SlideShare a Scribd company logo
จาก Personalized Health care (การดูแลสุขภาพเฉพาะส่วนตั๊ว ส่วนตัว ) สู่ Precision medicine
(การดูแลรักษา ส่งเสริมป้องกันโรคที่จาเพาะสาหรับคนคนนั้นคนเดียวเลย ต่อเนื่องตลอดชีวิต)
นายแพทย์ ชูชัย ศรชานิ
ย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 วงการแพทย์และสาธารณสุขมีคาใหม่ที่เป็นความก้าวหน้า คือการดูแลรักษาสุขภาพ
ตามข้อมูลส่วนตัว ที่เรียกว่า Personalized Health Care คือซักประวัติ ตรวจร่างกายเจาะเลือด เอ๊กเรย์นาย
ก เด็กหญิง ข ได้ความว่าอย่างไร ก็ดูแลตามแผนการรักษาที่เฉพาะตัว สูงต่าดาขาว ผู้ชาย ผู้หญิง คนนั้นๆ
นี่พอย่างเข้าปีที่ 19 แห่งศตวรรษที่ 21 เรามีคาที่ใหม่กว่า มานาเสนอครับ ชื่อว่า precision medicine คือ
จาเพาะเจาะจง สาหรับโครโมโซม สภาพของเพศ วัย เชื้อโรค หรือโรคในขณะนั้นของคนไข้ หรือการส่งเสริม
สุขภาพ ป้องกันโรคด้วยวัคซีนเฉพาะล่วงหน้าเลย สาหรับคนนั้น
Precision medicine เป็นวิธีการแพทย์ชนิดใหม่ที่ใช้ในการรักษาและป้องกันโรค โดยคานึงถึงความ
หลากหลายของพันธุกรรมหรือยีน (Genes) สิ่งแวดล้อม และวิถีการใช้ชีวิต (Lifestyle) ของแต่ละคน เป็นการ
รักษาแบบแม่นยาและจาเพาะคน ต่างจากการรักษาในอดีตที่ใช้วิธีรักษาที่เป็นกลางๆ ใช้ได้กับทุกคน (One-
size-fits-all approach) ซึ่งไม่ได้คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ที่จริง precision medicine ก็ใช้มาบ้างแล้วในทางการแพทย์ เช่น กรณีการถ่ายเลือด (Blood
transfusions) และ การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ transplants) ที่ต้องมีการตรวจเช็คถึงการเข้ากันได้ทาง
พันธุกรรมระหว่างผู้ให้และผู้รับว่าเป็นไปได้ไหม ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการแทรกซ้อน
นอกจากนี้ เภสัชพันธุศาสตร์ (Pharmacogenomics) ก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Precision medicine
เพราะเป็นการศึกษาถึงความผิดแผกทางพันธุกรรมของมนุษย์ ที่เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลทาให้แต่ละบุคคลมี
การตอบสนองต่อยาแตกต่างกัน เป็นการรวมศาสตร์ของยาและการศึกษาพันธุกรรมเข้าด้วยกัน เพื่อการ
เลือกใช้ยาและปรับขนาดยาให้เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย โดยมุ่งหวังให้ได้รับประสิทธิผลยาสูงสุด และลด
โอกาสเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเหล่านั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ด้วยการนาเอารายละเอียดเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยีน (Genetic changes) มาใช้ใน Precision
medicine จะทาให้ช่วยตัดสินได้ว่า ควรเลือกการรักษาแบบไหนที่เหมาะกับผู้ป่วย ซึ่งปัจจุบัน ก็ยังอยู่ระหว่าง
การศึกษาทดลอง และยังไม่สามารถใช้รักษาได้กับทุกคน
โดยในส่วนของการศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยีนมาใช้นั้น ทาได้ด้วยการตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ (Biopsy)
หรือที่เรียกกันว่า DNA sequencing, Genomic testing, Molecular profiling, หรือ Tumor profiling
สาหรับการใช้ Precision medicine เพื่อการป้องกันนั้น อาจทาได้ด้วยการดูจากประวัติสุขภาพของ
ครอบครัว (Family health history) ว่าคนในครอบครัวเป็นโรคอะไร ตรวจหาโรคนั้นก่อนการป่วยจริง เช่น
ในสหรัฐอเมริกาจะมีการตรวจคัดกรองสาหรับเด็กเกิดใหม่ (Newborn screening) เพื่อทาการรักษาก่อนที่จะ
ป่วยจริง หาวิธีป้องกันที่เหมาะเป็นคนๆ ไป (Tailoring Prevention) เช่น ผู้หญิงที่มี BRCA1 หรือ BRCA2
mutation จะมีโอกาสในการเป็นโรคมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งรังไข่สูง ในขณะที่คนมี Lynch syndrome จะมี
โอกาสในการเป็นโรคมะเร็งลาไส้ หรือคนที่มี Familial hypercholesterolemia ก็มักจะเป็นโรคหัวใจ ซึ่งเมื่อ
ทราบถึงผลที่อาจเกิด จะได้หาวิธีป้องกันโรคแต่เนิ่นๆ ได้
มนุษย์เราในยุคนี้ จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การรักษา การป้องกันโรค การปรับอาหาร ปรับพฤติกรรม
จะเป็นเฉพาะตัว และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
จาก Precision medicine สู่ภาคปฏิบัติ Continuous glucose monitoring (CGM)
วัดระดับน้าตาลอย่างต่อเนื่อง
Continuous glucose monitoring (CGM) หรือเครื่องวัดระดับน้าตาลอย่างต่อเนื่อง คือเครื่องมือที่
ใช้วัดระดับน้าตาลโดยการใช้ sensor ที่ติดไว้ที่ชั้นใต้ผิวหนัง (subcutaneous) ซึ่งจะทาการวัดระดับน้าตาล
และส่งค่าที่อ่านได้ไปยังเครื่องรับ ค่าน้าตาลจะแสดงออกมาอย่างต่อเนื่องทุก 5 นาที
CGMS แบ่งออกเป็น
1. Real time continuous glucose monitoring system (RT-CGM) คือ เครื่องมือแสดงผลค่า
น้าตาลปัจจุบันที่หน้าจอทันที โดยส่งสัญญานจาก sensor ผ่านไปที่โทรศัพท์มือถือของผู้เป็นเบาหวาน
หรือผู้มีความเสี่ยงเป็นเบาหวาน โทรศัพท์มือถือของญาติที่ดูแล และแพทย์พยาบาลประจา ดังนั้น
ท่านจึงสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงของค่าน้าตาลได้ตลอดเวลา ทาให้การดูแลเบาหวานเป็นไป
อย่างปลอดภัย และสามารถใช้เป็นตัว guide ในการปรับเปลี่ยนอาหาร พฤติกรรมกิจกรรมทางกาย
(Physical activity) เพื่อไม่ให้ระดับน้าตาลในเลือดขึ้น – ลง อย่างผิดปกติ ในระหว่างวัน มาก หรือ
น้อยเกินไป อันจะทาให้สภาพการณ์ทางสรรีระวิทยา ของร่างกายแย่ลงอย่างรวดเร็ว
2. Professional continuous glucose monitoring system คือ เป็นการต่อเนื่องต่อเชื่อมกับ ข้อ
1 ด้วยการติดเครื่องตรวจวัดระดับน้าตาลต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 6 วัน จากนั้นถอดเครื่องที่แปะติดตัว
คนไข้นั้นอยู่แล้ว ออกมาเพื่อดูผลน้าตาลย้อนหลัง มีประโยชน์สาหรับบุคลากรทางการแพทย์ในการ
ปรับเปลี่ยนการรักษา การปรับยา ให้เป็นยาเฉพาะตัวคนไข้ (Precision medication) การปรับ
อาหารและมื้ออาหาร (Precision food and nutrition) การปรับวิถีการออกกาลังกายภายใต้ coach
(Precision physical activity)
ประโยชน์ของการตรวจวัดระดับน้าตาลอย่างต่อเนื่อง
 ผู้ป่วยและญาติ สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการดูแลสุขภาพตนเองได้ real time อันจะนาสู่การวาง
แผนการใช้ชีวิตประจาวันล่วงหน้า ในระหว่างมื้ออาหารในวันนั้นๆ ของผู้ป่วย ผู้มีความเสี่ยงเบาหวาน
ได้เลย (ตัวอย่างเช่น เที่ยงนี้ต้องไปรับประทานอาหารกลางวันกับสมาคม จะมีการรับประทานอาหาร
ที่แคลอรี่สูง คาร์โบไฮเดรตมาก ค่าพื้นฐานของน้าตาลเช้านี้ เท่ากับ XXX ดังนั้นก่อนออกจากบ้าน
ต้องออกกาลังกายด้วยวิธีที่ coach แนะนา ก่อน tt นาที และรับประทานยาไปก่อนหน้าจานวน c
เม็ด / หรือ วันนี้ระดับน้าตาลนิ่งดี และออกกาลังกายดี อาจจะงดยามื้อเย็น ฯลฯ) โดยปรับการจัดการ
สุขภาพตนเอง ทั้งยา อาหาร ออกกาลังกายได้อย่างเหมาะสม
 แพทย์ ปรับเปลี่ยนวิธีการรักษา (เช่น ยากิน หรือฉีดอินซูลิน) ให้ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม สามารถ
วินิจฉัย ป้องกัน และแก้ไข ภาวะ Hypoglycemia และ Hyperglycemia ได้ สามารถควบคุมระดับ
น้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์เป้าหมายได้ดีขึ้น สามารถควบคุมระดับน้าตาลให้ใกล้เคียงกับเกณฑ์ที่
ต้องการชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้

More Related Content

What's hot

แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
Mahidol University, Thailand
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
Aphisit Aunbusdumberdor
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
wichudaice
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
pop Jaturong
 
ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือดความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
Surapol Sriboonsong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong
 
จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
Rattanawan Tharatthai
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Paweena Phangs
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
Suradet Sriangkoon
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 

What's hot (20)

แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือดความเสี่ยงในการเจาะเลือด
ความเสี่ยงในการเจาะเลือด
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)
 
Snake Bite
Snake BiteSnake Bite
Snake Bite
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 

Similar to Precision medicine

Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
nunanong rodcheuy
 
Introduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol University
Introduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol UniversityIntroduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol University
Introduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol University
Paibul Suriyawongpaisal
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
jyotismo
 
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55Anothai
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
4LIFEYES
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
Press Trade
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
Utai Sukviwatsirikul
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
Chuchai Sornchumni
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
soshepatites
 

Similar to Precision medicine (14)

เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbgเส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Introduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol University
Introduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol UniversityIntroduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol University
Introduction to community medicine @ Ramathibodi, Mahidol University
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
 
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
ปวดกระดูกและข้อ ปัญหาที่รอไม่ได้
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
 

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Chuchai Sornchumni
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
Chuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
Chuchai Sornchumni
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
Chuchai Sornchumni
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
Chuchai Sornchumni
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
Chuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
Chuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
Chuchai Sornchumni
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
Chuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
Chuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
Chuchai Sornchumni
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
Chuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
Chuchai Sornchumni
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
Chuchai Sornchumni
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
Chuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 

Precision medicine

  • 1. จาก Personalized Health care (การดูแลสุขภาพเฉพาะส่วนตั๊ว ส่วนตัว ) สู่ Precision medicine (การดูแลรักษา ส่งเสริมป้องกันโรคที่จาเพาะสาหรับคนคนนั้นคนเดียวเลย ต่อเนื่องตลอดชีวิต) นายแพทย์ ชูชัย ศรชานิ ย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 วงการแพทย์และสาธารณสุขมีคาใหม่ที่เป็นความก้าวหน้า คือการดูแลรักษาสุขภาพ ตามข้อมูลส่วนตัว ที่เรียกว่า Personalized Health Care คือซักประวัติ ตรวจร่างกายเจาะเลือด เอ๊กเรย์นาย ก เด็กหญิง ข ได้ความว่าอย่างไร ก็ดูแลตามแผนการรักษาที่เฉพาะตัว สูงต่าดาขาว ผู้ชาย ผู้หญิง คนนั้นๆ นี่พอย่างเข้าปีที่ 19 แห่งศตวรรษที่ 21 เรามีคาที่ใหม่กว่า มานาเสนอครับ ชื่อว่า precision medicine คือ จาเพาะเจาะจง สาหรับโครโมโซม สภาพของเพศ วัย เชื้อโรค หรือโรคในขณะนั้นของคนไข้ หรือการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรคด้วยวัคซีนเฉพาะล่วงหน้าเลย สาหรับคนนั้น Precision medicine เป็นวิธีการแพทย์ชนิดใหม่ที่ใช้ในการรักษาและป้องกันโรค โดยคานึงถึงความ หลากหลายของพันธุกรรมหรือยีน (Genes) สิ่งแวดล้อม และวิถีการใช้ชีวิต (Lifestyle) ของแต่ละคน เป็นการ รักษาแบบแม่นยาและจาเพาะคน ต่างจากการรักษาในอดีตที่ใช้วิธีรักษาที่เป็นกลางๆ ใช้ได้กับทุกคน (One- size-fits-all approach) ซึ่งไม่ได้คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ที่จริง precision medicine ก็ใช้มาบ้างแล้วในทางการแพทย์ เช่น กรณีการถ่ายเลือด (Blood transfusions) และ การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ transplants) ที่ต้องมีการตรวจเช็คถึงการเข้ากันได้ทาง พันธุกรรมระหว่างผู้ให้และผู้รับว่าเป็นไปได้ไหม ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการแทรกซ้อน นอกจากนี้ เภสัชพันธุศาสตร์ (Pharmacogenomics) ก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของ Precision medicine เพราะเป็นการศึกษาถึงความผิดแผกทางพันธุกรรมของมนุษย์ ที่เป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลทาให้แต่ละบุคคลมี การตอบสนองต่อยาแตกต่างกัน เป็นการรวมศาสตร์ของยาและการศึกษาพันธุกรรมเข้าด้วยกัน เพื่อการ เลือกใช้ยาและปรับขนาดยาให้เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย โดยมุ่งหวังให้ได้รับประสิทธิผลยาสูงสุด และลด โอกาสเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเหล่านั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการนาเอารายละเอียดเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยีน (Genetic changes) มาใช้ใน Precision medicine จะทาให้ช่วยตัดสินได้ว่า ควรเลือกการรักษาแบบไหนที่เหมาะกับผู้ป่วย ซึ่งปัจจุบัน ก็ยังอยู่ระหว่าง การศึกษาทดลอง และยังไม่สามารถใช้รักษาได้กับทุกคน
  • 2. โดยในส่วนของการศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยีนมาใช้นั้น ทาได้ด้วยการตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ (Biopsy) หรือที่เรียกกันว่า DNA sequencing, Genomic testing, Molecular profiling, หรือ Tumor profiling สาหรับการใช้ Precision medicine เพื่อการป้องกันนั้น อาจทาได้ด้วยการดูจากประวัติสุขภาพของ ครอบครัว (Family health history) ว่าคนในครอบครัวเป็นโรคอะไร ตรวจหาโรคนั้นก่อนการป่วยจริง เช่น ในสหรัฐอเมริกาจะมีการตรวจคัดกรองสาหรับเด็กเกิดใหม่ (Newborn screening) เพื่อทาการรักษาก่อนที่จะ ป่วยจริง หาวิธีป้องกันที่เหมาะเป็นคนๆ ไป (Tailoring Prevention) เช่น ผู้หญิงที่มี BRCA1 หรือ BRCA2 mutation จะมีโอกาสในการเป็นโรคมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งรังไข่สูง ในขณะที่คนมี Lynch syndrome จะมี โอกาสในการเป็นโรคมะเร็งลาไส้ หรือคนที่มี Familial hypercholesterolemia ก็มักจะเป็นโรคหัวใจ ซึ่งเมื่อ ทราบถึงผลที่อาจเกิด จะได้หาวิธีป้องกันโรคแต่เนิ่นๆ ได้ มนุษย์เราในยุคนี้ จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การรักษา การป้องกันโรค การปรับอาหาร ปรับพฤติกรรม จะเป็นเฉพาะตัว และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • 3. จาก Precision medicine สู่ภาคปฏิบัติ Continuous glucose monitoring (CGM) วัดระดับน้าตาลอย่างต่อเนื่อง Continuous glucose monitoring (CGM) หรือเครื่องวัดระดับน้าตาลอย่างต่อเนื่อง คือเครื่องมือที่ ใช้วัดระดับน้าตาลโดยการใช้ sensor ที่ติดไว้ที่ชั้นใต้ผิวหนัง (subcutaneous) ซึ่งจะทาการวัดระดับน้าตาล และส่งค่าที่อ่านได้ไปยังเครื่องรับ ค่าน้าตาลจะแสดงออกมาอย่างต่อเนื่องทุก 5 นาที CGMS แบ่งออกเป็น 1. Real time continuous glucose monitoring system (RT-CGM) คือ เครื่องมือแสดงผลค่า น้าตาลปัจจุบันที่หน้าจอทันที โดยส่งสัญญานจาก sensor ผ่านไปที่โทรศัพท์มือถือของผู้เป็นเบาหวาน หรือผู้มีความเสี่ยงเป็นเบาหวาน โทรศัพท์มือถือของญาติที่ดูแล และแพทย์พยาบาลประจา ดังนั้น ท่านจึงสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงของค่าน้าตาลได้ตลอดเวลา ทาให้การดูแลเบาหวานเป็นไป อย่างปลอดภัย และสามารถใช้เป็นตัว guide ในการปรับเปลี่ยนอาหาร พฤติกรรมกิจกรรมทางกาย (Physical activity) เพื่อไม่ให้ระดับน้าตาลในเลือดขึ้น – ลง อย่างผิดปกติ ในระหว่างวัน มาก หรือ น้อยเกินไป อันจะทาให้สภาพการณ์ทางสรรีระวิทยา ของร่างกายแย่ลงอย่างรวดเร็ว 2. Professional continuous glucose monitoring system คือ เป็นการต่อเนื่องต่อเชื่อมกับ ข้อ 1 ด้วยการติดเครื่องตรวจวัดระดับน้าตาลต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 6 วัน จากนั้นถอดเครื่องที่แปะติดตัว คนไข้นั้นอยู่แล้ว ออกมาเพื่อดูผลน้าตาลย้อนหลัง มีประโยชน์สาหรับบุคลากรทางการแพทย์ในการ ปรับเปลี่ยนการรักษา การปรับยา ให้เป็นยาเฉพาะตัวคนไข้ (Precision medication) การปรับ อาหารและมื้ออาหาร (Precision food and nutrition) การปรับวิถีการออกกาลังกายภายใต้ coach (Precision physical activity) ประโยชน์ของการตรวจวัดระดับน้าตาลอย่างต่อเนื่อง  ผู้ป่วยและญาติ สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการดูแลสุขภาพตนเองได้ real time อันจะนาสู่การวาง แผนการใช้ชีวิตประจาวันล่วงหน้า ในระหว่างมื้ออาหารในวันนั้นๆ ของผู้ป่วย ผู้มีความเสี่ยงเบาหวาน ได้เลย (ตัวอย่างเช่น เที่ยงนี้ต้องไปรับประทานอาหารกลางวันกับสมาคม จะมีการรับประทานอาหาร
  • 4. ที่แคลอรี่สูง คาร์โบไฮเดรตมาก ค่าพื้นฐานของน้าตาลเช้านี้ เท่ากับ XXX ดังนั้นก่อนออกจากบ้าน ต้องออกกาลังกายด้วยวิธีที่ coach แนะนา ก่อน tt นาที และรับประทานยาไปก่อนหน้าจานวน c เม็ด / หรือ วันนี้ระดับน้าตาลนิ่งดี และออกกาลังกายดี อาจจะงดยามื้อเย็น ฯลฯ) โดยปรับการจัดการ สุขภาพตนเอง ทั้งยา อาหาร ออกกาลังกายได้อย่างเหมาะสม  แพทย์ ปรับเปลี่ยนวิธีการรักษา (เช่น ยากิน หรือฉีดอินซูลิน) ให้ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม สามารถ วินิจฉัย ป้องกัน และแก้ไข ภาวะ Hypoglycemia และ Hyperglycemia ได้ สามารถควบคุมระดับ น้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์เป้าหมายได้ดีขึ้น สามารถควบคุมระดับน้าตาลให้ใกล้เคียงกับเกณฑ์ที่ ต้องการชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้