SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
นายแพทย์ชูชัย ศรชานิ
chuchai.s@nhso.go.th
แนวคิดและสถานการณ์หลักการ
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เรื่องราวเกี่ยวกับสุขภาพ และ สุขภาวะของ “สังคม
มนุษย์”
ในมุมมองของ Public Health
1. สุขภาวะของมนุษย์คือ อะไรกัน
แน่ ?
2. ระบบบริการการแพทย์
(Medical Care) ระบบการ
สาธารณสุข (Public Health)
กับ สุขภาวะ
3. ระบบการสาธารณสุข เพื่อสุข
ภาวะประชากรถ้วนหน้า
“สุขภาพ” และ “สุข
ภาวะ” ของสังคม
มนุษยชาติ ใน
่
ความคิดที่เปลี่ยนแปลงในปลายศตวรรษที่ 20
Health is A Right (Not A Privilege)
“… health, which is a state of
complete physical, mental and
social wellbeing, and not
merely the absence of disease
or infirmity, is a fundamental
human right and
… a most important world-wide
social goal.”Alma Ata Declaration-1973
ปัจจัยบ่งชี้สุขภาวะของประชากรในศตวรรษที่ 21
คาจากัดความ สุขภาวะ
ในเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 2016 - 2030 =
Health and Well - being
WHO: องค์การอนามัยโลก
• Health = สุขภาพของ
มนุษย์ไม่ใช่เพียงแค่
ปราศจากโรค แต่ต้อง
เป็ น สภาวการณ์ที่ดีทาง
กายภาพ จิตใจ และการ
อยู่ดีมีสุขในสังคมในทุก
คาจากัดความ สุขภาวะ
ในเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 2016 - 2030 =
Health and Well - being
ความเป็ นอยู่ที่ดี
เป้ าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2016-2030
SDG 3: Ensure healthy lives and promote
wellbeing for all at all ages
3.1 Reduce the global maternal mortality
3.2 End preventable deaths of newborns and
children under 5 years of age
3.3 End the epidemics of AIDS, tuberculosis, malaria
and neglected tropical diseases and combat
hepatitis, water-borne diseases and other
communicable diseases.
3.4 Reduce by one third premature mortality from
เป้ าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2016-2030
SDG 3: Ensure healthy lives and promote
wellbeing for all at all ages
3.5 Strengthen the prevention and treatment of substance abuse,
including narcotic drug abuse and harmful use of alcohol.
3.6 By 2020, halve the number of global deaths and injuries from road
traffic accidents.
3.7 By 2030, ensure universal access to sexual and reproductive
health-care services, including for family planning, information and
education, and the integration of reproductive health into national
strategies and programmes.
3.8 Achieve universal health coverage, including financial risk
protection, access to quality essential health-care
services and access to safe, effective, quality and affordable essential
Physical
and Mental
Well-Being
การได้เข้าถึง
บริการสุขภาพ
ที่ดี
สิ่งแวดล้อม
ทางสังคม
สิ่งแวดล้อม
ทาง
กายภาพ
การพัฒนา
ปัจจัยพื้นฐาน ที่บ่งชี้ให้
มนุษย์มีสุขภาพดีใน
ศตวรรษที่ 20
ก้าวสู่ การพัฒนาเพื่อจัดการกับ........
21st Century Determinants of Health
ประเทศไทยปัจจุบัน เป็ นประเทศรายได้ระดับปานกลางค่อนข้างสูง
(Higher Middle Income Country)
ความท้าทาย ต่อการพัฒนาสุขภาวะประชาชนถ้วนหน้า
• คนชั้นกลาง คนเมือง คนมีความรู ้
Gen Y คนแก่
• นโยบายประชากรกับอนามัยเจริญ
พันธุ ์ใหม่
• โภชนาการกับ “ช่องว่าง”รายได้
• คุ้มครองผู้บริโภค
• ตัวบ่งชี้สุขภาวะเปลี่ยนโรคและภัย
เปลี่ยน ภัยพิบัติจากธรรมชาติ
• เทคโนโลยีบริการ
• เทคโนโลยีการสื่อสารและ
สารสนเทศ เทคโนโลยีการขนส่ง
EquityEnvironment
Health
Access to
Healthy
Food
Schools/
Child care
Health
facilities
Community
Safety/
Violence
Transportation
Traffic patterns
Work
environments
Housing
Parks/Open
Space/
Playgrounds
21st Century Determinants of Health and
well-being
การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรเป็ นยอด
ปรารถนาของทุกสังคม
• ประเทศที่มีระดับความเป็ นอารยะสูง
ระบบการพัฒนาที่ดี ระบบการดูแล
สุขภาพประชากร จะเป็ นกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจที่มีสัดส่วนสูงตามไปด้วย —
การบริโภค อาจจะบริโภคอยู่ระหว่าง
5% ถึง 16% ของ GDP
• ผู้ให้บริการผู้ทางานในภาคบริการ
สุขภาพ และการสาธารณสุข มี >10
้
“สถานะสุขภาพที่ดี” เป็ นแก่นกลาง
เพื่อสร้างคุณภาพสังคมและยกระดับความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ
ดุลยภาพ 4 อย่าง
แนวคิดการพัฒนาสุขภาวะ (Health and well-being
for all at all age) เป็ นแนวคิดการส่งเสริมบุคคล
ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มีความเข้มแข็ง เสมอภาค
ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง Leave no one behind โดยจัดดุลย
ภาพเสริมความเข้มแข็ง ของ
1. Human biology (Heredity)
2. Environment
3. Lifestyle (Behaviour)
4. Health care delivery WHO- UNICEF : 1978 at Alma-Ata
มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน
ยุคใหม่
Comprehensive Health Care
The provision of personal
(MCH, Child Welfare, School
Health, Occupational Health,
etc.) and impersonal health
services (water supply,
communicable disease
control, vector control, etc.)
to a community for the
prevention of disease, cure of
illness, prevent disability and
มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน
ยุคใหม่
Integrated Health Care
Bringing together all types
of health services to the
community, preventive and
curative.
มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน
ยุคใหม่
Community Medicine
The art and science of
application of technical
knowledge and skills to
the delivery of
healthcare to a given
community, designed in
collaboration with
related professions as
well as human and social
มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน
ยุคใหม่
Vertical Program
A single program of
health services for
community. For
example, Expanded
Program on
Immunization (EPI).
The staff of this
service is only
concerned with the
มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน
ยุคใหม่
Horizontal Program
• A health service delivery
program which covers the
two dimensions of health,
personal and community
health. Most often the
vertical programs are
merged into existing health
facilities in which case it
becomes a horizontal
ระบบบริการทางการแพทย์กับ การ
สาธารณสุข
HOW CAN YOU INCORPORATE PUBLIC HEALTH INTO
CLINICAL PRACTICE?
Public health is about each of us taking
responsibility for advancing the health of the
public, our community’s health!
ระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
A health system needs
staff, funds, information,
supplies, transport,
communications and
overall guidance and
direction. And it needs to
provide services that are
responsive and financially
fair, while treating - caring
people.ที่มา Roemer MI. National health systems of the world, volume 1. New York, Oxford University Press, 1991
การ
ให้บริการ
ที่เข้าถึง
ตัว
ประชาช
น
การจัด
โครงสร้าง
และ
กระบวนก
าร
การ
จัดการ
ระบบ
การสนับสนุน
ทางเศรษฐกิจ
ผลิต
ภาพ
ของ
ทรัพยา
กร
Goals ระบบสุขภาพ ในศตวรรษที่ 21
Improve
efficiency
To secure fairness of
financial contribution
(equity concerns) To be responsive to
user’s needs
To improve health and
to reduce health
inequalities (average &
distribution)
Source : WHO 2000
ระบบสุขภาพ กับ การสาธารณสุข
Health and well-being is due to Social
Conditions
ระบบสุขภาพของประเทศ = การผสม
ส่วนกันของหน่วยปฏิบัติการบริการที่ดูแล
สุขภาวะ , การส่งเสริมสนับสนุนให้มี
ทรัพยากรบุคคลที่เพียงพอ สมรรถนะดี,
กลไกการเงินที่ดี, ระบบข้อมูลสารสนเทศ,
การจัดโครงสร้างองค์กรที่เชื่อมโยงสอดคล้อง
กับสถาบันและทรัพยากรสุขภาพ, และ
โครงสร้างการบริหาร เพื่อบรรลุเป้ าหมาย
สุขภาพดีและการอยู่ดีมีสุข
ที่มา Roemer MI. National health systems of the world, volume 1. New York, Oxford University Press, 1991
It is the sum total of all the
organizations, institutions and resources
whose primary purpose is to improve
health and well - being.
หลักการ 7 ประการของการพัฒนาระบบสุขภาพ
Source: World Health Organization. Everybody’s Business: Strengthening health systems to
improve health outcomes—WHO’s Framework for Action. Geneva: WHO, 2007, page 3.
1. Health service delivery
system
2. Health workforce
3. Leadership and governance
to assure quality
4. Health systems financing
5. Supplying medical products
and technologies
6. Health systems information
7. Households
Holy Grail? จอกศักดิ์สิทธิ์ที่ “นักพัฒนาระบบสุขภาพ”
ตามหา
นักพัฒนาระบบสุขภาพของทุก
ประเทศ ต่างก็แสวงหาหนทาง สร้าง
สมดุล ระหว่าง
• การเข้าถึง ระบบบริการทาง
การแพทย์และ ระบบการ
สาธารณสุข ที่ดี
• ระบบบริการทางการแพทย์และ
ระบบการสาธารณสุข ที่มีคุณภาพ
• ระบบบริการทางการแพทย์ และ
ระบบการสาธารณสุข ที่มีต้นทุนที่
การสาธารณสุข Public Health
• The science and art of Preventing disease,
Prolonging life and Promoting Health and
Efficiency through organized community
efforts
• Public Health shapes the context within which
people and communities can be safe and
healthy.
สาธารณสุข
Medical Care System vs Public Health
System
ระบบบริการการแพทย์
(Medical Care)
Individual Health
ระบบการสาธารณสุข
(Public Health)
Population Health
Best outcome for
individual
• Healthy community
• Balance of individual
autonomy vs.
limitations on individual
• Balance in allocation of
resources
• Focus on prevention
สาธารณสุข
Medical Care System vs Public Health
System
ระบบบริการการแพทย์
(Medical Care)
Individual Health
ระบบการสาธารณสุข
(Public Health)
Population Health
• Patient
• Practitioner
• Chief complaint
• History & Physical
• Laboratory tests
• Clinical Diagnosis
• Treatment plan
• Home monitoring and
• A defined population
• A health system
• Community perceptions
• Professional opinions
• Epidemiologic analysis
• Community Diagnosis
• Interventions
• Monitoring efforts
สาธารณสุข
Medical Care System vs Public Health
System
ระบบบริการการแพทย์
(Medical Care)
Saving lives ‘1’ at a time
ระบบการสาธารณสุข
(Public Health)
Saving lives ‘millions’ at a
time
• Vital signs :
Thermometer,
Stethoscope
• Lab. Chemistry ,
Imaging : CT, MRI,
• Vital statistics
• Epidemiology
• Surveillance : ACTIVE
surveillance
ขอบเขตการปฏิบัติการ การสาธารณสุข
The Scope of Public Health
• Infectious diseases
• Chronic diseases
– Heart disease,
metabolic disorders,
cancer, etc.
– Mental health
• Nutrition disorders
• Substance abusers:
drugs, alcohol,
• Accidents/violence/injuri
es
• Health equity
• Occupational health
• Environmental health
• Health of the vulnerable
– e.g. poor, children,
women, elderly, etc.
– Safety Net Services :
Those services that are
so essential that we
provide them
US Department of Health and Human Services. A Public Health Action Plan to Prevent
Heart Disease and Stroke: Executive Summary and Overview CDC 2003
กรณีตัวอย่าง มาตรการทางการสาธารณสุขสาหรับ
NCD โรคหัวใจและหลอดเลือด
ระบบการสาธารณสุขในยุคใหม่ มีปฏิสัมพันธ ์ที่
ซับซ้อน
Public Health As A Complex System
Laboratory
Facilities
EMS
Doctors
Schools
Mental Health
Drug Treatment
Civic GroupsFoster care
Hospitals
Tribal Health
Police
Fire
Jails
Economic
Development
Philanthropist
Employers
Elected Officials
Parks
Mass Transit
Health Department
Environmental
Health
Community
Centers
Home Health
Churches
ระบบการสาธารณสุข แห่งอนาคต
The Future of the Public’s Health
Policy development
3. Inform, educate people about
health issues
4. Mobilize community partnerships
to solve health problems
5. Develop policies and plans
Assessment
1. Monitor health status to ID
community health problem
2. Diagnose and investigate health
problems and hazards
Assurance
6. Enforce laws and regulations that
protect health and ensure safety
7. Link people to health services and assure
care
8. Assure a competent public health and
health care work force
9. Evaluate effectiveness of programs
Serving all functions
10.Research for new, innovative solutions
to health problems
IOM, The Future of the Public’s Health, 2002
Major
Functions &
10 Essential
Services
Health promotion, disease prevention,
disability limitation and rehabilitation by
1. Primary prevention
2. Secondary prevention
3. Tertiary prevention
สุขภาวะประชากรจะเกิด
ถ้วนหน้าได้
ด้วยระบบการ
สาธารณสุข
KEEPING THE PUBLIC HEALTHY
Broad invisible aspects of
public health
• Public health = การสาธารณะ
+ สุข
• Public health = การบริการ
แนวคิด และปฏิบัติการใหม่ของระบบการ
สาธารณสุข
แนวคิดดั้งเดิม →
• อยู่ในสถานที่ตั้งและ
กระบวนการทางาน ขยาย
การบริการเข้าไปในที่ที่ขาด
แคลน
• งาน MCH งานสุขาภิบาล
ควบคุมโรคติดต่อ
• บริการพื้นฐาน กับการรักษา
โรคบางโรคเล็กน้อย
แนวคิดและปฏิบัติการทางการ
สาธารณสุขใหม่
• เป็ นจุดยุทธศาสตร ์คานงัด
เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงสู่
การมี สุขภาวะดี ถ้วนหน้า
(Health and well-being
for all)
• งานที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดการเพื่อเกิด อยู่ดี มีสุข
แก่ทุกคนในชุมชนจริง และ
ชุมชนเสมือนจริง (Virtual
community)
แนวคิด และปฏิบัติการใหม่ของระบบการ
สาธารณสุข
แนวคิดดั้งเดิม →
• พัฒนาสิ่งแวดล้อม
สุขาภิบาล
• เทคโนโลยีอย่างง่าย ให้
อาสาสมัครเป็ นผู้ช่วย
• เข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อขอ
สนับสนุนงบประมาณจากผู้
มีฐานะดีในพื้นที่
• งบประมาณจากรัฐ มาแบบ
ระบบงบประมาณรายปี
ตัดสินใจ สั่งการจาก
แนวคิดและปฏิบัติการทางการ
สาธารณสุขใหม่
• ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมเพื่อ
สุขภาพ ปรับวิถีการใช้ชีวิต
และขจัดปัดเป่ าปัจจัย
ภยันตราย
• ทีมผู้ปฏิบัติงานในชุมชน
ส่งเสริมให้เข้าถึงและใช้
เทคโนโลยีสื่อสาร สนับสนุน
เทคโนโลยีจัดการสุขภาพ
ตนเอง
• งบประมาณแบบใหม่ๆ เจรจา
แนวคิด และปฏิบัติการใหม่ของระบบการ
สาธารณสุข
แนวคิดดั้งเดิม →
• การให้งบประมาณมาจาก
ภาครัฐ เพื่อให้บริการตาม
นโยบายส่วนกลาง
• บริหารความจากัด ขาด
แคลน
• โรงพยาบาลเป็ นผู้ให้บริการ
การสงเคราะห์และเป็ นศูนย์
ปฏิบัติการด้านการ
สาธารณสุขด้วย
• การสาธารณสุขคือการ
ลงทุนถูกๆ ต้องการ
แนวคิดและปฏิบัติการทางการ
สาธารณสุขใหม่
• งบประมาณและทรัพยากรเป็ น
การบูรณาการจากทุกแหล่งภาค
ส่วน (ประชารัฐ) เพื่อ universal
coverage
• บริหารเป็ นเครือข่าย ทาได้ทั่วโลก
เพื่อประสิทธิภาพ ความเป็ นธรรม
ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง
• ระบบการสาธารณสุข เป็ น
ศูนย์กลางของ coordinator of a
comprehensive response
• การลงทุนทางการสาธารณสุข
กลยุทธ ์และเครื่องมือของนักการสาธารณสุข
Intervention Strategies
• Immunization
programs
• Health education
• Behavioral
modification
strategies
• Community
intervention/mobilizat
ion
• Occupational
environment
• Living environment (e.g.
air quality)
• Surveillance/informatio
n systems (evaluation)
• Policy development and
implementation
• Political pressure
Intervention Strategies สาหรับโรค NCD
กลยุทธ ์และเครื่องมือของนักการสาธารณสุข
Instruments
• Direct Controls
– Regulations
– Prohibitions
– Compulsions
• Indirect Controls
– Tariffs/Taxes
– Subsidies
– Grants
• Surveys
• Surveillance
• Morbidity and mortality
reporting
• Provides health
insurance
• Provides health care
• Maintains healthy
environment
• Informs people about
สมรรถนะหลัก นักการสาธารณสุข
• Epidemiology
• Biostatistics
• Environmental
Health
• Health Services
Administration
• Social & Behavioral
Science
• Cultural
Competence
• Community-based
• Informatics
• Genomics
• Communication
• Policy & Law
• Global Health
• Ethics
ก้าวสู่นักการสาธารณสุขแห่งยุค 4.0
• ปฏิรูประบบวิธีทางาน เพื่อให้ผู้คนถ้วน
หน้าได้เข้าถึง และอยู่ดี มีสุขอย่างเท่า
เทียม เสมอภาค (UNIVERSAL
COVERAGE REFORMS)
• ปฏิรูปการให้บริการสาธารณสุขเชิงรุก
ถึงที่แบบส่งมอบที่มองปัญหาสุขภาวะ
ของประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (SERVICE
DELIVERY REFORMS)
• ปฏิรูประบบการประกาศและดาเนินการ
นโยบายสาธารณะ เพื่อปกป้ องสุขภาพ
ประชาชนในประเด็นสาธารณะ
(PUBLIC POLICY REFORMS)
ระบบการสาธารณสุข กับ ประกันสุขภาพ
และ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
UNIVERSAL HEALTH COVERAGE
ระบบการสาธารณสุข นักการสาธารณสุข ระบบบริการทาง
การแพทย์
กับ การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าNatural resources
depletion
Population
growth
Aging society
Economic racing
Globalization / regionalization (Maximization of
competitive edges)
Environmental
degradation
Climate
changes
Emerging
diseases
Communication
technologies
Social
disruption
Inequity /
injustice
War /
terrorism
Unsustainable
growth
Consumerism
Individualism
Rivalry
ดัดแปลงจาก
การบรรยาย
ศ. นพ. จรัส
สุวรรณเวลา
ในการประชุม
WONCA
Asia Pacific
Regional
Unsecure
Health and
well-being
ปลายศตวรรษที 20 และ ศตวรรษ 21 : กับนักการ
สาธารณสุข
โลกแห่งทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ ความคิดการ
พัฒนาที่เปลี่ยนแปลงHealth Comes from
Purchased Medical Care
“No man . . . has a right to
medical care; if he cannot
pay for what he needs,
then he must depend on
voluntary charity.”
Health insurance
• A system of paying
for unpredictable
needs for health care
Leonard Peikoff, The Ayn Rand Institute
ทาไมสังคมมนุษยชาติยุคนี้ ต้องมีการ ประกัน
สุขภาพ
ระดับปัจเจกบุคคล
ความไม่แน่นอน (Uncertainty)
• ในการได้รับโรค (contacting diseases)
• ในความรุนแรงของการเจ็บป่ วย (severity of illness)
• ในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล (medical expenditure)
กระทบต่อสถานะทางการเงินของครัวเรือน
= รายได้ = รายจ่ายด้านสุขภาพ
เวลา
ทาไมสังคมมนุษยชาติยุคนี้ ต้องมีการ ประกัน
สุขภาพ
ระดับสังคม
ความไม่เป็ นธรรม (Inequity)
• ในการจ่ายเงิน (financial contribution)
• ในการเข้าถึงและการใช้บริการ (access & utilization)
• ในค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (expenditure)
การจ่ายเงิน การใช้บริการ ค่าใช้จ่ายของบริการรายได้
หลักการพื้นฐานของ การประกันสุขภาพ
1. การเฉลี่ยความเสี่ยง ระหว่างบุคคล (Risk
sharing & pooling)
เสี่ยง
มาก
(ป่ วย)
เสี่ยง
น้อย
(ไม่
ป่ วย)
เงินที่จ่าย เงินที่ใช้
เงินที่จ่าย เงินที่ใช้
Pool risk
หลักการพื้นฐานของ การประกันสุขภาพ
2. การปกป้ องความเสี่ยง ภายในบุคคล (intra-
personal risk protection)
= เงินที่เก็บสะสม = รายจ่ายเมื่อป่ วย
เวลา (อายุ)
หลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพ
3. การปกป้ องความเสียหายที่รุนแรง
(Protection for catastrophic damage or expenditure for life)
เบี้ยประกัน เงินที่ใช้สาหรับความ
เสียหายที่รุนแรง
Catastrophic diseases
expenditure
หลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพ
4. การเจือจานรายได้ระหว่างบุคคล (Inter-personal
income subsidy)
เฉลี่ยความเสี่ยง
(ระหว่างรายได้เท่ากัน)
เจือจานรายได้
(ระหว่างความเสี่ยงเท่ากัน )
ความเสี่ยง
ต่า
สูง
รายได้
ต่า
สูง
การจ่ายเงิน การถ่ายเท การใช้บริการ
เฉลี่ยความเสี่ยง
(ระหว่างรายได้เท่ากัน)
เจือจานรายได้
(ระหว่างความเสี่ยงเท่ากัน )
ความเสี่ยง
ต่า
สูง
รายได้
ต่า
สูง
การจ่ายเงิน การถ่ายเท การใช้บริการ
ความมั่นคงของมนุษย์
ปัญหาประชากรตามกลุ่มวัย
แนวคิดการพัฒนา
1. การสร้างหลักประกันสุขภาพ
(Universal Health Coverage)
การทาให้ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ
โดยใช้หลักการของสวัสดิการและการ
ประกันสุขภาพ
2. สวัสดิการด้านสุขภาพ (Health
Welfare)
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ เป็ นการลงทุนขั้น
พื้นฐานของรัฐ ให้ทั่วถึงกันโดยไม่ต้อง
แบ่งแยกยากดีมีจน
3. การประกันสุขภาพ (Health
Insurance)
สร้างประกันสุขภาพถ้วนหน้า ด้วยยุทธศาสตร ์
3 แกน
ตามข้อแนะนาองค์การอนามัยโลก
ประเภทของการประกันสุขภาพ
ภายใต้แนวคิดเดียวกัน สร้าง Universal Health
Coverage
1. การสร้างหลักประกันสุขภาพ
จากระบบภาษี (tax-based
health insurance) หรือ
Beveridge model
2. การประกันสุขภาพแบบบังคับ
(compulsory health
insurance) หรือ Bismarck
model
3. การประกันสุขภาพแบบสมัคร
องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ ซึ่งใช้
ในการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
B
ผู้ให้บริการ
รัฐ/องค์กร
วิชาชีพ
A
ประชาชน/ผู้ป่ วย
C
กองทุน
DIRECT PAYMENTS
HEALTH SERVICES
INSURANCE
COVERAGE
MONEY
(TAXES OR
PREMIUMS)
REGULATION
REGULATIONCLAIMS
D
Provider Payment
Mechanisms เช่น Fees,
DRG, Case based
Global budget
รูปแบบของระบบประกันสุขภาพ ในนานาประเทศ
แตกต่างกัน
แต่ภายใต้แนวคิดเดียวกัน สร้าง Universal Health
Coverage
• Beveridge model (ระบบ
ภาษี)
อังกฤษ สวีเดน เดนมาร ์ก
มาเลเซีย ฮ่องกง
• Bismarck model (ระบบจ่าย
เบี้ยประกัน)
เยอรมัน ฝรั่งเศส เนเธอร ์แลนด์
สวิตเซอร ์แลนด์
• Mixed (ระบบผสม)
• Saving account (บัญชี
ออมทรัพย์ภาคบังคับ)
สิงคโปร ์(Medisave)
• Community fund
(กองทุนชุมชน)
สเปน
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
(Tax-based health insurance หรือ Beveridge model)
กรณีของประเทศไทย
ความท้าทาย ความเสี่ยง
• มีความไม่แน่นอน ต้องไปแข่งขันกับกระทรวงอื่นในการ
ของบประมาณ
• ถูกการเมืองแทรกแซงได้ง่ายและมาก
• มีปัญหาเรื่องการขาดประสิทธิภาพของระบบราชการ
และการไม่ค่อยตอบสนองต่อความต้องการของ
ประชาชน
ทาไมสังคม 4.0 ต้องมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ช่องว่าง ความเหลื่อมล้า และ การลงทุนในทรัพยากร
มนุษย์สาหรับพลเมือง
Everyone should
get the care they
need (from a
defined package)
without
experiencing
financial hardship
as a result
• Focus is on
ensuring people
get the health care
หลัก ประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า UNIVERSAL
HEALTH COVERAGE
องค์การอนามัยโลก (2010)
ให้คาจากัดความของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ว่า
ต้องสร้างให้เป็ นสิทธิของประชาชนที่จะสามารถเข้าถึง
บริการสาธารณสุขได้ตามความต้องการ ทั้งด้านการ
ป้ องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาที่จาเป็ น และการ
ฟื้นฟู สมรรถภาพ โดยปราศจากความเสี่ยงด้าน
ความสามารถทางการเงิน และการกีดกั้นด้านบริการ
Universal health coverage, as defined by WHO requires all people to have
access to needed health services -prevention, promotion, treatment and
rehabilitation - without the risk of financial hardship associated with
Note: CSMBS: civil servant medical benefit scheme, SSS: social security scheme
1975
Medical welfare scheme
For the poor
27 years
2002, UHC
• UC scheme 75% of pop
• Social Security 15%
• Civil Servant 9%
68
68
พัฒนาการของ การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ของไทย
รูปแบบการประกันสุขภาพ ไทย
มีระบบย่อยรายละเอียด
• สวัสดิการสังคม (public welfare)
• หลักประกันสุขภาพ (บัตรสุขภาพ)
• ประกันสังคม ภาคบังคับ (Social Security Scheme SSS)
• กองทุนเงินทดแทน (workmen’s compensation)
• สวัสดิการข้าราชการ (Civil Servant Medical Benefit
Scheme : CSMBS)
• ประกันผู้ประสบจากรถ (Traffic Accident Protection
Scheme :TAPS)
70
ปัญหาและสถานการณ์ การประกันสุขภาพของไทย
ก่อนปี 2545
Civil
Servant
Med
Benefit
Scheme
Hospital rev kept and used by hospital
(more flexible)
Social
Health
Insurance
Scheme
Out-of-pocket
from households
Low
income
card
scheme
Voluntary
Health
Card
Scheme
Govt block
Grant
30% of
pop -
uninsured
people
MOPH facility
- Capital
e.g. building,
equipment
- Salary &
operating
Govt budget:
line item
CLOSE ENDED
BUDGET
Hospital line item budget
(not flexible)
Rigor financial audit (either report or onsite audits)
by Auditor General and monthly financial report to MOPH
Govt
budget
OPEN
ENDED
Contribut.
CLOSE
ENDED
BUDGET
การดาเนินการ สร้างประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ปี
2545 เป็ นต้นมา
71
Civil
Servant
Med
Benefit
Scheme
Hospital rev kept and used by hospital
(more flexible)
Social
Health
Insurance
Scheme
Govt
budget
OPEN
ENDED
Contribut.
CLOSE
ENDED
BUDGET
Govt Grant
CLOSE ENDED BUDGET
UC Scheme managed by National Health
Security Office (NHSO)
[consolidate a) Low income scheme
b) voluntary H Card
c) new budget US$ 1 billion for 18m
uninsured,
d) previously supply side subsidies to
MOPH hospitals
MOPH facility
- Capital
e.g. building,
equipment
- Salary
Govt budget:
line item
CLOSE
ENDED
Hospital line item budget
(not flexible)
Rigor financial audit (either report or onsite audits)
by Auditor General and monthly financial report to MOPH
สถานการณ์หลักประกันสุขภาพภาครัฐ
Source: Bureau of Registration Administration, NHSO
73
Civil Service Medical
Benefits Scheme
(CSMBS): gov. officers
and dependents
Social security scheme
(SSS):
private formal employees
Universal Coverage
Scheme(UCS):
the rest of Thai citizens
Thai citizens
Safety Net
BudgetBudgeting
Beneficiary Population Financing
Tax
กองทุนประกันสุขภาพ “ภาครัฐ”
พลวัตรของการจัดการกองทุน และ “สิทธิ” ประโยชน์แก่คนไทยทุกคน
Tripartite
contribution
Tax
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UCS
(อายุผู้มีสิทธิบัตรทอง)
Source: Bureau of Registration Administration, NHSO
1,470,134, 2%
9,750,818,
15%
29,937,321,
47%
14,939,648,
23%
7,304,398,
11%
1,123,273, 2%
The UCS schemes classified by age groups, FY2013
ทารก 0-1 ปี เด็ก 1-15 ปี
ผู้ใหญ่ 15 - 59 ปี หญิงวัยเจริญพันธ์
ผู้สูงอายุ>60ปี ผู้พิการ
Newborn 0-1 yrDisables
1-15 yr
15-59 yr
Female,
reproductive
ages
Elders > 60 yr
งบประมาณ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UCS บัตรทอง
รายการ 2556 2557 2558 2559 2560
อัตรางบเหมาจ่ายรายหัว 2,755.60 2,895.09 2,895.09 3,028.94 3,109.87
งบค่าบริการกรณีเฉพาะ (CR) 262.10 271.33 301.01 305.29 315.14
สัดส่วนงบ CR ต่ออัตราเหมาจ่ายรายหัว 9.51% 9.37% 10.40% 10.08% 10.13%
รายการ เงินกองทุนที่ได ้รับ (ล ้านบาท)
ปี 2560 ปี 2561
1. บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว 151,770.6746 156,019.6223
2. บริการผู ้ติดเชื้อเอชไอวีและผู ้ป่ วยเอดส์ 3,122.4080 3,218.2496
3. บริการผู ้ป่ วยไตวายเรื้อรัง 7,529.2353 8,165.6070
4. บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง 960.4090 1,080.7033
5. ค่าใช ้จ่ายเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการในพื้นที่กันดาร พื้นที่เสี่ยงยัย
และพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนยาคใต ้
1,490.2875
1,490.2880
6. ค่าบริการสาธารณสุขสาหรับผู ้สูงอายุที่มียาวะพึ่งพิง 900.0000 1,159.2000
7. ค่าบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับการบริการระดับปฐมยูมิที่มี
แพทย์ประจาครอบครัว
- 240.0000
รวมทั้งสิ้น 165,773.0144 171,373.6703
จานวนเงินเดือนหน่วยบริการยาครัฐฯ 42,307.2340
44,840.5392
คงเหลืองบกองทุนที่ส่งให ้สปสช. 123,465.7804 126,533.1311
เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบฯ 2561: ที่ได้รับ
2.8%
ประเภทบริการ
ปี 2560
บาท/คน
ปี 2561
อัตรา
(บาท/คน)
ผลต่างปี60 % เพิ่มลด
1.บริการผู้ป่ วยนอกทั่วไป 1,137.58 1,167.41 29.83 2.62
2.บริการผู้ป่ วยในทั่วไป * 1,090.41 1,113.93 23.52 2.16
3.บริการกรณีเฉพาะ 315.14 337.08 21.94 6.96
4.บริการสร ้างเสริมสุขยาพและป้องกันโรค** 405.29 415.55 10.26 2.53
5.บริการฟื้นฟูสมรรถยาพด ้านการแพทย์ 16.13 16.13 - -
6.บริการแพทย์แผนไทย 11.61 11.61 - -
7.ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะ งบ
ลงทุน
128.69 128.69
-
-
8.เงินช่วยเหลือเบื้องต ้นตามมาตรา 41 5.02 4.92 -0.10 -1.99
9.บริการจ่ายตามคุณยาพผลงานบริการ - 2.00 2.00 100.00
รวม 3,109.87 3,197.32 87.45 2.81
ประชากรลงทะเบียน UC (ล ้านคน) *** 48.80 48.80 - -
เงินเดือนหน่วยบริการยาครัฐ (ล ้านบาท) 42,307.23 44,840.54 2,533.31 5.99
เปรียบเทียบงบเหมาจ่ายรายหัวปี2560-ปี2561 : ที่ได้รับ
งบประมาณ 2559
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UCS บัตรทอง
บริการ CR
12,320
เพิ่ม 3,865
บริการฟื้นฟู
512
เพิ่ม 239
บริการแผนไทย
293
เพิ่ม 229
งบเหมาจ่ายรายหัว
147,811
8.3%
0.3%
0.2%
CR รวมคิดเป็น 10.3% ของงบ
เหมาจ่าย
หน่วย : ล ้านบาท
ปัจจัยที่ใช้คานวณงบประมาณเงินกองทุน
หลักการคานวณ
คือ
PQ approach,
Standard activity
base costing และ
ตามเงื่อนไขบริการ
ค่าบริการเหมาจ่าย
รายหัว
นอกเหมาจ่ายรายหัว
(5 รายการ)
• อัตราการใช ้บริการ (UR)
• ต ้นทุนต่อหน่วยบริการ
• Cost Inflation rate
• coverage สาหรับบริการ P&P
• สิทธิประโยชน์ใหม่
• ผลงานและเป้าหมายการใช ้บริการ
• ต ้นทุนบริการ
ปัจจัยหลักต่องบประมาณรายการหลักระเบียบวิธี
ขั้นตอนการคานวณงบประมาณ
UCS Financial Flow : งบประมาณขาขึ้น
ขั้นตอนการคานวณงบประมาณ
UCS Financial Flow : งบประมาณขาลง
ผลของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่คนไทย
Reduced incidence of catastrophic health spending (out-of-pocket >
10% total consumption)
5.1
7.1
3.4
3.8 3.7
2.8 2.8 2.9
6
7.1
5
5.5 5.6
4.9
3.7
4.7
6.8
6.1
0
2
4
6
8
1996 1998 2000 2002 2004 2006 2007 2008 2009
Year
Incidencecatastrophichealthspending%
Q1 Q5
Source: Analysis of Socio-economic Survey (SES)
ผลของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่คนไทย
IP utilization rate classified by age, UCS scheme : ผู้ป่ วยใน
สิทธิบัตรทอง
-
0.20
0.40
0.60
0.80
1.00
1.20
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
อายุ
IP utilization rate - UCS49-52, est.53-54
T49 T50
T51 T52
est.T53 est.T54
85
FY2005 FY2006 FY2007 FY2008 FY2009 FY2010
total cancer patients who were
treated
74,626 78,647 83,285 89,315 96,160 110,599
วยสิทธิบัตรทอง โรค Catastrohic ที่เกิดความเสียหายที่รุนแ
access to cancer treatment FY2005-2010
Note: data of members in UC Scheme only
เป้ าหมายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
แก่ พลเมืองไทย ทั้งมวล ในแผนยุทธศาสตร ์20 ปี
1. Health system
related issues
2. Financing and
management issues
3. Stakeholder and
networking
• Strengthening health system โดยเฉพาะ primary care
• พัฒนาสิทธิประโยชน์ Prevention and promotion
• Long term care for aging society
• ส่งเสริมกระจายอานาจความเป็นอิสระในการจัดบริการ
• การร่วมจัดการกระจายทรัพยากรบุคคล
• การจัดการคุณยาพ ความปลอดยัย และ Health
technology assessment
• การร่วมพัฒนาแผนจัดบริการสุขยาพ
ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ
1.Health system related issues
1. Health system
related issues
2. Financing and
management issues
3. Stakeholder and
networking
• การสื่อสารสร ้างความตระหนักเข ้าใจในการจัดการสุขยาพ
ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน
• ดาเนินการเพื่อให ้เกิดความครอบคลุมสิทธิของผู้ด ้อยโอกาส
marginal and specific groups of Thai citizen
• Engaging private sector in the provision of health care
especially in urban areas and establish a system for public
and private health-care providers in Thailand
• พัฒนา model to manage epidemiological transition and
the aging of the population
ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ
1.Health system related issues
• ความยั่งยืนกองทุน ความเสมอยาค (sustainability and equity
in financing of the UCS)
• Harmonization of benefit package and provider payment
methods among public health insurance schemes
• Standardization of provider payment methods and benefit
packages among schemes
• Establishment of active and effective health care purchaser
(central and local)
• Co-finance with community fund
• Using purchasing power to increase quality of care : Value
based healthcare
1. Health system
related issues
2. Financing
and
management
issues
3. Stakeholder and
networking
ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ
2. Financing and management issues
1. Health system
related issues
2. Financing and
management issues
3. Stakeholder
and
networking
• Balancing the use of financing mechanism and other
measures to maintain a good relationship between
health care providers, and between health care
providers and consumers
• Strong network of public and private participation
• กองทุน matching fund กับ องค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่น
ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ
3. Stakeholder and networking
Achieve Universal Health Coverage 4.0
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และระบบ
สุขภาพชุมชน
ในประเทศไทย
Primary Care Cluster
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ
District Health Board
(นายอาเภอ ผอ. เขต กทม. ประธาน สสอ. ผอ. ศูนย์บริการ สธ. เขตเลขา )
เวชกรรมสังคม
เวชศาสตร ์ครอบครัว
หน่วยบริการที่ไม่สังกัด สป. สธ.
มีแพทย์เวชศาสตร ์ครอบครัว
ศสม
.
รพ.
สต.
รพ.
สต.
รพ.
สต.
คลินิก
ชุมชน
อบอุ่น
ร้าน
ยา
คุณภา
พ
หน่วย
ร่วม
ให้บริ
การ
หน่วย
ร่วม
ให้บริ
การ
ทีม
1
ทีม
2
ทีม
3
ทีม
1
ทีม
2
ทีม
3
PCC 1 PCC 2
ทีมอาเภอ
ทีมตาบล /
พื้นที่ / แขวง
ทีมชุมชน
เขต 6 มี 16 แห่ง ดังนี้
ฉะเชิงเทรา :อ.บ ้านโพธิ์ อ.พนมสารคาม
อ.บางน้าเปรี้ยว
สมุทรปราการ : อ.บางพลี อ.เมือง
ระยอง :อ.วังจันทร์ อ.บ ้านฉาง
ปราจีนบุรี : อ.ศรีมหาโพธิ์
จันทบุรี :อ.แหลมสิงห์ อ.สอยดาว
อ.เขาสุกิม
ตราด:อ.เขาสมิง อ.คลองใหญ่
สระแก ้ว:อ.วังน้าเย็น
ชลบุรี : อ.พนัสนิคม อ.แหลมฉบัง
เขต 8 มี 14 แห่ง ดังนี้
เลย : อ.ด่านซ ้าย อ.เมือง
อุดรธานี : อ.น้าโสม อ.บ ้านผือ อ.นายูง
หนองบัวลายู: อ.ศรีบุญเรือง
บึงกาฬ:อ.ศรีวิไล อ.พรเจริญ
สกลนคร:อ.วานรนิวาส อ.พังโคน อ.คาตากล ้า
นครพนม:อ.นาหว ้า อ.โพนสวรรค์
หนองคาย:อ.เมือง
เขต 10 มี 21 แห่ง ดังนี้
ยโสธร: อ.กุดชุม อ.คาเขื่อนแก ้ว อ.ทรายมูล
ศรีสะเกษ : อ.ขุนหาญ อ.ราษีไศล อ.ปรางกู่
อ.อุทุมพรพิสัย อ.ไพรบึง
อุบลราชธานี : อ.เมือง อ.วารินชาราบ
อ.ตระการพืชผล อ.เขื่องใน อ.ม่วงสามสิบ
อานาจเจริญ : อ.พนา อ.เสนางคนิคม อ.เมือง
อ.ชานุมาน อ.หัวตะพาน อ.ลืออานาจ
อ.ปทุมราชวงศา
มุกดาหาร: อ.หว ้านใหญ่
เขต 4 มี 19 แห่ง ดังนี้
นนทบุรี : อ.เมือง อ.ไทรน้อย
ปทุมธานี : อ.ลาลูกกา อ.เมือง
อ.คลองหลวง อ.หนองเสือ
สระบุรี : อ.แก่งคอย อ.ดอนพุด
อ.มวกเหล็ก อ.บ ้านหมอ
ลพบุรี : อ.ลาสนธิ อ.เมือง อ.ท่าหลวง
นครนายก: อ.องค์รักษ์ อ.บ ้านนา
สิงห์บุรี: อ.ท่าช ้าง อ.บางระจัน
พระนครศรีอยุธยา : อ.ท่าเรือ
อ่างทอง :อ.โพธิ์ทอง
เขต 1 มี 15 แห่ง ดังนี้
เชียงราย : อ.เชียงของ
อ.เมือง อ.แม่ลาว
อ.พญาเม็งราย
น่าน : อ.ปัว
เชียงใหม่ : อ.สารยี
อ.ดอยเต่า
แม่ฮ่องสอน : อ.ปางมะผ ้า
ลาพูน : อ.บ ้านโฮ่ง อ.ลี้
แพร่: อ.สูงเม่น
อ.หนองม่วงไข่
ลาปาง :อ.แม่พริก อ.เถิน
พะเยา :อ. ปง
เขต 7 มี 20 แห่ง ดังนี้
กาฬสินธุ์ : อ.กุฉินาราย์ อ.ยางตลาด อ.คาม่วง
อ.ท่าคันโท อ.ร่องคา อ.หนองกุงศรี
ขอนแก่น : อ.น้าพอง อ.อุบลรัตน์ อ.ซาสูง
อ.บ ้านฝาง อ.ชุมแพ อ.เมือง อ.บ ้านฝาง
มหาสารคาม : อ.เมือง อ.บรบือ
ร ้อยเอ็ด : อ.อาจสามารถ อ.เมือง อ.โพนทอง
อ.เกษตรวิสัย อ.สุวรรณยูมิ
เขต 5 มี 14 แห่ง ดังนี้
ราชบุรี : อ.สวนผึ้ง อ.โพธาราม อ.บางแพ
สุพรรณบุรี :อ.เดิมบางนางบวช อ.เมือง อ.อู่ทอง
ประจวบคีรีขันธ์ : อ.บางสะพานน้อย อ.ปราณบุรี
เพชรบุรี : อ.หนองหญ ้าปล ้อง อ.ท่ายาง
สมุทรสาคร:อ.กระทุ่มแบน
สมุทรสงคราม : อ.บางคนที
นครปฐม : อ.นครชัยศรี
กาญจนบุรี : อ.บ่อพลอย
เขต 9 มี 13 แห่ง ดังนี้
ชัยยูมิ : อ.หนองบัวระเหว อ.คอนสวรรค์
อ.ยักดีชุมพล
นครราชสีมา : อ.จักราช อ.บัวใหญ๋ อ.โนนสูง
อ. ขามสะแกแสง อ.เมือง
บุรีรัมย์ : อ.กระสัง อ.เมือง อ.พลับพลาชัย
สุรินทร์ : อ.ปราสาท อ.ชุมพลบุรี
เขต 2 มี 14 แห่ง ดังนี้
ตาก : อ.เมือง อ.บ ้านตาก อ.บ ้านตาก
อ.แม่ระมาด
พิษณุโลก : อ.นครไทย อ.บางระกา
อ.เมืองพิษณุโลก
เพชรบูรณ์ : อ.หล่มเก่า อ.ชนแดน
อุตรดิตถ์ : อ.บ ้านโคก อ.ตรอน อ.ลับแล
สุโขทัย: อ.สวรรคโลก อ.กงไกรลาศ
พื้นที่เครือข่ายสุขภาพอาเภอ 200 พื้นที่
เขต 3 มี 13 แห่ง ดังนี้
ชัยนาท : อ.มโนรมย์ อ.วัดสิงห์
กาแพงเพชร: อ.คลองลาน อ.เมือง
อ.พรานกระต่าย
พิจิตร : อ.สามง่าม อ.วชิรบารมี
อ.โพธิ์ประทับช ้าง
นครสวรรค์ : อ.ตาคลี อ.เมือง
อ.เก ้าเลี้ยว
อุทัยธานี: อ.สว่างอารมณ์ อ.ทัพทัน
เขต 11 มี 24 แห่ง ดังนี้
ชุมพร : อ.ทุ่งตะโก อ.หลังสวน อ.สวี
อ.ท่าแซะ อ.ปะทิว อ.เมือง อ.ละแม อ.พะโต๊ะ
นครศรีธรรมราช : อ.ฉวาง อ.สิชล อ.ฉวาง
อ.ท่าศาลา
สุราษฎร์ธานี : อ.กาญจนดิษฐ์ อ.ชัยบุรี
อ.เกาะสมุย อ.เมือง
กระบี่ : อ.อ่าวลึก อ.คลองท่อม อ.เมือง
พังงา: อ.ท ้ายเหมือง อ.เกาะยาว
ระนอง:อ.สุขสาราญ อ.กะเปอร์
ยูเก็ต : อ.เมือง
เขต 12 มี 17 แห่ง ดังนี้
นราธิวาส : อ.ตากใบ อ.บาเจาะ
ปัตตานี : อ.หนองจิก อ.กะพ ้อ อ.เมือง
อ.ยะหริ่ง
ยะลา : อ.รามัน อ.ปันนังสตา
สงขลา : อ.นาทวี อ.จะนะ อ.สทิงพระ อ.
เทพา อ.หาดใหญ่
สตูล : อ.ละงู อ.ทุ่งหว ้า
พัทลุง : อ.เมือง
ตรัง :ห ้วยยอด
Primary Care Cluster กับ District Health
Board
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ
District Health Board
(นายอาเภอ ผอ. เขต กทม. ประธาน สสอ. ผอ. ศูนย์บริการ สธ. เขตเลขา )
เวชกรรมสังคม
เวชศาสตร ์ครอบครัว
หน่วยบริการที่ไม่สังกัด สป. สธ.
มีแพทย์เวชศาสตร ์ครอบครัว
ศสม
.
รพ.
สต.
รพ.
สต.
รพ.
สต.
คลินิก
ชุมชน
อบอุ่น
ร้าน
ยา
คุณภา
พ
หน่วย
ร่วม
ให้บริ
การ
หน่วย
ร่วม
ให้บริ
การ
ทีม
1
ทีม
2
ทีม
3
ทีม
1
ทีม
2
ทีม
3
PCC 1 PCC 2
ทีมอาเภอ
ทีมตาบล /
พื้นที่ / แขวง
ทีมชุมชน
นายแพทย์ชูชัย ศรชานิ
chuchai.sn@gmail.com
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัดTuang Thidarat Apinya
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWC Triumph
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านAimmary
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการchonchai55
 
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพWajana Khemawichanurat
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์Utai Sukviwatsirikul
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค พัน พัน
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 

What's hot (20)

ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
 
Structure of Health Systems
Structure of Health Systems Structure of Health Systems
Structure of Health Systems
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
Lesson 10 Healthcare Economics
Lesson 10 Healthcare EconomicsLesson 10 Healthcare Economics
Lesson 10 Healthcare Economics
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 

Similar to Introduction2 publichealth

8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5Chuchai Sornchumni
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
สาธารณสุขเขตเมือง
สาธารณสุขเขตเมืองสาธารณสุขเขตเมือง
สาธารณสุขเขตเมืองChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกChuchai Sornchumni
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพssuserb84afe
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...Borwornsom Leerapan
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21Komatra Chuengsatiansup
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Borwornsom Leerapan
 

Similar to Introduction2 publichealth (20)

Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
Access&quality of care
Access&quality of careAccess&quality of care
Access&quality of care
 
Functions of Health Systems
Functions of Health SystemsFunctions of Health Systems
Functions of Health Systems
 
หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5หมออนามัยVol.5
หมออนามัยVol.5
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
สาธารณสุขเขตเมือง
สาธารณสุขเขตเมืองสาธารณสุขเขตเมือง
สาธารณสุขเขตเมือง
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
 
Epidemiology
EpidemiologyEpidemiology
Epidemiology
 

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiChuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchaiโอกาสขยายงานSubacute chuchai
โอกาสขยายงานSubacute chuchai
 

Introduction2 publichealth

  • 2. เรื่องราวเกี่ยวกับสุขภาพ และ สุขภาวะของ “สังคม มนุษย์” ในมุมมองของ Public Health 1. สุขภาวะของมนุษย์คือ อะไรกัน แน่ ? 2. ระบบบริการการแพทย์ (Medical Care) ระบบการ สาธารณสุข (Public Health) กับ สุขภาวะ 3. ระบบการสาธารณสุข เพื่อสุข ภาวะประชากรถ้วนหน้า
  • 3. “สุขภาพ” และ “สุข ภาวะ” ของสังคม มนุษยชาติ ใน ่
  • 4. ความคิดที่เปลี่ยนแปลงในปลายศตวรรษที่ 20 Health is A Right (Not A Privilege) “… health, which is a state of complete physical, mental and social wellbeing, and not merely the absence of disease or infirmity, is a fundamental human right and … a most important world-wide social goal.”Alma Ata Declaration-1973
  • 6. คาจากัดความ สุขภาวะ ในเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 2016 - 2030 = Health and Well - being WHO: องค์การอนามัยโลก • Health = สุขภาพของ มนุษย์ไม่ใช่เพียงแค่ ปราศจากโรค แต่ต้อง เป็ น สภาวการณ์ที่ดีทาง กายภาพ จิตใจ และการ อยู่ดีมีสุขในสังคมในทุก
  • 8. เป้ าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2016-2030 SDG 3: Ensure healthy lives and promote wellbeing for all at all ages 3.1 Reduce the global maternal mortality 3.2 End preventable deaths of newborns and children under 5 years of age 3.3 End the epidemics of AIDS, tuberculosis, malaria and neglected tropical diseases and combat hepatitis, water-borne diseases and other communicable diseases. 3.4 Reduce by one third premature mortality from
  • 9. เป้ าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2016-2030 SDG 3: Ensure healthy lives and promote wellbeing for all at all ages 3.5 Strengthen the prevention and treatment of substance abuse, including narcotic drug abuse and harmful use of alcohol. 3.6 By 2020, halve the number of global deaths and injuries from road traffic accidents. 3.7 By 2030, ensure universal access to sexual and reproductive health-care services, including for family planning, information and education, and the integration of reproductive health into national strategies and programmes. 3.8 Achieve universal health coverage, including financial risk protection, access to quality essential health-care services and access to safe, effective, quality and affordable essential
  • 11. ประเทศไทยปัจจุบัน เป็ นประเทศรายได้ระดับปานกลางค่อนข้างสูง (Higher Middle Income Country) ความท้าทาย ต่อการพัฒนาสุขภาวะประชาชนถ้วนหน้า • คนชั้นกลาง คนเมือง คนมีความรู ้ Gen Y คนแก่ • นโยบายประชากรกับอนามัยเจริญ พันธุ ์ใหม่ • โภชนาการกับ “ช่องว่าง”รายได้ • คุ้มครองผู้บริโภค • ตัวบ่งชี้สุขภาวะเปลี่ยนโรคและภัย เปลี่ยน ภัยพิบัติจากธรรมชาติ • เทคโนโลยีบริการ • เทคโนโลยีการสื่อสารและ สารสนเทศ เทคโนโลยีการขนส่ง EquityEnvironment Health Access to Healthy Food Schools/ Child care Health facilities Community Safety/ Violence Transportation Traffic patterns Work environments Housing Parks/Open Space/ Playgrounds
  • 12. 21st Century Determinants of Health and well-being
  • 13. การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรเป็ นยอด ปรารถนาของทุกสังคม • ประเทศที่มีระดับความเป็ นอารยะสูง ระบบการพัฒนาที่ดี ระบบการดูแล สุขภาพประชากร จะเป็ นกิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่มีสัดส่วนสูงตามไปด้วย — การบริโภค อาจจะบริโภคอยู่ระหว่าง 5% ถึง 16% ของ GDP • ผู้ให้บริการผู้ทางานในภาคบริการ สุขภาพ และการสาธารณสุข มี >10 ้ “สถานะสุขภาพที่ดี” เป็ นแก่นกลาง เพื่อสร้างคุณภาพสังคมและยกระดับความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ
  • 14. ดุลยภาพ 4 อย่าง แนวคิดการพัฒนาสุขภาวะ (Health and well-being for all at all age) เป็ นแนวคิดการส่งเสริมบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มีความเข้มแข็ง เสมอภาค ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง Leave no one behind โดยจัดดุลย ภาพเสริมความเข้มแข็ง ของ 1. Human biology (Heredity) 2. Environment 3. Lifestyle (Behaviour) 4. Health care delivery WHO- UNICEF : 1978 at Alma-Ata
  • 15. มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน ยุคใหม่ Comprehensive Health Care The provision of personal (MCH, Child Welfare, School Health, Occupational Health, etc.) and impersonal health services (water supply, communicable disease control, vector control, etc.) to a community for the prevention of disease, cure of illness, prevent disability and
  • 17. มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน ยุคใหม่ Community Medicine The art and science of application of technical knowledge and skills to the delivery of healthcare to a given community, designed in collaboration with related professions as well as human and social
  • 18. มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน ยุคใหม่ Vertical Program A single program of health services for community. For example, Expanded Program on Immunization (EPI). The staff of this service is only concerned with the
  • 19. มีคาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพประชาชนใน ยุคใหม่ Horizontal Program • A health service delivery program which covers the two dimensions of health, personal and community health. Most often the vertical programs are merged into existing health facilities in which case it becomes a horizontal
  • 20. ระบบบริการทางการแพทย์กับ การ สาธารณสุข HOW CAN YOU INCORPORATE PUBLIC HEALTH INTO CLINICAL PRACTICE? Public health is about each of us taking responsibility for advancing the health of the public, our community’s health!
  • 21. ระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ A health system needs staff, funds, information, supplies, transport, communications and overall guidance and direction. And it needs to provide services that are responsive and financially fair, while treating - caring people.ที่มา Roemer MI. National health systems of the world, volume 1. New York, Oxford University Press, 1991 การ ให้บริการ ที่เข้าถึง ตัว ประชาช น การจัด โครงสร้าง และ กระบวนก าร การ จัดการ ระบบ การสนับสนุน ทางเศรษฐกิจ ผลิต ภาพ ของ ทรัพยา กร
  • 22. Goals ระบบสุขภาพ ในศตวรรษที่ 21 Improve efficiency To secure fairness of financial contribution (equity concerns) To be responsive to user’s needs To improve health and to reduce health inequalities (average & distribution) Source : WHO 2000
  • 23. ระบบสุขภาพ กับ การสาธารณสุข Health and well-being is due to Social Conditions ระบบสุขภาพของประเทศ = การผสม ส่วนกันของหน่วยปฏิบัติการบริการที่ดูแล สุขภาวะ , การส่งเสริมสนับสนุนให้มี ทรัพยากรบุคคลที่เพียงพอ สมรรถนะดี, กลไกการเงินที่ดี, ระบบข้อมูลสารสนเทศ, การจัดโครงสร้างองค์กรที่เชื่อมโยงสอดคล้อง กับสถาบันและทรัพยากรสุขภาพ, และ โครงสร้างการบริหาร เพื่อบรรลุเป้ าหมาย สุขภาพดีและการอยู่ดีมีสุข ที่มา Roemer MI. National health systems of the world, volume 1. New York, Oxford University Press, 1991 It is the sum total of all the organizations, institutions and resources whose primary purpose is to improve health and well - being.
  • 24. หลักการ 7 ประการของการพัฒนาระบบสุขภาพ Source: World Health Organization. Everybody’s Business: Strengthening health systems to improve health outcomes—WHO’s Framework for Action. Geneva: WHO, 2007, page 3. 1. Health service delivery system 2. Health workforce 3. Leadership and governance to assure quality 4. Health systems financing 5. Supplying medical products and technologies 6. Health systems information 7. Households
  • 25. Holy Grail? จอกศักดิ์สิทธิ์ที่ “นักพัฒนาระบบสุขภาพ” ตามหา นักพัฒนาระบบสุขภาพของทุก ประเทศ ต่างก็แสวงหาหนทาง สร้าง สมดุล ระหว่าง • การเข้าถึง ระบบบริการทาง การแพทย์และ ระบบการ สาธารณสุข ที่ดี • ระบบบริการทางการแพทย์และ ระบบการสาธารณสุข ที่มีคุณภาพ • ระบบบริการทางการแพทย์ และ ระบบการสาธารณสุข ที่มีต้นทุนที่
  • 26. การสาธารณสุข Public Health • The science and art of Preventing disease, Prolonging life and Promoting Health and Efficiency through organized community efforts • Public Health shapes the context within which people and communities can be safe and healthy.
  • 27. สาธารณสุข Medical Care System vs Public Health System ระบบบริการการแพทย์ (Medical Care) Individual Health ระบบการสาธารณสุข (Public Health) Population Health Best outcome for individual • Healthy community • Balance of individual autonomy vs. limitations on individual • Balance in allocation of resources • Focus on prevention
  • 28. สาธารณสุข Medical Care System vs Public Health System ระบบบริการการแพทย์ (Medical Care) Individual Health ระบบการสาธารณสุข (Public Health) Population Health • Patient • Practitioner • Chief complaint • History & Physical • Laboratory tests • Clinical Diagnosis • Treatment plan • Home monitoring and • A defined population • A health system • Community perceptions • Professional opinions • Epidemiologic analysis • Community Diagnosis • Interventions • Monitoring efforts
  • 29. สาธารณสุข Medical Care System vs Public Health System ระบบบริการการแพทย์ (Medical Care) Saving lives ‘1’ at a time ระบบการสาธารณสุข (Public Health) Saving lives ‘millions’ at a time • Vital signs : Thermometer, Stethoscope • Lab. Chemistry , Imaging : CT, MRI, • Vital statistics • Epidemiology • Surveillance : ACTIVE surveillance
  • 30. ขอบเขตการปฏิบัติการ การสาธารณสุข The Scope of Public Health • Infectious diseases • Chronic diseases – Heart disease, metabolic disorders, cancer, etc. – Mental health • Nutrition disorders • Substance abusers: drugs, alcohol, • Accidents/violence/injuri es • Health equity • Occupational health • Environmental health • Health of the vulnerable – e.g. poor, children, women, elderly, etc. – Safety Net Services : Those services that are so essential that we provide them
  • 31. US Department of Health and Human Services. A Public Health Action Plan to Prevent Heart Disease and Stroke: Executive Summary and Overview CDC 2003 กรณีตัวอย่าง มาตรการทางการสาธารณสุขสาหรับ NCD โรคหัวใจและหลอดเลือด
  • 32. ระบบการสาธารณสุขในยุคใหม่ มีปฏิสัมพันธ ์ที่ ซับซ้อน Public Health As A Complex System Laboratory Facilities EMS Doctors Schools Mental Health Drug Treatment Civic GroupsFoster care Hospitals Tribal Health Police Fire Jails Economic Development Philanthropist Employers Elected Officials Parks Mass Transit Health Department Environmental Health Community Centers Home Health Churches
  • 33. ระบบการสาธารณสุข แห่งอนาคต The Future of the Public’s Health Policy development 3. Inform, educate people about health issues 4. Mobilize community partnerships to solve health problems 5. Develop policies and plans Assessment 1. Monitor health status to ID community health problem 2. Diagnose and investigate health problems and hazards Assurance 6. Enforce laws and regulations that protect health and ensure safety 7. Link people to health services and assure care 8. Assure a competent public health and health care work force 9. Evaluate effectiveness of programs Serving all functions 10.Research for new, innovative solutions to health problems IOM, The Future of the Public’s Health, 2002 Major Functions & 10 Essential Services
  • 34. Health promotion, disease prevention, disability limitation and rehabilitation by 1. Primary prevention 2. Secondary prevention 3. Tertiary prevention
  • 35. สุขภาวะประชากรจะเกิด ถ้วนหน้าได้ ด้วยระบบการ สาธารณสุข KEEPING THE PUBLIC HEALTHY Broad invisible aspects of public health • Public health = การสาธารณะ + สุข • Public health = การบริการ
  • 36. แนวคิด และปฏิบัติการใหม่ของระบบการ สาธารณสุข แนวคิดดั้งเดิม → • อยู่ในสถานที่ตั้งและ กระบวนการทางาน ขยาย การบริการเข้าไปในที่ที่ขาด แคลน • งาน MCH งานสุขาภิบาล ควบคุมโรคติดต่อ • บริการพื้นฐาน กับการรักษา โรคบางโรคเล็กน้อย แนวคิดและปฏิบัติการทางการ สาธารณสุขใหม่ • เป็ นจุดยุทธศาสตร ์คานงัด เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงสู่ การมี สุขภาวะดี ถ้วนหน้า (Health and well-being for all) • งานที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการเพื่อเกิด อยู่ดี มีสุข แก่ทุกคนในชุมชนจริง และ ชุมชนเสมือนจริง (Virtual community)
  • 37. แนวคิด และปฏิบัติการใหม่ของระบบการ สาธารณสุข แนวคิดดั้งเดิม → • พัฒนาสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาล • เทคโนโลยีอย่างง่าย ให้ อาสาสมัครเป็ นผู้ช่วย • เข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อขอ สนับสนุนงบประมาณจากผู้ มีฐานะดีในพื้นที่ • งบประมาณจากรัฐ มาแบบ ระบบงบประมาณรายปี ตัดสินใจ สั่งการจาก แนวคิดและปฏิบัติการทางการ สาธารณสุขใหม่ • ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมเพื่อ สุขภาพ ปรับวิถีการใช้ชีวิต และขจัดปัดเป่ าปัจจัย ภยันตราย • ทีมผู้ปฏิบัติงานในชุมชน ส่งเสริมให้เข้าถึงและใช้ เทคโนโลยีสื่อสาร สนับสนุน เทคโนโลยีจัดการสุขภาพ ตนเอง • งบประมาณแบบใหม่ๆ เจรจา
  • 38. แนวคิด และปฏิบัติการใหม่ของระบบการ สาธารณสุข แนวคิดดั้งเดิม → • การให้งบประมาณมาจาก ภาครัฐ เพื่อให้บริการตาม นโยบายส่วนกลาง • บริหารความจากัด ขาด แคลน • โรงพยาบาลเป็ นผู้ให้บริการ การสงเคราะห์และเป็ นศูนย์ ปฏิบัติการด้านการ สาธารณสุขด้วย • การสาธารณสุขคือการ ลงทุนถูกๆ ต้องการ แนวคิดและปฏิบัติการทางการ สาธารณสุขใหม่ • งบประมาณและทรัพยากรเป็ น การบูรณาการจากทุกแหล่งภาค ส่วน (ประชารัฐ) เพื่อ universal coverage • บริหารเป็ นเครือข่าย ทาได้ทั่วโลก เพื่อประสิทธิภาพ ความเป็ นธรรม ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง • ระบบการสาธารณสุข เป็ น ศูนย์กลางของ coordinator of a comprehensive response • การลงทุนทางการสาธารณสุข
  • 39. กลยุทธ ์และเครื่องมือของนักการสาธารณสุข Intervention Strategies • Immunization programs • Health education • Behavioral modification strategies • Community intervention/mobilizat ion • Occupational environment • Living environment (e.g. air quality) • Surveillance/informatio n systems (evaluation) • Policy development and implementation • Political pressure
  • 41. กลยุทธ ์และเครื่องมือของนักการสาธารณสุข Instruments • Direct Controls – Regulations – Prohibitions – Compulsions • Indirect Controls – Tariffs/Taxes – Subsidies – Grants • Surveys • Surveillance • Morbidity and mortality reporting • Provides health insurance • Provides health care • Maintains healthy environment • Informs people about
  • 42. สมรรถนะหลัก นักการสาธารณสุข • Epidemiology • Biostatistics • Environmental Health • Health Services Administration • Social & Behavioral Science • Cultural Competence • Community-based • Informatics • Genomics • Communication • Policy & Law • Global Health • Ethics
  • 43. ก้าวสู่นักการสาธารณสุขแห่งยุค 4.0 • ปฏิรูประบบวิธีทางาน เพื่อให้ผู้คนถ้วน หน้าได้เข้าถึง และอยู่ดี มีสุขอย่างเท่า เทียม เสมอภาค (UNIVERSAL COVERAGE REFORMS) • ปฏิรูปการให้บริการสาธารณสุขเชิงรุก ถึงที่แบบส่งมอบที่มองปัญหาสุขภาวะ ของประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (SERVICE DELIVERY REFORMS) • ปฏิรูประบบการประกาศและดาเนินการ นโยบายสาธารณะ เพื่อปกป้ องสุขภาพ ประชาชนในประเด็นสาธารณะ (PUBLIC POLICY REFORMS)
  • 44. ระบบการสาธารณสุข กับ ประกันสุขภาพ และ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UNIVERSAL HEALTH COVERAGE
  • 45.
  • 46. ระบบการสาธารณสุข นักการสาธารณสุข ระบบบริการทาง การแพทย์ กับ การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าNatural resources depletion Population growth Aging society Economic racing Globalization / regionalization (Maximization of competitive edges) Environmental degradation Climate changes Emerging diseases Communication technologies Social disruption Inequity / injustice War / terrorism Unsustainable growth Consumerism Individualism Rivalry ดัดแปลงจาก การบรรยาย ศ. นพ. จรัส สุวรรณเวลา ในการประชุม WONCA Asia Pacific Regional Unsecure Health and well-being
  • 47. ปลายศตวรรษที 20 และ ศตวรรษ 21 : กับนักการ สาธารณสุข โลกแห่งทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ ความคิดการ พัฒนาที่เปลี่ยนแปลงHealth Comes from Purchased Medical Care “No man . . . has a right to medical care; if he cannot pay for what he needs, then he must depend on voluntary charity.” Health insurance • A system of paying for unpredictable needs for health care Leonard Peikoff, The Ayn Rand Institute
  • 48. ทาไมสังคมมนุษยชาติยุคนี้ ต้องมีการ ประกัน สุขภาพ ระดับปัจเจกบุคคล ความไม่แน่นอน (Uncertainty) • ในการได้รับโรค (contacting diseases) • ในความรุนแรงของการเจ็บป่ วย (severity of illness) • ในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล (medical expenditure) กระทบต่อสถานะทางการเงินของครัวเรือน = รายได้ = รายจ่ายด้านสุขภาพ เวลา
  • 49. ทาไมสังคมมนุษยชาติยุคนี้ ต้องมีการ ประกัน สุขภาพ ระดับสังคม ความไม่เป็ นธรรม (Inequity) • ในการจ่ายเงิน (financial contribution) • ในการเข้าถึงและการใช้บริการ (access & utilization) • ในค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (expenditure) การจ่ายเงิน การใช้บริการ ค่าใช้จ่ายของบริการรายได้
  • 50. หลักการพื้นฐานของ การประกันสุขภาพ 1. การเฉลี่ยความเสี่ยง ระหว่างบุคคล (Risk sharing & pooling) เสี่ยง มาก (ป่ วย) เสี่ยง น้อย (ไม่ ป่ วย) เงินที่จ่าย เงินที่ใช้ เงินที่จ่าย เงินที่ใช้ Pool risk
  • 51. หลักการพื้นฐานของ การประกันสุขภาพ 2. การปกป้ องความเสี่ยง ภายในบุคคล (intra- personal risk protection) = เงินที่เก็บสะสม = รายจ่ายเมื่อป่ วย เวลา (อายุ)
  • 52. หลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพ 3. การปกป้ องความเสียหายที่รุนแรง (Protection for catastrophic damage or expenditure for life) เบี้ยประกัน เงินที่ใช้สาหรับความ เสียหายที่รุนแรง Catastrophic diseases expenditure
  • 53. หลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพ 4. การเจือจานรายได้ระหว่างบุคคล (Inter-personal income subsidy) เฉลี่ยความเสี่ยง (ระหว่างรายได้เท่ากัน) เจือจานรายได้ (ระหว่างความเสี่ยงเท่ากัน ) ความเสี่ยง ต่า สูง รายได้ ต่า สูง การจ่ายเงิน การถ่ายเท การใช้บริการ เฉลี่ยความเสี่ยง (ระหว่างรายได้เท่ากัน) เจือจานรายได้ (ระหว่างความเสี่ยงเท่ากัน ) ความเสี่ยง ต่า สูง รายได้ ต่า สูง การจ่ายเงิน การถ่ายเท การใช้บริการ
  • 56.
  • 57.
  • 58. แนวคิดการพัฒนา 1. การสร้างหลักประกันสุขภาพ (Universal Health Coverage) การทาให้ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพ โดยใช้หลักการของสวัสดิการและการ ประกันสุขภาพ 2. สวัสดิการด้านสุขภาพ (Health Welfare) ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ เป็ นการลงทุนขั้น พื้นฐานของรัฐ ให้ทั่วถึงกันโดยไม่ต้อง แบ่งแยกยากดีมีจน 3. การประกันสุขภาพ (Health Insurance)
  • 59. สร้างประกันสุขภาพถ้วนหน้า ด้วยยุทธศาสตร ์ 3 แกน ตามข้อแนะนาองค์การอนามัยโลก
  • 60. ประเภทของการประกันสุขภาพ ภายใต้แนวคิดเดียวกัน สร้าง Universal Health Coverage 1. การสร้างหลักประกันสุขภาพ จากระบบภาษี (tax-based health insurance) หรือ Beveridge model 2. การประกันสุขภาพแบบบังคับ (compulsory health insurance) หรือ Bismarck model 3. การประกันสุขภาพแบบสมัคร
  • 62. รูปแบบของระบบประกันสุขภาพ ในนานาประเทศ แตกต่างกัน แต่ภายใต้แนวคิดเดียวกัน สร้าง Universal Health Coverage • Beveridge model (ระบบ ภาษี) อังกฤษ สวีเดน เดนมาร ์ก มาเลเซีย ฮ่องกง • Bismarck model (ระบบจ่าย เบี้ยประกัน) เยอรมัน ฝรั่งเศส เนเธอร ์แลนด์ สวิตเซอร ์แลนด์ • Mixed (ระบบผสม) • Saving account (บัญชี ออมทรัพย์ภาคบังคับ) สิงคโปร ์(Medisave) • Community fund (กองทุนชุมชน) สเปน
  • 63. การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี (Tax-based health insurance หรือ Beveridge model) กรณีของประเทศไทย ความท้าทาย ความเสี่ยง • มีความไม่แน่นอน ต้องไปแข่งขันกับกระทรวงอื่นในการ ของบประมาณ • ถูกการเมืองแทรกแซงได้ง่ายและมาก • มีปัญหาเรื่องการขาดประสิทธิภาพของระบบราชการ และการไม่ค่อยตอบสนองต่อความต้องการของ ประชาชน
  • 64. ทาไมสังคม 4.0 ต้องมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่องว่าง ความเหลื่อมล้า และ การลงทุนในทรัพยากร มนุษย์สาหรับพลเมือง Everyone should get the care they need (from a defined package) without experiencing financial hardship as a result • Focus is on ensuring people get the health care
  • 65. หลัก ประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า UNIVERSAL HEALTH COVERAGE องค์การอนามัยโลก (2010) ให้คาจากัดความของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ว่า ต้องสร้างให้เป็ นสิทธิของประชาชนที่จะสามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขได้ตามความต้องการ ทั้งด้านการ ป้ องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาที่จาเป็ น และการ ฟื้นฟู สมรรถภาพ โดยปราศจากความเสี่ยงด้าน ความสามารถทางการเงิน และการกีดกั้นด้านบริการ Universal health coverage, as defined by WHO requires all people to have access to needed health services -prevention, promotion, treatment and rehabilitation - without the risk of financial hardship associated with
  • 66.
  • 67.
  • 68. Note: CSMBS: civil servant medical benefit scheme, SSS: social security scheme 1975 Medical welfare scheme For the poor 27 years 2002, UHC • UC scheme 75% of pop • Social Security 15% • Civil Servant 9% 68 68 พัฒนาการของ การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ของไทย
  • 69. รูปแบบการประกันสุขภาพ ไทย มีระบบย่อยรายละเอียด • สวัสดิการสังคม (public welfare) • หลักประกันสุขภาพ (บัตรสุขภาพ) • ประกันสังคม ภาคบังคับ (Social Security Scheme SSS) • กองทุนเงินทดแทน (workmen’s compensation) • สวัสดิการข้าราชการ (Civil Servant Medical Benefit Scheme : CSMBS) • ประกันผู้ประสบจากรถ (Traffic Accident Protection Scheme :TAPS)
  • 70. 70 ปัญหาและสถานการณ์ การประกันสุขภาพของไทย ก่อนปี 2545 Civil Servant Med Benefit Scheme Hospital rev kept and used by hospital (more flexible) Social Health Insurance Scheme Out-of-pocket from households Low income card scheme Voluntary Health Card Scheme Govt block Grant 30% of pop - uninsured people MOPH facility - Capital e.g. building, equipment - Salary & operating Govt budget: line item CLOSE ENDED BUDGET Hospital line item budget (not flexible) Rigor financial audit (either report or onsite audits) by Auditor General and monthly financial report to MOPH Govt budget OPEN ENDED Contribut. CLOSE ENDED BUDGET
  • 71. การดาเนินการ สร้างประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ปี 2545 เป็ นต้นมา 71 Civil Servant Med Benefit Scheme Hospital rev kept and used by hospital (more flexible) Social Health Insurance Scheme Govt budget OPEN ENDED Contribut. CLOSE ENDED BUDGET Govt Grant CLOSE ENDED BUDGET UC Scheme managed by National Health Security Office (NHSO) [consolidate a) Low income scheme b) voluntary H Card c) new budget US$ 1 billion for 18m uninsured, d) previously supply side subsidies to MOPH hospitals MOPH facility - Capital e.g. building, equipment - Salary Govt budget: line item CLOSE ENDED Hospital line item budget (not flexible) Rigor financial audit (either report or onsite audits) by Auditor General and monthly financial report to MOPH
  • 73. 73 Civil Service Medical Benefits Scheme (CSMBS): gov. officers and dependents Social security scheme (SSS): private formal employees Universal Coverage Scheme(UCS): the rest of Thai citizens Thai citizens Safety Net BudgetBudgeting Beneficiary Population Financing Tax กองทุนประกันสุขภาพ “ภาครัฐ” พลวัตรของการจัดการกองทุน และ “สิทธิ” ประโยชน์แก่คนไทยทุกคน Tripartite contribution Tax
  • 74. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UCS (อายุผู้มีสิทธิบัตรทอง) Source: Bureau of Registration Administration, NHSO 1,470,134, 2% 9,750,818, 15% 29,937,321, 47% 14,939,648, 23% 7,304,398, 11% 1,123,273, 2% The UCS schemes classified by age groups, FY2013 ทารก 0-1 ปี เด็ก 1-15 ปี ผู้ใหญ่ 15 - 59 ปี หญิงวัยเจริญพันธ์ ผู้สูงอายุ>60ปี ผู้พิการ Newborn 0-1 yrDisables 1-15 yr 15-59 yr Female, reproductive ages Elders > 60 yr
  • 75. งบประมาณ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UCS บัตรทอง รายการ 2556 2557 2558 2559 2560 อัตรางบเหมาจ่ายรายหัว 2,755.60 2,895.09 2,895.09 3,028.94 3,109.87 งบค่าบริการกรณีเฉพาะ (CR) 262.10 271.33 301.01 305.29 315.14 สัดส่วนงบ CR ต่ออัตราเหมาจ่ายรายหัว 9.51% 9.37% 10.40% 10.08% 10.13%
  • 76. รายการ เงินกองทุนที่ได ้รับ (ล ้านบาท) ปี 2560 ปี 2561 1. บริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว 151,770.6746 156,019.6223 2. บริการผู ้ติดเชื้อเอชไอวีและผู ้ป่ วยเอดส์ 3,122.4080 3,218.2496 3. บริการผู ้ป่ วยไตวายเรื้อรัง 7,529.2353 8,165.6070 4. บริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง 960.4090 1,080.7033 5. ค่าใช ้จ่ายเพิ่มเติมสาหรับหน่วยบริการในพื้นที่กันดาร พื้นที่เสี่ยงยัย และพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนยาคใต ้ 1,490.2875 1,490.2880 6. ค่าบริการสาธารณสุขสาหรับผู ้สูงอายุที่มียาวะพึ่งพิง 900.0000 1,159.2000 7. ค่าบริการสาธารณสุขเพิ่มเติมสาหรับการบริการระดับปฐมยูมิที่มี แพทย์ประจาครอบครัว - 240.0000 รวมทั้งสิ้น 165,773.0144 171,373.6703 จานวนเงินเดือนหน่วยบริการยาครัฐฯ 42,307.2340 44,840.5392 คงเหลืองบกองทุนที่ส่งให ้สปสช. 123,465.7804 126,533.1311 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบฯ 2561: ที่ได้รับ 2.8%
  • 77. ประเภทบริการ ปี 2560 บาท/คน ปี 2561 อัตรา (บาท/คน) ผลต่างปี60 % เพิ่มลด 1.บริการผู้ป่ วยนอกทั่วไป 1,137.58 1,167.41 29.83 2.62 2.บริการผู้ป่ วยในทั่วไป * 1,090.41 1,113.93 23.52 2.16 3.บริการกรณีเฉพาะ 315.14 337.08 21.94 6.96 4.บริการสร ้างเสริมสุขยาพและป้องกันโรค** 405.29 415.55 10.26 2.53 5.บริการฟื้นฟูสมรรถยาพด ้านการแพทย์ 16.13 16.13 - - 6.บริการแพทย์แผนไทย 11.61 11.61 - - 7.ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะ งบ ลงทุน 128.69 128.69 - - 8.เงินช่วยเหลือเบื้องต ้นตามมาตรา 41 5.02 4.92 -0.10 -1.99 9.บริการจ่ายตามคุณยาพผลงานบริการ - 2.00 2.00 100.00 รวม 3,109.87 3,197.32 87.45 2.81 ประชากรลงทะเบียน UC (ล ้านคน) *** 48.80 48.80 - - เงินเดือนหน่วยบริการยาครัฐ (ล ้านบาท) 42,307.23 44,840.54 2,533.31 5.99 เปรียบเทียบงบเหมาจ่ายรายหัวปี2560-ปี2561 : ที่ได้รับ
  • 78. งบประมาณ 2559 หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า UCS บัตรทอง บริการ CR 12,320 เพิ่ม 3,865 บริการฟื้นฟู 512 เพิ่ม 239 บริการแผนไทย 293 เพิ่ม 229 งบเหมาจ่ายรายหัว 147,811 8.3% 0.3% 0.2% CR รวมคิดเป็น 10.3% ของงบ เหมาจ่าย หน่วย : ล ้านบาท
  • 79. ปัจจัยที่ใช้คานวณงบประมาณเงินกองทุน หลักการคานวณ คือ PQ approach, Standard activity base costing และ ตามเงื่อนไขบริการ ค่าบริการเหมาจ่าย รายหัว นอกเหมาจ่ายรายหัว (5 รายการ) • อัตราการใช ้บริการ (UR) • ต ้นทุนต่อหน่วยบริการ • Cost Inflation rate • coverage สาหรับบริการ P&P • สิทธิประโยชน์ใหม่ • ผลงานและเป้าหมายการใช ้บริการ • ต ้นทุนบริการ ปัจจัยหลักต่องบประมาณรายการหลักระเบียบวิธี
  • 82. ผลของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่คนไทย Reduced incidence of catastrophic health spending (out-of-pocket > 10% total consumption) 5.1 7.1 3.4 3.8 3.7 2.8 2.8 2.9 6 7.1 5 5.5 5.6 4.9 3.7 4.7 6.8 6.1 0 2 4 6 8 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2007 2008 2009 Year Incidencecatastrophichealthspending% Q1 Q5 Source: Analysis of Socio-economic Survey (SES)
  • 84. IP utilization rate classified by age, UCS scheme : ผู้ป่ วยใน สิทธิบัตรทอง - 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 1.20 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 อายุ IP utilization rate - UCS49-52, est.53-54 T49 T50 T51 T52 est.T53 est.T54
  • 85. 85 FY2005 FY2006 FY2007 FY2008 FY2009 FY2010 total cancer patients who were treated 74,626 78,647 83,285 89,315 96,160 110,599 วยสิทธิบัตรทอง โรค Catastrohic ที่เกิดความเสียหายที่รุนแ access to cancer treatment FY2005-2010 Note: data of members in UC Scheme only
  • 87. 1. Health system related issues 2. Financing and management issues 3. Stakeholder and networking • Strengthening health system โดยเฉพาะ primary care • พัฒนาสิทธิประโยชน์ Prevention and promotion • Long term care for aging society • ส่งเสริมกระจายอานาจความเป็นอิสระในการจัดบริการ • การร่วมจัดการกระจายทรัพยากรบุคคล • การจัดการคุณยาพ ความปลอดยัย และ Health technology assessment • การร่วมพัฒนาแผนจัดบริการสุขยาพ ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ 1.Health system related issues
  • 88. 1. Health system related issues 2. Financing and management issues 3. Stakeholder and networking • การสื่อสารสร ้างความตระหนักเข ้าใจในการจัดการสุขยาพ ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน • ดาเนินการเพื่อให ้เกิดความครอบคลุมสิทธิของผู้ด ้อยโอกาส marginal and specific groups of Thai citizen • Engaging private sector in the provision of health care especially in urban areas and establish a system for public and private health-care providers in Thailand • พัฒนา model to manage epidemiological transition and the aging of the population ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ 1.Health system related issues
  • 89. • ความยั่งยืนกองทุน ความเสมอยาค (sustainability and equity in financing of the UCS) • Harmonization of benefit package and provider payment methods among public health insurance schemes • Standardization of provider payment methods and benefit packages among schemes • Establishment of active and effective health care purchaser (central and local) • Co-finance with community fund • Using purchasing power to increase quality of care : Value based healthcare 1. Health system related issues 2. Financing and management issues 3. Stakeholder and networking ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ 2. Financing and management issues
  • 90. 1. Health system related issues 2. Financing and management issues 3. Stakeholder and networking • Balancing the use of financing mechanism and other measures to maintain a good relationship between health care providers, and between health care providers and consumers • Strong network of public and private participation • กองทุน matching fund กับ องค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่น ทิศทางการพัฒนา UCS ในระบบสุขภาพ 3. Stakeholder and networking
  • 91. Achieve Universal Health Coverage 4.0
  • 93.
  • 94. Primary Care Cluster คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ District Health Board (นายอาเภอ ผอ. เขต กทม. ประธาน สสอ. ผอ. ศูนย์บริการ สธ. เขตเลขา ) เวชกรรมสังคม เวชศาสตร ์ครอบครัว หน่วยบริการที่ไม่สังกัด สป. สธ. มีแพทย์เวชศาสตร ์ครอบครัว ศสม . รพ. สต. รพ. สต. รพ. สต. คลินิก ชุมชน อบอุ่น ร้าน ยา คุณภา พ หน่วย ร่วม ให้บริ การ หน่วย ร่วม ให้บริ การ ทีม 1 ทีม 2 ทีม 3 ทีม 1 ทีม 2 ทีม 3 PCC 1 PCC 2 ทีมอาเภอ ทีมตาบล / พื้นที่ / แขวง ทีมชุมชน
  • 95. เขต 6 มี 16 แห่ง ดังนี้ ฉะเชิงเทรา :อ.บ ้านโพธิ์ อ.พนมสารคาม อ.บางน้าเปรี้ยว สมุทรปราการ : อ.บางพลี อ.เมือง ระยอง :อ.วังจันทร์ อ.บ ้านฉาง ปราจีนบุรี : อ.ศรีมหาโพธิ์ จันทบุรี :อ.แหลมสิงห์ อ.สอยดาว อ.เขาสุกิม ตราด:อ.เขาสมิง อ.คลองใหญ่ สระแก ้ว:อ.วังน้าเย็น ชลบุรี : อ.พนัสนิคม อ.แหลมฉบัง เขต 8 มี 14 แห่ง ดังนี้ เลย : อ.ด่านซ ้าย อ.เมือง อุดรธานี : อ.น้าโสม อ.บ ้านผือ อ.นายูง หนองบัวลายู: อ.ศรีบุญเรือง บึงกาฬ:อ.ศรีวิไล อ.พรเจริญ สกลนคร:อ.วานรนิวาส อ.พังโคน อ.คาตากล ้า นครพนม:อ.นาหว ้า อ.โพนสวรรค์ หนองคาย:อ.เมือง เขต 10 มี 21 แห่ง ดังนี้ ยโสธร: อ.กุดชุม อ.คาเขื่อนแก ้ว อ.ทรายมูล ศรีสะเกษ : อ.ขุนหาญ อ.ราษีไศล อ.ปรางกู่ อ.อุทุมพรพิสัย อ.ไพรบึง อุบลราชธานี : อ.เมือง อ.วารินชาราบ อ.ตระการพืชผล อ.เขื่องใน อ.ม่วงสามสิบ อานาจเจริญ : อ.พนา อ.เสนางคนิคม อ.เมือง อ.ชานุมาน อ.หัวตะพาน อ.ลืออานาจ อ.ปทุมราชวงศา มุกดาหาร: อ.หว ้านใหญ่ เขต 4 มี 19 แห่ง ดังนี้ นนทบุรี : อ.เมือง อ.ไทรน้อย ปทุมธานี : อ.ลาลูกกา อ.เมือง อ.คลองหลวง อ.หนองเสือ สระบุรี : อ.แก่งคอย อ.ดอนพุด อ.มวกเหล็ก อ.บ ้านหมอ ลพบุรี : อ.ลาสนธิ อ.เมือง อ.ท่าหลวง นครนายก: อ.องค์รักษ์ อ.บ ้านนา สิงห์บุรี: อ.ท่าช ้าง อ.บางระจัน พระนครศรีอยุธยา : อ.ท่าเรือ อ่างทอง :อ.โพธิ์ทอง เขต 1 มี 15 แห่ง ดังนี้ เชียงราย : อ.เชียงของ อ.เมือง อ.แม่ลาว อ.พญาเม็งราย น่าน : อ.ปัว เชียงใหม่ : อ.สารยี อ.ดอยเต่า แม่ฮ่องสอน : อ.ปางมะผ ้า ลาพูน : อ.บ ้านโฮ่ง อ.ลี้ แพร่: อ.สูงเม่น อ.หนองม่วงไข่ ลาปาง :อ.แม่พริก อ.เถิน พะเยา :อ. ปง เขต 7 มี 20 แห่ง ดังนี้ กาฬสินธุ์ : อ.กุฉินาราย์ อ.ยางตลาด อ.คาม่วง อ.ท่าคันโท อ.ร่องคา อ.หนองกุงศรี ขอนแก่น : อ.น้าพอง อ.อุบลรัตน์ อ.ซาสูง อ.บ ้านฝาง อ.ชุมแพ อ.เมือง อ.บ ้านฝาง มหาสารคาม : อ.เมือง อ.บรบือ ร ้อยเอ็ด : อ.อาจสามารถ อ.เมือง อ.โพนทอง อ.เกษตรวิสัย อ.สุวรรณยูมิ เขต 5 มี 14 แห่ง ดังนี้ ราชบุรี : อ.สวนผึ้ง อ.โพธาราม อ.บางแพ สุพรรณบุรี :อ.เดิมบางนางบวช อ.เมือง อ.อู่ทอง ประจวบคีรีขันธ์ : อ.บางสะพานน้อย อ.ปราณบุรี เพชรบุรี : อ.หนองหญ ้าปล ้อง อ.ท่ายาง สมุทรสาคร:อ.กระทุ่มแบน สมุทรสงคราม : อ.บางคนที นครปฐม : อ.นครชัยศรี กาญจนบุรี : อ.บ่อพลอย เขต 9 มี 13 แห่ง ดังนี้ ชัยยูมิ : อ.หนองบัวระเหว อ.คอนสวรรค์ อ.ยักดีชุมพล นครราชสีมา : อ.จักราช อ.บัวใหญ๋ อ.โนนสูง อ. ขามสะแกแสง อ.เมือง บุรีรัมย์ : อ.กระสัง อ.เมือง อ.พลับพลาชัย สุรินทร์ : อ.ปราสาท อ.ชุมพลบุรี เขต 2 มี 14 แห่ง ดังนี้ ตาก : อ.เมือง อ.บ ้านตาก อ.บ ้านตาก อ.แม่ระมาด พิษณุโลก : อ.นครไทย อ.บางระกา อ.เมืองพิษณุโลก เพชรบูรณ์ : อ.หล่มเก่า อ.ชนแดน อุตรดิตถ์ : อ.บ ้านโคก อ.ตรอน อ.ลับแล สุโขทัย: อ.สวรรคโลก อ.กงไกรลาศ พื้นที่เครือข่ายสุขภาพอาเภอ 200 พื้นที่ เขต 3 มี 13 แห่ง ดังนี้ ชัยนาท : อ.มโนรมย์ อ.วัดสิงห์ กาแพงเพชร: อ.คลองลาน อ.เมือง อ.พรานกระต่าย พิจิตร : อ.สามง่าม อ.วชิรบารมี อ.โพธิ์ประทับช ้าง นครสวรรค์ : อ.ตาคลี อ.เมือง อ.เก ้าเลี้ยว อุทัยธานี: อ.สว่างอารมณ์ อ.ทัพทัน เขต 11 มี 24 แห่ง ดังนี้ ชุมพร : อ.ทุ่งตะโก อ.หลังสวน อ.สวี อ.ท่าแซะ อ.ปะทิว อ.เมือง อ.ละแม อ.พะโต๊ะ นครศรีธรรมราช : อ.ฉวาง อ.สิชล อ.ฉวาง อ.ท่าศาลา สุราษฎร์ธานี : อ.กาญจนดิษฐ์ อ.ชัยบุรี อ.เกาะสมุย อ.เมือง กระบี่ : อ.อ่าวลึก อ.คลองท่อม อ.เมือง พังงา: อ.ท ้ายเหมือง อ.เกาะยาว ระนอง:อ.สุขสาราญ อ.กะเปอร์ ยูเก็ต : อ.เมือง เขต 12 มี 17 แห่ง ดังนี้ นราธิวาส : อ.ตากใบ อ.บาเจาะ ปัตตานี : อ.หนองจิก อ.กะพ ้อ อ.เมือง อ.ยะหริ่ง ยะลา : อ.รามัน อ.ปันนังสตา สงขลา : อ.นาทวี อ.จะนะ อ.สทิงพระ อ. เทพา อ.หาดใหญ่ สตูล : อ.ละงู อ.ทุ่งหว ้า พัทลุง : อ.เมือง ตรัง :ห ้วยยอด
  • 96. Primary Care Cluster กับ District Health Board คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ District Health Board (นายอาเภอ ผอ. เขต กทม. ประธาน สสอ. ผอ. ศูนย์บริการ สธ. เขตเลขา ) เวชกรรมสังคม เวชศาสตร ์ครอบครัว หน่วยบริการที่ไม่สังกัด สป. สธ. มีแพทย์เวชศาสตร ์ครอบครัว ศสม . รพ. สต. รพ. สต. รพ. สต. คลินิก ชุมชน อบอุ่น ร้าน ยา คุณภา พ หน่วย ร่วม ให้บริ การ หน่วย ร่วม ให้บริ การ ทีม 1 ทีม 2 ทีม 3 ทีม 1 ทีม 2 ทีม 3 PCC 1 PCC 2 ทีมอาเภอ ทีมตาบล / พื้นที่ / แขวง ทีมชุมชน
  • 97.
  • 98.