ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, ชาย โพธิสิตา, กฤตยา อาชวนิจกุล, อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, กุล
     วีย์ ศิริรัตน์มงคล, ปาณฉัตร เสียงดัง, สุภรต์ จรัสสิทธิ์. สุขภาพคนไทย 2552. พิมพ์
     ครั้งที่ 1. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552.
สุพัตรา ศรีวณิชชากร, สุรศักดิ์ อธิคมานนท์, ทัศนีย์ สุรกิจโกศล, ณัฐพร สุขพอดี. บริการ
     ปฐมภูมิ: บริการสุขภาพใกล้ใจและใกล้บ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี; สานักงาน
     โครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข, 2545.
อาพล จินดาวัฒนะ, สุรเกียรติ อาชานุภาพ, สุรณี พิพัฒน์โรจนกมล. การสร้างเสริม
     สุขภาพ: แนวคิด หลักการ และบทเรียนของไทย (Health Promotion in
     Thailand). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน; 2550.
รุจิรา มังคละศิริ. เอกสารประกอบการบรรยายระบบปฐมภูมิ. สานักงานสาธารณสุข
     จังหวัดนครราชสีมา
สุพัตรา ศรีวณิชชากร. เอกสารประกอบการบรรยายการพัฒนาระบบปฐมภูมิ.
     สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สานักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐม
     ภูมิ กระทรวงสาธารณสุข. 2551.
กระทรวงสาธารณสุข. ผลการดาเนินงานปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสร้าง
     กระทรวงสาธารณสุข ประจาเดือนกันยายน 2545.
สมาคมหมออนามัย: http://www.mohanamai.com/                                          70
71

More Related Content

What's hot

การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอUtai Sukviwatsirikul
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10Dr.Suradet Chawadet
 
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...กันย์ สมรักษ์
 
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Chuchai Sornchumni
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...Dr.Suradet Chawadet
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3Auamporn Junthong
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 

What's hot (20)

การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
 
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย...
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 

Similar to Primary Health Care System_Padkao T

ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5Chuchai Sornchumni
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Primary Health Care System_Padkao T (20)

ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
G health system.pdf
G health system.pdfG health system.pdf
G health system.pdf
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Access&quality of care
Access&quality of careAccess&quality of care
Access&quality of care
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Functions of Health Systems
Functions of Health SystemsFunctions of Health Systems
Functions of Health Systems
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
กองทุนต.เหล่าโพนค้อ
กองทุนต.เหล่าโพนค้อกองทุนต.เหล่าโพนค้อ
กองทุนต.เหล่าโพนค้อ
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 

More from School of Allied Health Science of NPU (10)

Pulmonary diseases (payao uni)
Pulmonary diseases (payao uni)Pulmonary diseases (payao uni)
Pulmonary diseases (payao uni)
 
Pulmonay Surgery_Padkao T
Pulmonay Surgery_Padkao TPulmonay Surgery_Padkao T
Pulmonay Surgery_Padkao T
 
Cardiac surgeries_Padkao T
Cardiac surgeries_Padkao TCardiac surgeries_Padkao T
Cardiac surgeries_Padkao T
 
Pulmonary function test
Pulmonary function testPulmonary function test
Pulmonary function test
 
Cxr example and test 2010
Cxr example and test 2010Cxr example and test 2010
Cxr example and test 2010
 
Cxr for pt 2010
Cxr for pt 2010Cxr for pt 2010
Cxr for pt 2010
 
Endurance exercise_Padkao T
Endurance exercise_Padkao TEndurance exercise_Padkao T
Endurance exercise_Padkao T
 
Exercise Stress Testing_Padkao T
Exercise Stress Testing_Padkao TExercise Stress Testing_Padkao T
Exercise Stress Testing_Padkao T
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao TPsychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
 

Primary Health Care System_Padkao T

  • 1. ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ทัศวิญา พัดเกาะ สาขาวิชากายภาพบาบัด สานักสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา 1
  • 2. วัตถุประสงค์ • ทราบโครงสร้างกระทรวงสาธารสุข • ทราบความหมาย ประวัติ และขอบเขตของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ • ทราบความหมาย องค์ประกอบ และหน้าที่ของวิชาชีพสาธารณสุข (หมอ อนามัย) • ทราบความต้องการของประชาชนต่อระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 2
  • 4. กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Pubic Health) กระทรวงสาธารณสุข มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริม สุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟืนฟู้ สมรรถภาพของประชาชนและราชการอื่นตามที่มีกฎหมาย กาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วน ราชการทีสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ่ ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข 4
  • 5. ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข มีกลุ่มภารกิจรวม 3 กลุ่ม (Cluster) ดังนี้ 1. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ (Cluster of Medical Services Development) 2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข (Cluster of Pubic Health Development) 3. กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุนงานบริการสุขภาพ (Cluster of Pubic Health Services Support) * สานักงานปลัดกระทรวง (Permanent Secretary) 5 ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
  • 6. 1. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ ภารกิจ : พัฒนาวิชาการด้านการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ กระบวนทัศน์ : การศึกษา วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี การบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ การจัดระบบความรู้และสร้างมาตรฐานการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก เพื่อนาไปใช้ในระบบบริการสุขภาพ ซึงจะส่งผลให้ประชาชน ่ มีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ 6 ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
  • 7. 2. กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการสาธารณสุข ภารกิจ : พัฒนาวิชาการด้านส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและ ป้องกันโรค กระบวนทัศน์ : การศึกษา วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรูและเทคโนโลยี ้ การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค เพื่อนาไปใช้ใน ระบบบริการสุขภาพ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข 7
  • 8. 3. กลุ่มภารกิจด้านการสนับสนุนงานบริการสุขภาพ ภารกิจ : สนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยบริการสุขภาพ กระบวนทัศน์ : การพัฒนาระบบและกลไกที่เอื้อต่อการจัดบริการสุขภาพระบบ สุขภาพภาคประชาชน การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพและด้านผลิตภัณฑ์ สุขภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองและได้รับบริการจาก หน่วยบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 8 ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข
  • 9. *สานักงานปลัดกระทรวง ภารกิจ : พัฒนานโยบายและแผนด้านสุขภาพ บริหารจัดการด้านแผนงาน คน และงบประมาณของกระทรวง กากับดูแลและประสานงานสาธารณสุขในพื้นที่ พัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ ผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ พัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ พัฒนางานสาธารณสุขระหว่างประเทศ ที่มา: กระทรวงสาธารณสุข 9
  • 10. *หน่วยงานที่ไม่ได้อยู่ภายใต้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง องค์การมหาชน หน่วยงานในกากับ รัฐวิสาหกิจ สถานบริการสุขภาพ สถาบันวิจัยสาธารณสุข องค์การเภสัชกรรม สานักงานหลักประกันสุขภาพ สถาบันการแพทย์เฉพาะทาง แห่งชาติ สานักงานจัดระบบบริการ สถาบันพระบรมราชชนก การแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ) สถาบันพัฒนาและรับรอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ คุณภาพโรงพยาบาล สาธารณสุข สานักงานสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส) 10
  • 12. 12
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 18. ทาไมต้องปฏิรูประบบสุขภาพที่เน้นระบบปฐมภูมิมากขึ้น? 1). เน้นการตังรับเพื่อซ่อมสุขภาพเสีย มากกว่าสร้าง ้ 2). ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพแพงมากแต่ได้ผลต่า ประสิทธิภาพต่า (2.5 แสนล้านต่อปี เพิมปีละ 10 %) ่ 3). คนไทยป่วยและตายโดยไม่จาเป็นเป็นจานวนมาก 4). ระบบบริการสุขภาพมีปัญหา มีคณภาพลึกแคบ เข้าถึงยาก ุ 5). คนไทยเกือบ 20 ล้านคนขาดหลักประกันสุขภาพ 6). ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 18
  • 19. 19
  • 20. Bio-medical Bio-Psycho-Social 20
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. ระบบการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ Technical Quality Social Quality Specialized Care Simple treatment Hospital Referral Center Health Promotion Primary Care ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง 1.คุณภาพบริการ 2. ไม่ซ้าซ้อน 3. มีระบบส่งต่อทั้งข้อมูลข่าวสารและผู้ป่วย 24
  • 25. แนวคิด / กระบวนทัศน์ นโยบาย ระบบ กาลังคน บริการ 25
  • 26. การเปลี่ยนแปลงของระบบบริการ 1๐ 2๐ 3๐ รพศ./ รพศ./ 3 ๐ รพท. รพท. 1๐ 2๐ รพช. รพช. 2๐ 1๐ 1๐ สอ. ศสช. 26
  • 27. สอ. รพ. หมอพูด หมอยา ศูนย์สุขภาพชุมชน ที่ไม่มียา ที่ไม่มีเวลาพูด หมอยา + หมอพูด ดูแลทั้งครอบครัว 27
  • 28. World Health Organization, 1978 Primary health care (การสาธารณสุขมูลฐาน) was defined as follow: “Essential health care based on practical, scientifically sound and socially acceptable methods and technology made universally accessible to individuals and families in the community by means acceptable to them and at a cost that the community and the country can afford to maintain at every stage of their development in a spirit of self-reliance and self- determination. It forms an integral part of both the country’s health system of which it is the central function and the main focus of the overall social and economic development of the community. It the 1st level of contact of individuals, the family and the community with the national health system, bringing health care as close as possible to where people live with work and constitutes the first element of a continuing health care process. 28
  • 29. นิยามของบริการปฐมภูมิ การให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ที่ประยุกต์ ความรู้อย่างผสมผสานทั้งทางด้านการแพทย์ จิตวิทยา และสังคม เพื่อให้บริการทั้งที่เป็นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ รักษาโรค และการฟื้นฟูสภาพ เป็นบริการที่ดูแลประชาชนอย่าง ต่อเนื่อง ให้แก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน ด้วยแนวคิดแบบองค์ รวม โดยมีระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลอย่าง เหมาะสม รวมทั้งสามารถประสานกับองค์กรชุมชนในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความรู้ของประชาชนในการดูแลได้ในยามเจ็บป่วย รวมถึงส่งเสริมสุขภาพของตนเองเพื่อให้บรรลุสู่การมีสุขภาพที่ดี ได้ต่อไป ที่มา: สานักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ (Health care reform office) 29
  • 30. ความสัมพันธ์ระหว่างการสาธารณสุขมูลฐาน บริการปฐมภูมิ และเวชศาสตร์ครอบครัว 30 ที่มา: สานักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ (Health care reform office)
  • 31. ความสาคัญของระบบบริการปฐมภูมิ *ทาให้เพิ่ม* • Equity เท่าเทียม เข้าถึงได้ (ภูมิศาสตร์ สังคมจิตวิทยา เศรษฐกิจ) • Quality คุณภาพด้านเทคนิค (มาตรฐานทางวิชาชีพ) คุณภาพด้านสังคม (ผสมผสาน เป็นองค์รวม ต่อเนื่อง) • Efficiency ประสิทธิภาพ (คุ้มทุน คุมค่า) ้ • Social Accountability สนองความต้องการของประชาชน ประชาชนมีบทบาทและสามารถ ตรวจสอบได้
  • 32. แก่นสาคัญของระบบปฐมภูมิ • การดูแลแบบองค์รวม ต่อเนื่อง • ตอบสนองปัญหาที่พบบ่อย ปัญหาพืนที่ ้ • เป็นหน่วยประสานเชื่อมโยง • เพิ่มศักยภาพการพึ่งตนเองของประชาชน เข้าถึง เข้าใจ ใส่ใจ ใกล้ชิด 32
  • 33. บทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ • ร่วมรับผิดชอบสุขภาพของประชาชน ชุมชน อย่างต่อเนื่อง • ดูแลผสมผสาน การรักษา ส่งเสริม ป้องกัน และฟืนฟู ้ • ให้คาปรึกษา ให้ขอมูลพื้นฐาน ้ • ส่งต่อ ประสานงาน เชื่อมโยง ขอบเขตการดูแล • ระดับบุคคล ครอบครัว • ระดับกลุ่มประชากร • เสริมการเรียนรู้ของชุมชนในด้านสุขภาพ 33
  • 34. 34
  • 35. บริการโดยตรง/ประสาน ชุมชน หน่วยบริการ Individual ปฐมภูมิ ครอบครัว Facilitate Health Community Empowerment Community Development พัฒนาสภาพแวดล้อม องค์กรอื่นๆ สธ. ฯ และชุมชน Social movement บทบาทของหน่วยบริการปฐมภูมิ 35
  • 36. หน่วยบริการปฐมภูมิ • เป็นหน่วยบริการผสมผสาน (รักษา + ส่งเสริม + ป้องกัน + ฟื้นฟู) • มิใช่หน่วย Extended OPD เน้นการสร้างเสริมสุขภาพควบคู่กับการรักษา • มีความเป็นกันเอง รู้จักประจา ทีมประจา ต่อเนื่อง
  • 37. หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ • เป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของ ประชาชน อย่างต่อเนื่อง- รู้สภาวะสุขภาพ หามาตรการ สร้างเสริมสุขภาพ • เป็นที่ปรึกษาของประชาชนในด้านการดูแลสุขภาพ • ให้บริการพื้นฐานที่จาเป็นแก่ประชาชนทุกกลุ่มอายุ และ บริการทั้งที่เป็นการรักษาพยาบาล การส่งเสริมฯ การ ป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ • ติดตาม ประสาน การให้บริการประเภทต่างๆ เพื่อให้เกิด บริการทีบูรณาการ ต่อเนื่อง ่
  • 38. ลักษณะวิธีทางาน • ให้บริการโดยตรง • ประสาน เชือมโยงบริการ ่ • กระตุ้น เอื้ออานวย สนับสนุนให้มีการพัฒนาสุขภาพโดยชุมชน และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 38
  • 39. Goal 39
  • 40. หน่วยบริการของรัฐระดับปฐมภูมิ สถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลชุมชน นิยามของศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.) • เป็นหน่วยรับผิดชอบสุขภาพของประชาชนแบบ ผสมผสาน เป็น องค์รวม และต่อเนื่อง เน้นที่ผลลัพธ์ของงาน คือ ใกล้บ้าน ใกล้ใจ และสร้างสุขภาพ • ให้ ทุก สอ.ทาหน้าที่เป็น ศสช. ในการดูแลประชากร อาจน้อยกว่า 10,000 คน แต่ไม่ควรมากกว่า • แต่ในการจัดสรรทรัพยากร ให้คานึงถึงการกระจายของ ทรัพยากร(คน เงิน ของ) โดยใช้ประชากร 10,000 คนเป็นฐาน 40
  • 41. ประวัติ ศสช. 2456: โอสถสภา 2475: สุขศาลา - ชั้นที่ 1  มีแพทย์ - ชั้นที่ 2  ไม่มแพทย์ ี 2485: สถาปนา “กระทรวงสาธารณสุข” 2495: สุขศาลาชันที่ 2 เป็น “อนามัยชั้น 2” ้ 2515: สถานีอนามัย
  • 42. ∴ศูนย์สุขภาพชุมชน สถานบริการด่านหน้า ใกล้ชิดและผูกพันกับประชาชน จานวน 9,762 แห่ง ครอบคลุม 100% ทุกตาบล ดูแลสุขภาพประชาชนชนบท ราว 60.3 ล้านคน มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประมาณ 30,000 คน
  • 43. 43
  • 44. PCU 4 มุมมอง มุมมองที่ 1 PCU 4 แบบ แบบ 1 ตั้งในโรงพยาบาล (คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว = PCU) แบบ 2 ตั้งในเขตเมือง (ศูนย์สาธารณสุขเทศบาล,ศูนย์แพทย์ชุมชน = ศพช. = PCU) แบบ 3 ตั้งในเขตชนบท (พัฒนาจากสถานีอนามัยเป็น PCU) แบบ 4 ที่ทุรกันดารห่างไกล = Mobile PCU นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
  • 45. PCU 4 มุมมอง มุมมองที่ 2 Main PCU Sub PCU Sub PCU นพ.สาเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.
  • 46. PCU 4 มุมมอง มุมมองที่ 3 PCU ที่มีแพทย์ (อย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์) PCU ที่มีพยาบาลประจา PCU ที่มีเจ้าหน้าที่ สอ.
  • 47. มุมมองที่ 4 ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 1 • มีเจ้าของครอบครัว • มี Family Folder 50 % • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2 วัน ( Basic Program )
  • 48. ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 2 • มีเจ้าของครอบครัว เจ้าของคนไข้ • มี Family Folder 100 % • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2+4 วัน ( Basic Program + ชุมชน + Counseling )
  • 49. ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 3 • มี Family Folder 100 % • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2+4 วัน + 9 สัปดาห์ • ผู้ป่วยในเขตมารับบริการ > 70 %
  • 50. ความแตกต่างระหว่าง OPD รพ. และ ศสช. รพ. ศสช. • รู้จักกันเฉพาะในห้องตรวจ • รู้จักกันทั้งครอบครัว • รักษาโรค • รักษาคน • ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย • ประชาชนมีส่วนร่วมมาก • มีขอบเขตรับผิดชอบ • ไม่มีขอบเขตรับผิดชอบ ชัดเจน • Ward คือ หอผู้ป่วย • บ้านคือหอผู้ป่วย • โรงซ่อมสุขภาพ • โรงสร้างสุขภาพ
  • 51. กระบวนการหลักของหนวยบริ การปฐมภูมิ (PCU) บริการในชุมชน บริการใน PCU บริการตอเนื่อง 1. สํารวจครอบครัว 2. ทะเบียน/คั ดกรอง 8. กิจกรรม ชุ มชน 3. บริการหลัก 4. Counseling 9. บริหาร 5. บริการกอนกลับ บาน 6. สงตอ/เยี่ยมบาน 10. นิเทศ/ประเมิ นผล 7. ประชุม วางแผน กิจ กรรมตอเนื่อง
  • 52. 1. การสารวจครอบครัวและชุมชน • 1. สร้างสัมพันธภาพ • 2. รู้จักและเข้าใจสภาพวิถีชีวิต • 3. ประเมินสภาพปัญหาและความ ต้องการในการบริการ ด้อย ปกติ เสี่ยง ป่วย /พิการ โอกาส ส่งเสริม ส่งเสริม รักษา ดูแลทาง ป้องกัน ฟื้นฟู สังคม
  • 53. 2. การลงทะเบียน / การคัดกรอง • การจัดเตรียมเอกสารและ ข้อมูลเพื่อช่วยให้เกิดการดูแล อย่าง ผสมผสาน เป็นองค์ รวม ต่อเนื่อง • การค้นหาความคาดหวังของผู้ มารับบริการ • การประเมินปัญหาด้าน Bio- Psycho-Social • การคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง • การให้คาแนะนาเบื้องต้น
  • 54. 3. บริการหลัก ตรวจรักษา / ส่งเสริมป้องกัน / ทันตกรรม / ER / ชันสูตร ให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ และสิทธิประโยชน์
  • 55. 4. การให้คาปรึกษา • ให้ผู้รับบริการได้เปิดเผย ความรู้สึกและค้นหาและ เข้าใจปัญหาของตนเอง • ให้ผู้รับบริการใช้ ศักยภาพของตนเองเพื่อ ใช้แก้ไขปัญหาและ ปรับตัวให้เหมาะสม
  • 56. 5. บริการก่อนกลับบ้าน (Exit Care) • ตรวจสอบความเข้าใจใน การมารับบริการและการ ตอบสนองต่อความ คาดหวัง • จ่ายยา / เก็บเงิน • นัดหมายเพือรับบริการ ่ ต่อเนื่อง (เยี่ยมบ้าน ส่ง ต่อ นัดมารับบริการ ต่อเนื่อง)
  • 57. 6. การส่งต่อ/การเยี่ยมบ้าน การเยี่ยมบ้าน • เพื่อรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ และครอบครัว การส่งต่อ • เพื่อค้นหาศักยภาพของ • ประสานงานสถานบริการระดับสูง ครอบครัวและเครือข่ายทาง • มีจุดเชื่อมต่อชัดเจน สังคม นามาเสริมสร้าง Self • มีระบบตอบกลับ Care • ถ้าผู้ป่วย Admit ต้องไปเยี่ยมที่ รพ. • ถ้าผู้ป่วยไม่ไปตามการส่งต่อ ต้อง ไปเยี่ยมบ้านเพื่อหาสาเหตุ
  • 58. 7. ประชุมวางแผนงานและกิจกรรมต่อเนื่อง ข้อมูลนาเข้าในการประชุม 1. ทบทวนพันธกิจ วิสัยทัศน์ 2. ผลการให้บริการ (ขาดนัด Refer เยี่ยม บ้าน) 3. การเฝ้าระวังโรค/ปัญหาสุขภาพ 4. พฤติกรรมเสียง / ปัจจัยเสี่ยง ่ P 5. Feed Back จากผู้รับบริการ 6. ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน A D 7. ปัญหา อุปสรรค / ผลการแก้ปัญหาที่ผ่าน มา C
  • 59. 8. กิจกรรมชุมชน • กิจกรรมบริการในชุมชน ได้แก่ การคัด กรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยง การ สอบสวนโรค การป้องกันควบคุมโรค การสุขาภิบาล การรณรงค์ต่างๆ • การแสวงหาการมีส่วนร่วมจากชุมชนและ องค์กรปกครองท้องถิ่น อสม. กสค. อสร. อสว. ประชาคมสร้างเสริมสุขภาพ • สนับสนุนบทบาทของชุมชนในการ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมประเมินผล ร่วม เรียนรู้
  • 60. หมออนามัย คือ...? ร้อยละ 4.71 26.9 ประกาศนียบัตร 71.8 ปริญญาตรี ปริญญาโท 60
  • 61. วิชาชีพสาขาต่างๆ ทางสาธารณสุข เทคนิค การแพทย์ เภสัชกร กายภาพบาบัด ทันตแพทย์ พยาบาล วิชาชีพ สาธารณสุข แพทย์ สาธารณสุข ชุมชน 61 ที่มา: สมาคมหมออนามัย
  • 63. วิชาชีพสาธารณสุข • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาด้านการดูแลสุขภาพอนามัย ป้องกัน • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาด้านการปรับปรุงอนามัยสิ่งแวดล้อม โรค • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ ส่งเสริม • การสอนให้ความรู้และคาแนะนาการรับประทานอาหารที่ปลอดภัย สุขภาพ • การรักษาพยาบาล (ระเบียบ ก. ๒๕๑๘): การรักษาพยาบาลเบื้องต้น สูติกรรม ทันตกรรม เภสัช รักษาพยา กรรม บาล • การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย ควบคุม • สอบสวนควบคุมโรค ฟื้นฟู • ควบคุมพาหะนาโรค สภาพ 63
  • 65. ความต้องการสถานบริการของประชาชน สอ รพศ รพช คลินิก 0 1 2 3 4 5 ค่าเฉลี่ยความต้องการ 65
  • 67. ความต้องการบริการที่สถานีอนามัย 94 92.5 92 90 88 86.5 86 84 83.5 82 81.5 80 78 76 รักษาพยาบาล ควบคุมโรค ป้องกันโรค ฟื้นฟูสภาพ 67
  • 68. ความต้องการด้านสุขภาพของประชาชน 4.87 4.87 4.87 4.86 4.85 4.84 4.84 4.83 4.82 4.82 4.81 4.81 4.8 4.79 4.78 68
  • 69. ความต้องการกาลังคนด้านสาธารณสุข ร้อยละ เทคนิคการแพทย์ 10.5 กายภาพบาบัด 13 เภสัชกร 23 ทันตแพทย์ 26.5 พยาบาล 28 แพทย์ 42.5 หมออนามัย 76.5 69
  • 70. เอกสารอ้างอิง ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, ชาย โพธิสิตา, กฤตยา อาชวนิจกุล, อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, กุล วีย์ ศิริรัตน์มงคล, ปาณฉัตร เสียงดัง, สุภรต์ จรัสสิทธิ์. สุขภาพคนไทย 2552. พิมพ์ ครั้งที่ 1. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552. สุพัตรา ศรีวณิชชากร, สุรศักดิ์ อธิคมานนท์, ทัศนีย์ สุรกิจโกศล, ณัฐพร สุขพอดี. บริการ ปฐมภูมิ: บริการสุขภาพใกล้ใจและใกล้บ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี; สานักงาน โครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข, 2545. อาพล จินดาวัฒนะ, สุรเกียรติ อาชานุภาพ, สุรณี พิพัฒน์โรจนกมล. การสร้างเสริม สุขภาพ: แนวคิด หลักการ และบทเรียนของไทย (Health Promotion in Thailand). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน; 2550. รุจิรา มังคละศิริ. เอกสารประกอบการบรรยายระบบปฐมภูมิ. สานักงานสาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา สุพัตรา ศรีวณิชชากร. เอกสารประกอบการบรรยายการพัฒนาระบบปฐมภูมิ. สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สานักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐม ภูมิ กระทรวงสาธารณสุข. 2551. กระทรวงสาธารณสุข. ผลการดาเนินงานปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสร้าง กระทรวงสาธารณสุข ประจาเดือนกันยายน 2545. สมาคมหมออนามัย: http://www.mohanamai.com/ 70
  • 71. 71