SlideShare a Scribd company logo
เทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
(การออกแบบและเทคโนโลยี)
การสร้างชิ้นงานด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
การวิเคราะห์คุณสมบัติ ของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
ปัจจัยในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือในการทาโครงงานหรือชิ้นงาน
แหล่งที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ และอ่านค่าเพื่อทาความเข้าใจคุณสมบัติ
การสร้างชิ้นงาน ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม
การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือ ในการสร้างชิ้นงาน
การสร้างชิ้นงานด้วยกลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวชี้วัด
• ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงานและปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางาน (ว 4.1 ม.3/5)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
o งานประปา
ท่อประปา สามารถจาแนกได้ ดังนี้
1. ท่อ PVC (PolyVinylChloride) คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
ประเภทวัสดุ : พลาสติก
มีน้าหนักเบา ราคาถูก สามารถดัดงอได้ และ
ไม่เกิดสนิมในท่อน้า แต่ไม่สามารถทนต่อแรง
กระแทก ความดัน และอุณหภูมิสูง ๆ ได้
นิยมใช้ทั่วไปสาหรับงานระบบน้าประปา น้าดื่ม
หรืองานท่อน้าประปาภายในบ้านพักอาศัยหรือ
อาคารทั่วไป ในสภาวะอุณหภูมิปกติ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ท่อ PP-R (Polypropylene
Random Copolymer)
คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
ประเภทวัสดุ : พลาสติก
ทนอุณหภูมิได้สูง ทนแรงดันได้สูง ไม่เป็นสนิม
ป้องกันการรั่วซึมได้ดี แต่ไม่สามารถทนต่อ
แรงกระแทกแรง ๆ ได้จึงไม่เหมาะกับการติดตั้ง
ใต้พื้นดิน
สามารถใช้ได้กับบ้านพักอาศัยหรืออาคาร
ทั่วไป
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. ท่อ PE (PolyEthylene)
คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
ประเภทวัสดุ : พลาสติก
ยืดหยุ่นได้ดี สามารถขดเป็นม้วนได้
ทนต่อแรงกระแทกและแสงแดด
มีอายุการใช้งานยาวนาน
นิยมใช้เป็นท่อน้าดื่ม สามารถใช้ได้ทั้งภายใน
อาคาร ภายนอกอาคาร และฝังใต้ดิน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. ท่อเหล็กเคลือบสังกะสี
คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
ประเภทวัสดุ : โลหะ
มีความแข็งแรงสูง รับน้าหนักได้ดี ทนทานต่อ
แรงกระแทก ความดัน และอุณหภูมิที่สูง
นิยมใช้กับระบบน้าอุ่น หรือระบบน้าร้อน
ในห้องน้า
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. ข้อต่อต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน
ใช้เชื่อมต่อกับท่อประปา ก๊อกน้า หรือสุขภัณฑ์
ต่าง ๆ ตามลักษณะการใช้งานที่ต้องการ เช่น
ต้องการต่อท่อ PVC 2 อัน ต่อตรงกันจะต้องใช้
ข้อต่อตรง หากต้องการต่อทามุมฉากต้องใช้
ข้องอ
อุปกรณ์และเครื่องมือจาเป็นในงานประปาที่ควรรู้
ข้อต่อตรง ข้องอ ข้อต่อสามทาง
ข้อต่อตรง
เกลียวใน
ข้อต่อตรง
เกลียวนอก
ข้องอเกลียวใน ข้องอเกลียวนอก
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. เทปพันเกลียว ลักษณะการใช้งาน
ใช้พันเกลียวในการต่อท่อที่มีเกลียวเข้ากับ
ข้อต่อก๊อกน้า หรือสุขภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้การ
ต่อแน่นหนา และป้องกันน้ารั่วไหล
3. น้ายาต่อท่อพลาสติก ลักษณะการใช้งาน
ใช้สาหรับต่อท่อพลาสติกเข้ากับข้อต่อต่าง ๆ
โดยการทาน้ายานี้ที่ข้อต่อและท่อพลาสติก แล้ว
นาท่อพลาสติกสวมเข้ากับข้อต่อ น้ายาจะละลาย
ผิวท่อพลาสติกให้อ่อนตัวและละลายติดกัน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. กรรไกรตัดท่อ PVC ลักษณะการใช้งาน
ใช้สาหรับตัดท่อ PVC เพื่อต่อเติมระบบท่อ
หรือซ่อมแซมระบบท่อเดิมที่เกิดการรั่วซึม
หรือชารุดเสียหาย
5. เลื่อยตัดเหล็ก ลักษณะการใช้งาน
ใช้สาหรับตัดท่อพลาสติกและท่อเหล็กเพื่อ
ต่อเติมระบบท่อ หรือซ่อมแซมระบบท่อเดิมที่
เกิดการรั่วซึม หรือชารุดเสียหาย
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6. คีมคอม้า ลักษณะการใช้งาน
ใช้ยึดจับท่อน้า หรือใช้ในการช่วยขันและคลาย
เกลียวท่อน้า
7. ก๊อกน้า ลักษณะการใช้งาน
ใช้ต่อเข้ากับท่อระบบประปาเพื่อเปิด-ปิดน้า
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
o งานไฟฟ้า
ชนิดของสายไฟฟ้าพื้นฐาน
1. สาย VAF/VAF-G คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
• สาย VAF จะไม่มีสายกราวด์ส่วนสาย
VAF-G จะมีสายกราวด์ (สีเขียวคาด เหลือง)
นิยมใช้ทั่วไปในระบบไฟฟ้าที่เดินภายใน
บ้านพักอาศัยหรืออาคารทั่วไป สายประเภทนี้
ไม่นิยมนามาเดินร้อยท่อหรือฝังใต้ดิน
ประเภทวัสดุ :
• สายหุ้มพลาสติก
• ภายในเป็นโลหะ
• ทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน 70°
C และทนแรงดัน
ไฟฟ้าได้300-500V
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. สาย THW
คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
เป็นสายแกนเดี่ยวทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน 70°
C
และทนแรงดันได้350- 700V
สามารถใช้ได้กับบ้านพักอาศัยหรืออาคารทั่วไป
นิยมนามาใช้ในงานเดินร้อยท่อและใช้ในงาน
เดินลอยในอากาศ
ประเภทวัสดุ :
• สายหุ้มพลาสติก
• ภายในเป็นโลหะ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. สาย VCT/VCT–G คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
• สาย VCT จะไม่มีสายกราวด์ส่วนสาย
VCT-G จะมีสายกราวด์ (สีเขียวคาดเหลือง)
เพิ่มขึ้นมา อีก 1 เส้น
เป็นสายที่ใช้ทางานได้หลายประเภท ทั้งเดินสายทั่วไป
ร้อยท่อ เดินในราง เดินตีกิ๊บ ฝังดิน และยังเหมาะที่จะ
ใช้เป็นสายเดินเข้าเครื่องจักรที่มีการสั่นสะเทือนขณะ
ใช้งาน เช่น สว่าน ปั๊มน้า
ประเภทวัสดุ :
• สายหุ้มพลาสติก
• ภายในเป็นโลหะ
• เป็นสาย 2-4 แกน ทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน 70°
C และ
ทนแรงดันได้450- 750V โดยตัวนานอกจากจะมี
ฉนวนหุ้มแล้วยังมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. สาย NYY/NYY–G คุณสมบัติ
ลักษณะการใช้งาน
• สาย NYY จะไม่มีสายกราวด์ส่วนสาย NYY– G จะมี
สายกราวด์ (สีเขียวคาดเหลือง) เพิ่มขึ้นมาอีก 1 เส้น
เป็นสายที่สามารถนามาใช้ได้กับงานทั่วไป แต่ส่วนมาก
นิยม นามาเดินในรางและฝังใต้ดิน
ประเภทวัสดุ :
• สายหุ้มพลาสติก
• ภายในเป็นโลหะ
• ทั้งชนิดแกนเดียว และหลายแกนทนอุณหภูมิได้
ไม่เกิน 70°
C และทนแรงดัน ได้450 – 750V
โดย ตัวนานอกจากจะมีฉนวนหุ้มแล้วยังมีเปลือกหุ้ม
อีก 2 ชั้น
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. ไขควงต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน
• ไขควงวัดไฟฟ้าใช้สาหรับตรวจสอบว่า
อุปกรณ์แต่ละชนิดมีกระแสไฟฟ้าอยู่หรือไม่
หากมีหลอดไฟฟ้าภายในไขควงก็จะติด
อุปกรณ์และเครื่องมือจาเป็นในงานไฟฟ้าที่ควรรู้
ไขควงวัดไฟฟ้า
ไขควงแฉก
ไขควงปากแบน
• ไขควงแฉกไขควงปากแบนใช้ในการขัน
และคลายนอต สกรูว ต่อฟิวส์ใส่สวิตช์ไฟ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. คีมต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน
• คีมปอกสายไฟฟ้า ใช้ในการปอกสายไฟฟ้า
คีมปอกสายไฟฟ้า
คีมปากจระเข้ คีมปากจิ้งจก
• คีมตัดสายไฟฟ้า ใช้ในการตัดสายไฟฟ้า
และสายเคเบิลต่าง ๆ
คีมตัดสายไฟฟ้า
• คีมปากจระเข้คีมปากจิ้งจก ใช้สาหรับดัดงอ
จับ ตัด ปอกสายไฟฟ้า
หมายเหตุ คีมทุกประเภทด้ามของคีมจะต้อง
มีฉนวนหุ้มเพื่อป้องกันไฟฟ้าดูด
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. หัวแร้ง ลักษณะการใช้งาน
ใช้ในการบัดกรีเพื่อเชื่อมหรือประสาน
สายไฟฟ้า หรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน
4. มีดคัตเตอร์ ลักษณะการใช้งาน
ใช้ในการปอก ตัดสายไฟฟ้า อีกทั้งยังใช้ในการ
ขูด หรือทาความสะอาดสายไฟฟ้าด้วย
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
5. สว่านไฟฟ้า ลักษณะการใช้งาน
ใช้ในงานเจาะรู งานเดินสายไฟฟ้า
เพื่อยึดอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ
6. ค้อน ลักษณะการใช้งาน
ใช้ในการตอก ถอนตะปูในการเดินสายไฟฟ้า
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7. เต้าตีเส้น ลักษณะการใช้งาน
ใช้ในการตีเส้นให้เป็นแนวตรง ใช้เดินสายไฟฟ้า
8. สิ่ว ลักษณะการใช้งาน
ใช้ในการเซาะร่อง เพื่อให้สายไฟฟ้ารอดผ่านได้
ปัจจัยในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทาโครงงานหรือชิ้นงาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือมีปัจจัยที่ควรพิจารณา ดังนี้
1. งบประมาณ เป็นสิ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อการทาโครงงานมากที่สุด
2. ความเหมาะสม ใช้งานได้หลากหลาย เหมาะสมกับยุคสมัย
3. กรอบเวลาในการดาเนินโครงงาน ระยะเวลาในการจัดหาอยู่ในกรอบที่กาหนด
4. วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่ใช้งานง่ายและสะดวกต่อการบารุงรักษา
5. จุดคุ้มทุน ควรพิจารณาวัสดุ อุปกรณ์ในการใช้งานที่คุ้มค่า
6. เลือกซื้อวัสดุ อุปกรณ์ของผู้ผลิตสินค้าหรืออุปกรณ์ที่น่าเชื่อถือ
7. ผลกระทบที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานหรือใช้งาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
8. เสียงรบกวน หลีกเลี่ยงเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่มีเสียงรบกวนมากเกินไป
9. อายุการใช้งานของอุปกรณ์ เหมาะสมกับอายุของชิ้นงานที่จะพัฒนา
10. การใช้พลังงานของอุปกรณ์นั้น ควรเลือกใช้อุปกรณ์มีการใช้พลังงานต่า
11. การขยายงาน สามารถรองรับการใช้งานในอัตราส่วนที่ต้องการขยายขอบเขตได้
12. หลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่ซ้าซ้อน ไม่เกิดความเสี่ยงต่อชิ้นงาน
13. ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
14. ความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานหรือต่อผู้อื่น
แหล่งที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือและอ่านค่าเพื่อทาความเข้าใจคุณสมบัติ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สิ่งที่สาคัญที่สุดในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ
1. คุณสมบัติ (Specification) 2. คุณลักษณะ (Characteristics)
ใช้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ
วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ
ใช้บ่งบอกถึงสภาพภายนอก รูปลักษณ์
ของอุปกรณ์ ว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง
เช่น
• ทาอะไรได้บ้าง
• รองรับอะไรได้บ้าง
• มีฟังก์ชัน อะไรบ้าง
• มีมาตรฐานอะไรรองรับ
เช่น
• มีปุ่มกด ปุ่มหมุน
• มีสัญญาณไฟ มีจอภาพแสดงผล
• ใช้พลังงานไฟฟ้าหรือพลังงาน
แบตเตอรี่ในการใช้งาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แหล่งสืบค้นข้อมูลที่สาคัญในปัจจุบัน
การใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต Google
พิมพ์คาสืบค้น
ตัวอย่างเช่น “specification มัลติมิเตอร์”
ปรากฏข้อมูลการสืบค้น
คลิกเข้าสู่ริ้งค์เว็บไซด์ของผู้ผลิต
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตัวอย่าง : การสืบค้นคุณสมบัติหรือสเปกของเครื่องมือวัดมัลติมิเตอร์ที่ไม่มีการระบุ
ชื่อของผู้ผลิตหรือยี่ห้อ
1. คาสืบค้นข้อมูล
2. ผลการสืบค้นข้อมูล
3. เว็บไซต์
www.fluke.com/th
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. เข้าสู่เว็บไซต์
5. รูปลักษณ์ของ
เครื่องวัด
มัลติมิเตอร์
6. คุณลักษณะสาคัญของเครื่องวัดมัลติมิเตอร์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ด้านล่างของหน้าเว็บไซต์จะเห็นว่ามีการแสดงรายละเอียด เช่น คุณลักษณะหรือภาพรวม
โดยทั่วไปของผลิตภัณฑ์และข้อมูลจาเพาะก็คือคุณสมบัติหรือสเปก เมื่อกดเข้าไปในรายละเอียดของ
คุณสมบัติจะได้ข้อมูลที่ให้รายละเอียด ดังนี้
7. คลิกเมาส์ที่นี่เพื่อศึกษาข้อมูล
คุณสมบัติหรือสเปกแบบละเอียด
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติของวัสดุ อุปกรณ์
ขนาดและน้าหนัก
ใช้พลังงานประเภทใด
ค่าที่รองรับการทางาน เช่น ค่าสูงสุดและค่าต่าสุดที่วัสดุหรืออุปกรณ์ชิ้นนั้นสามารถรองรับได้
ค่าช่วงการทางานที่บอกถึงขีดจากัดของความสามารถวัสดุหรืออุปกรณ์นั้น
การเชื่อมต่อเช่น ใช้หัวต่อในรูปแบบใด ประเภทใด
ระยะเวลาการใช้งาน เช่น การใช้งานต่อเนื่องมากน้อยเพียงใด
ค่าความเร็ว เช่น ความเร็วรอบ ความเร็วของการประมวลผล
ความปลอดภัยในการใช้งานว่ามีตัวป้องกัน ตัวตัดการทางานหรือวงจรตัดการทางานหรือไม่
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
แนวทางการป้องกันหรือระวังอันตราย
ที่อาจเกิดจากการใช้เครื่องมือในการพัฒนา
1. การป้องกันตัวบุคคล
2. การป้องกันจากวัสดุ
อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ
3. การป้องกันจาก
สภาพแวดล้อม
การแต่งกายรัดกุม
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน
การปฏิบัติตนให้ถูกต้อง
ตามกฎระเบียบ
ด้านความปลอดภัย
มีพื้นที่ในการจัดวาง
ที่เหมาะสม เป็นระเบียบ
ดูแลรักษาความสะอาด
อย่างถูกต้องสม่าเสมอ
ส่งอุปกรณ์เพื่อตรวจสภาพ
ตามระยะเวลาการใช้งาน
จัดพื้นที่ทางาน
ให้เหมาะสมกับงาน
ทาความสะอาดพื้นที่ให้เป็น
ระเบียบและปลอดภัย
ปรับปรุงหลักการ/ระเบียบ
ด้านความปลอดภัยในการ
ใช้สถานที่ให้เหมาะสม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
การสร้างชิ้นงานด้วยกลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
กระบวนการทดสอบแบบแยกส่วน
วางแผนการทดสอบส่วนประกอบ วางรูปแบบของการทดสอบ
ดาเนินการทดสอบ บันทึกผลการทดสอบ
ตรวจสอบผลการทดสอบที่สมบูรณ์แล้ว
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ผังงาน แสดงการรวบรวมในการดาเนินงาน
Start
Component
Test Planning
Component
Test Specification
Component
Test Execution
Component
Test Recording
Checking for
Component
Test Completion
End
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตั้งโจทย์ในการสร้าง
จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์
และเครื่องมือ
ตัดไม้หรือวัสดุที่เลือกใช้
เป็นแผ่นตามแบบแล้วนามา
เชื่อมต่อกันโดยใช้ กาว ปืนกาว
หรือเทปกาว วัดตามขนาดได้
ศึกษารูปแบบของช่องระบายน้าจากมุมมองหลาย ๆ ด้าน
ตัวอย่าง : การสร้างชิ้นงานโมเดลจาลองการเปิด-ปิดประตูระบายน้าที่ทางานด้วยแสง
ประกอบชิ้นส่วนของประตูระบายน้า
ศึกษาส่วนประกอบ
โครงสร้างของประตูระบายน้า
แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน  หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. การสร้างสิ่งประดิษฐ์หรือชิ้นงานที่มีอุปกรณ์หลายชนิดประกอบอยู่
ปัจจัยในการเลือกวัสดุ ควรพิจารณาปัจจัยใดเป็นประเด็นแรก
อุปกรณ์สามารถทางานร่วมกันได้1
งบประมาณมีความเหมาะสม2
ขนาดของอุปกรณ์3
จุดคุ้มทุน4
เฉลย  เพราะการสร้างสิ่งประดิษฐ์หรือชิ้นงาน
ที่มีอุปกรณ์หลายชนิดประกอบอยู่ควรเลือกวัสดุ
ที่อุปกรณ์สามารถทางานร่วมกันได้
1
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
2. ไฟฉายที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย 4 ก้อน โดยแต่ละก้อนมีแรงดัน
ไฟฟ้า 1.5 โวลต์ ดังนั้นควรเลือกใช้หลอดไฟฟ้ากี่โวลต์
หลอดไฟฟ้า 4 โวลต์1
หลอดไฟฟ้า 6 โวลต์2
หลอดไฟฟ้า 9 โวลต์3
หลอดไฟฟ้า 12 โวลต์4
2
เฉลย  เพราะถ่านไฟฉาย1ก้อนจะมีแรงดันไฟฟ้า 1.5โวลต์
เมื่อมี 4 ก้อน ก็เท่ากับ 4×1.5 = 6 โวลต์ ดังนั้นควรเลือกใช้
หลอดไฟฟ้า 6โวลต์เพื่อทาให้เปล่งแสงสว่างได้เต็มประสิทธิภาพ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. สิ่งสาคัญที่สุดที่ควรพิจารณาในการนาวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ มาใช้งานคืออะไร
ราคาของอุปกรณ์1
ขนาดของอุปกรณ์2
คุณสมบัติของอุปกรณ์3
แหล่งจาหน่ายอุปกรณ์4
เฉลย  เพราะสามารถเลือกใช้วัสดุได้เหมาะสมต่อการใช้งาน
เช่นโคมไฟฟ้าควรจะใช้วัสดุที่สะท้อนและกระจายแสงกระทะ
ควรใช้วัสดุที่นาความร้อนและกระจายความร้อนได้ดี
3
4. ถ้าต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานเครื่องมือวัด
ควรเลือกข้อมูลจากแหล่งใด
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เฉลย  เพราะข้อมูลจากผู้ผลิตโดยตรง
จะเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
หนังสือวารสารเครื่องมือวัด1
คาแนะนาจากผู้ใช้งาน2
ข้อมูลจากร้านค้า3
ข้อมูลจากผู้ผลิต44
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
5. ถ้าต้องการให้แรงจากการหมุนของมอเตอร์มีแรงมากขึ้น
ควรทาอย่างไร
เพิ่มแรงดันไฟฟ้า1
เพิ่มค่ากระแสไฟฟ้า2
นาระบบคานมาใช้งาน3
นาระบบเฟืองมาใช้งาน4
เฉลย  เพราะระบบสามารถเพิ่มแรงบิดได้
4
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6. อุปกรณ์ชนิดใดสามารถทางานร่วมกันได้อย่างสมบูรณ์
ถ่านไฟฉาย ตัวนาไฟฟ้า ตัวต้านทาน แอลอีดี1
ถ่านไฟฉาย แอลดีอาร์ ตัวต้านทาน2
ถ่านไฟฉาย มอเตอร์ไฟฟ้า เฟือง3
แอลดีอาร์ แอลอีดี ตัวต้านทาน4
เฉลย  เพราะสามารถนาอุปกรณ์เหล่านี้
มาเชื่อมต่อกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้
1
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
7. ข้อใดนา LDR ไปใช้งานไม่ถูกต้อง
นาไปใช้พัฒนาวงจรแบ่งแรงดัน1
นาไปใช้พัฒนาระบบเปิด-ปิดไฟฟ้าตามระดับแสง2
นาไปใช้พัฒนาหลอดไฟฟ้า LED ที่ประหยัดพลังงาน3
นาไปใช้พัฒนาระบบแผงโซลาร์เซลล์หมุนตามแสงพระอาทิตย์4
เฉลย  เพราะ LDR คือ ตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้
ตามแสงที่ได้รับสามารถนาไปใช้พัฒนาระบบเปิด-ปิด
ไฟฟ้าอัตโนมัติวงจรแบ่งแรงดันหรือแผงโซลาร์เซลล์
หมุนตามแสงพระอาทิตย์ได้แต่ LDR
ไม่สามารถนาไปพัฒนาเป็นหลอดไฟฟ้า LED ได้
3
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
8. เหตุใดจึงควรทดสอบแบบแยกส่วน
ทดสอบได้เร็วขึ้น1
เป็นการทดสอบการทางานครั้งสุดท้าย2
เป็นการทดสอบก่อนตกแต่งครั้งสุดท้าย3
ทาให้ทดสอบและหาข้อผิดพลาดได้ง่าย4
เฉลย  เพราะการทดสอบแบบแยกส่วน
จะช่วยให้หาข้อผิดพลาดได้ง่ายขึ้น
4
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
9. ข้อใดคือข้อดีของการเขียนแบบก่อนสร้างชิ้นงาน
ทาให้ชิ้นงานทางานดีขึ้น1
ทาให้วิเคราะห์ปัญหาได้ง่ายขึ้น2
สร้างชิ้นงานแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้น3
เลือกวัสดุ อุปกรณ์มาใช้งานได้ง่ายขึ้น4
เฉลย  เพราะการเขียนแบบร่างก่อนสร้างชิ้นงาน
จะช่วยสร้างชิ้นงานแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น
3
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เฉลย  เพราะไฟฟ้าริมถนนควรใช้ LDR เพื่อควบคุมการเปิด-ปิด
หลอดไฟฟ้าจากแสงพระอาทิตย์ เมื่อพระอาทิตย์ตกจึงไม่มีแสง
ทาให้หลอดไฟฟ้าสว่าง
10. งานลักษณะใดควรนาตัวต้านทานเปลี่ยนค่าตามแสง หรือ LDR
มาใช้งานมากที่สุด
ระบบเปิดไฟฟ้าอัตโนมัติในบ้านเมื่อมีคนเดินผ่าน1
ไฟริมถนนเปิดอัตโนมัติในเวลากลางคืน2
ประตูเปิดอัตโนมัติในร้านสะดวกซื้อ3
นาฬิกาปลุก4
2

More Related Content

What's hot

ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
Nan's Tippawan
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Poppy Thanawan
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
KruGift Girlz
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
TBnakglan
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
พัน พัน
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติ
Nat Basri
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
Jutarat Bussadee
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากันAon Narinchoti
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลักการนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลักbunpa
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 

What's hot (20)

ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)ความเร็ว (Velocity)
ความเร็ว (Velocity)
 
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน 5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
5.4 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
รูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติรูปเรขาคณิตสามมิติ
รูปเรขาคณิตสามมิติ
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลักการนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
การนสอนแบบปัญหาเป็นหลัก
 
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสารเฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
เฉลย14สมบัติเชิงกลของสาร
 
การแปลงหน่วย
การแปลงหน่วยการแปลงหน่วย
การแปลงหน่วย
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 

Similar to Design and technology 3 unit 5

5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน 5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
TBnakglan
 
IS-IT Support
IS-IT SupportIS-IT Support
IS-IT Support
diseVru
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAnanyaluk Chaiwut
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
Nun Protozoa
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6
Khemjira_P
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมA'llegra Crane
 
โครงการ Logistics
โครงการ Logisticsโครงการ Logistics
โครงการ LogisticsQue Kmutt Thaku
 
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
TBnakglan
 

Similar to Design and technology 3 unit 5 (20)

5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน 5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
5.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน
 
IS-IT Support
IS-IT SupportIS-IT Support
IS-IT Support
 
Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555Intro ic tfored_sep24_2555
Intro ic tfored_sep24_2555
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
Course Outline M6
Course Outline M6Course Outline M6
Course Outline M6
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
Project Com1
Project Com1Project Com1
Project Com1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
โครงการ Logistics
โครงการ Logisticsโครงการ Logistics
โครงการ Logistics
 
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
2.1 ปัญหาและความต้องการของสังคมฯ
 

More from Chompooh Cyp

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filter
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouch
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customize
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basic
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effect
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transform
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & tool
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
Chompooh Cyp
 
Ch10 cp8 publish
Ch10 cp8 publishCh10 cp8 publish
Ch10 cp8 publish
Chompooh Cyp
 
Ch09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizsCh09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizs
Chompooh Cyp
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object management
Chompooh Cyp
 
Ch07 cp8 sound
Ch07 cp8 soundCh07 cp8 sound
Ch07 cp8 sound
Chompooh Cyp
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimedia
Chompooh Cyp
 
Ch05 cp8 button
Ch05 cp8 buttonCh05 cp8 button
Ch05 cp8 button
Chompooh Cyp
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape object
Chompooh Cyp
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide management
Chompooh Cyp
 

More from Chompooh Cyp (20)

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filter
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouch
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customize
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basic
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effect
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transform
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cut
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & tool
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
 
Ch10 cp8 publish
Ch10 cp8 publishCh10 cp8 publish
Ch10 cp8 publish
 
Ch09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizsCh09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizs
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object management
 
Ch07 cp8 sound
Ch07 cp8 soundCh07 cp8 sound
Ch07 cp8 sound
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimedia
 
Ch05 cp8 button
Ch05 cp8 buttonCh05 cp8 button
Ch05 cp8 button
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape object
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide management
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Design and technology 3 unit 5

  • 3. แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ การวิเคราะห์คุณสมบัติ ของวัสดุและลักษณะการใช้งาน ปัจจัยในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือในการทาโครงงานหรือชิ้นงาน แหล่งที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ และอ่านค่าเพื่อทาความเข้าใจคุณสมบัติ การสร้างชิ้นงาน ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือ ในการสร้างชิ้นงาน การสร้างชิ้นงานด้วยกลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 4. ตัวชี้วัด • ใช้ความรู้ และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงานและปลอดภัย เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน (ว 4.1 ม.3/5) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • 5. การวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุและลักษณะการใช้งาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 o งานประปา ท่อประปา สามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. ท่อ PVC (PolyVinylChloride) คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน ประเภทวัสดุ : พลาสติก มีน้าหนักเบา ราคาถูก สามารถดัดงอได้ และ ไม่เกิดสนิมในท่อน้า แต่ไม่สามารถทนต่อแรง กระแทก ความดัน และอุณหภูมิสูง ๆ ได้ นิยมใช้ทั่วไปสาหรับงานระบบน้าประปา น้าดื่ม หรืองานท่อน้าประปาภายในบ้านพักอาศัยหรือ อาคารทั่วไป ในสภาวะอุณหภูมิปกติ
  • 6. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ท่อ PP-R (Polypropylene Random Copolymer) คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน ประเภทวัสดุ : พลาสติก ทนอุณหภูมิได้สูง ทนแรงดันได้สูง ไม่เป็นสนิม ป้องกันการรั่วซึมได้ดี แต่ไม่สามารถทนต่อ แรงกระแทกแรง ๆ ได้จึงไม่เหมาะกับการติดตั้ง ใต้พื้นดิน สามารถใช้ได้กับบ้านพักอาศัยหรืออาคาร ทั่วไป
  • 7. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. ท่อ PE (PolyEthylene) คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน ประเภทวัสดุ : พลาสติก ยืดหยุ่นได้ดี สามารถขดเป็นม้วนได้ ทนต่อแรงกระแทกและแสงแดด มีอายุการใช้งานยาวนาน นิยมใช้เป็นท่อน้าดื่ม สามารถใช้ได้ทั้งภายใน อาคาร ภายนอกอาคาร และฝังใต้ดิน
  • 8. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. ท่อเหล็กเคลือบสังกะสี คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน ประเภทวัสดุ : โลหะ มีความแข็งแรงสูง รับน้าหนักได้ดี ทนทานต่อ แรงกระแทก ความดัน และอุณหภูมิที่สูง นิยมใช้กับระบบน้าอุ่น หรือระบบน้าร้อน ในห้องน้า
  • 9. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. ข้อต่อต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน ใช้เชื่อมต่อกับท่อประปา ก๊อกน้า หรือสุขภัณฑ์ ต่าง ๆ ตามลักษณะการใช้งานที่ต้องการ เช่น ต้องการต่อท่อ PVC 2 อัน ต่อตรงกันจะต้องใช้ ข้อต่อตรง หากต้องการต่อทามุมฉากต้องใช้ ข้องอ อุปกรณ์และเครื่องมือจาเป็นในงานประปาที่ควรรู้ ข้อต่อตรง ข้องอ ข้อต่อสามทาง ข้อต่อตรง เกลียวใน ข้อต่อตรง เกลียวนอก ข้องอเกลียวใน ข้องอเกลียวนอก
  • 10. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. เทปพันเกลียว ลักษณะการใช้งาน ใช้พันเกลียวในการต่อท่อที่มีเกลียวเข้ากับ ข้อต่อก๊อกน้า หรือสุขภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้การ ต่อแน่นหนา และป้องกันน้ารั่วไหล 3. น้ายาต่อท่อพลาสติก ลักษณะการใช้งาน ใช้สาหรับต่อท่อพลาสติกเข้ากับข้อต่อต่าง ๆ โดยการทาน้ายานี้ที่ข้อต่อและท่อพลาสติก แล้ว นาท่อพลาสติกสวมเข้ากับข้อต่อ น้ายาจะละลาย ผิวท่อพลาสติกให้อ่อนตัวและละลายติดกัน
  • 11. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. กรรไกรตัดท่อ PVC ลักษณะการใช้งาน ใช้สาหรับตัดท่อ PVC เพื่อต่อเติมระบบท่อ หรือซ่อมแซมระบบท่อเดิมที่เกิดการรั่วซึม หรือชารุดเสียหาย 5. เลื่อยตัดเหล็ก ลักษณะการใช้งาน ใช้สาหรับตัดท่อพลาสติกและท่อเหล็กเพื่อ ต่อเติมระบบท่อ หรือซ่อมแซมระบบท่อเดิมที่ เกิดการรั่วซึม หรือชารุดเสียหาย
  • 12. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 6. คีมคอม้า ลักษณะการใช้งาน ใช้ยึดจับท่อน้า หรือใช้ในการช่วยขันและคลาย เกลียวท่อน้า 7. ก๊อกน้า ลักษณะการใช้งาน ใช้ต่อเข้ากับท่อระบบประปาเพื่อเปิด-ปิดน้า
  • 13. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 o งานไฟฟ้า ชนิดของสายไฟฟ้าพื้นฐาน 1. สาย VAF/VAF-G คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน • สาย VAF จะไม่มีสายกราวด์ส่วนสาย VAF-G จะมีสายกราวด์ (สีเขียวคาด เหลือง) นิยมใช้ทั่วไปในระบบไฟฟ้าที่เดินภายใน บ้านพักอาศัยหรืออาคารทั่วไป สายประเภทนี้ ไม่นิยมนามาเดินร้อยท่อหรือฝังใต้ดิน ประเภทวัสดุ : • สายหุ้มพลาสติก • ภายในเป็นโลหะ • ทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน 70° C และทนแรงดัน ไฟฟ้าได้300-500V
  • 14. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. สาย THW คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน เป็นสายแกนเดี่ยวทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน 70° C และทนแรงดันได้350- 700V สามารถใช้ได้กับบ้านพักอาศัยหรืออาคารทั่วไป นิยมนามาใช้ในงานเดินร้อยท่อและใช้ในงาน เดินลอยในอากาศ ประเภทวัสดุ : • สายหุ้มพลาสติก • ภายในเป็นโลหะ
  • 15. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. สาย VCT/VCT–G คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน • สาย VCT จะไม่มีสายกราวด์ส่วนสาย VCT-G จะมีสายกราวด์ (สีเขียวคาดเหลือง) เพิ่มขึ้นมา อีก 1 เส้น เป็นสายที่ใช้ทางานได้หลายประเภท ทั้งเดินสายทั่วไป ร้อยท่อ เดินในราง เดินตีกิ๊บ ฝังดิน และยังเหมาะที่จะ ใช้เป็นสายเดินเข้าเครื่องจักรที่มีการสั่นสะเทือนขณะ ใช้งาน เช่น สว่าน ปั๊มน้า ประเภทวัสดุ : • สายหุ้มพลาสติก • ภายในเป็นโลหะ • เป็นสาย 2-4 แกน ทนอุณหภูมิได้ไม่เกิน 70° C และ ทนแรงดันได้450- 750V โดยตัวนานอกจากจะมี ฉนวนหุ้มแล้วยังมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง
  • 16. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. สาย NYY/NYY–G คุณสมบัติ ลักษณะการใช้งาน • สาย NYY จะไม่มีสายกราวด์ส่วนสาย NYY– G จะมี สายกราวด์ (สีเขียวคาดเหลือง) เพิ่มขึ้นมาอีก 1 เส้น เป็นสายที่สามารถนามาใช้ได้กับงานทั่วไป แต่ส่วนมาก นิยม นามาเดินในรางและฝังใต้ดิน ประเภทวัสดุ : • สายหุ้มพลาสติก • ภายในเป็นโลหะ • ทั้งชนิดแกนเดียว และหลายแกนทนอุณหภูมิได้ ไม่เกิน 70° C และทนแรงดัน ได้450 – 750V โดย ตัวนานอกจากจะมีฉนวนหุ้มแล้วยังมีเปลือกหุ้ม อีก 2 ชั้น
  • 17. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. ไขควงต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน • ไขควงวัดไฟฟ้าใช้สาหรับตรวจสอบว่า อุปกรณ์แต่ละชนิดมีกระแสไฟฟ้าอยู่หรือไม่ หากมีหลอดไฟฟ้าภายในไขควงก็จะติด อุปกรณ์และเครื่องมือจาเป็นในงานไฟฟ้าที่ควรรู้ ไขควงวัดไฟฟ้า ไขควงแฉก ไขควงปากแบน • ไขควงแฉกไขควงปากแบนใช้ในการขัน และคลายนอต สกรูว ต่อฟิวส์ใส่สวิตช์ไฟ
  • 18. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. คีมต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน • คีมปอกสายไฟฟ้า ใช้ในการปอกสายไฟฟ้า คีมปอกสายไฟฟ้า คีมปากจระเข้ คีมปากจิ้งจก • คีมตัดสายไฟฟ้า ใช้ในการตัดสายไฟฟ้า และสายเคเบิลต่าง ๆ คีมตัดสายไฟฟ้า • คีมปากจระเข้คีมปากจิ้งจก ใช้สาหรับดัดงอ จับ ตัด ปอกสายไฟฟ้า หมายเหตุ คีมทุกประเภทด้ามของคีมจะต้อง มีฉนวนหุ้มเพื่อป้องกันไฟฟ้าดูด
  • 19. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. หัวแร้ง ลักษณะการใช้งาน ใช้ในการบัดกรีเพื่อเชื่อมหรือประสาน สายไฟฟ้า หรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน 4. มีดคัตเตอร์ ลักษณะการใช้งาน ใช้ในการปอก ตัดสายไฟฟ้า อีกทั้งยังใช้ในการ ขูด หรือทาความสะอาดสายไฟฟ้าด้วย
  • 20. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 5. สว่านไฟฟ้า ลักษณะการใช้งาน ใช้ในงานเจาะรู งานเดินสายไฟฟ้า เพื่อยึดอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ 6. ค้อน ลักษณะการใช้งาน ใช้ในการตอก ถอนตะปูในการเดินสายไฟฟ้า
  • 21. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 7. เต้าตีเส้น ลักษณะการใช้งาน ใช้ในการตีเส้นให้เป็นแนวตรง ใช้เดินสายไฟฟ้า 8. สิ่ว ลักษณะการใช้งาน ใช้ในการเซาะร่อง เพื่อให้สายไฟฟ้ารอดผ่านได้
  • 22. ปัจจัยในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทาโครงงานหรือชิ้นงาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือมีปัจจัยที่ควรพิจารณา ดังนี้ 1. งบประมาณ เป็นสิ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อการทาโครงงานมากที่สุด 2. ความเหมาะสม ใช้งานได้หลากหลาย เหมาะสมกับยุคสมัย 3. กรอบเวลาในการดาเนินโครงงาน ระยะเวลาในการจัดหาอยู่ในกรอบที่กาหนด 4. วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่ใช้งานง่ายและสะดวกต่อการบารุงรักษา 5. จุดคุ้มทุน ควรพิจารณาวัสดุ อุปกรณ์ในการใช้งานที่คุ้มค่า 6. เลือกซื้อวัสดุ อุปกรณ์ของผู้ผลิตสินค้าหรืออุปกรณ์ที่น่าเชื่อถือ 7. ผลกระทบที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานหรือใช้งาน
  • 23. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 8. เสียงรบกวน หลีกเลี่ยงเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่มีเสียงรบกวนมากเกินไป 9. อายุการใช้งานของอุปกรณ์ เหมาะสมกับอายุของชิ้นงานที่จะพัฒนา 10. การใช้พลังงานของอุปกรณ์นั้น ควรเลือกใช้อุปกรณ์มีการใช้พลังงานต่า 11. การขยายงาน สามารถรองรับการใช้งานในอัตราส่วนที่ต้องการขยายขอบเขตได้ 12. หลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่ซ้าซ้อน ไม่เกิดความเสี่ยงต่อชิ้นงาน 13. ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 14. ความปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานหรือต่อผู้อื่น
  • 24. แหล่งที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือและอ่านค่าเพื่อทาความเข้าใจคุณสมบัติ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สิ่งที่สาคัญที่สุดในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ 1. คุณสมบัติ (Specification) 2. คุณลักษณะ (Characteristics) ใช้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ ใช้บ่งบอกถึงสภาพภายนอก รูปลักษณ์ ของอุปกรณ์ ว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง เช่น • ทาอะไรได้บ้าง • รองรับอะไรได้บ้าง • มีฟังก์ชัน อะไรบ้าง • มีมาตรฐานอะไรรองรับ เช่น • มีปุ่มกด ปุ่มหมุน • มีสัญญาณไฟ มีจอภาพแสดงผล • ใช้พลังงานไฟฟ้าหรือพลังงาน แบตเตอรี่ในการใช้งาน
  • 25. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แหล่งสืบค้นข้อมูลที่สาคัญในปัจจุบัน การใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต Google พิมพ์คาสืบค้น ตัวอย่างเช่น “specification มัลติมิเตอร์” ปรากฏข้อมูลการสืบค้น คลิกเข้าสู่ริ้งค์เว็บไซด์ของผู้ผลิต
  • 26. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวอย่าง : การสืบค้นคุณสมบัติหรือสเปกของเครื่องมือวัดมัลติมิเตอร์ที่ไม่มีการระบุ ชื่อของผู้ผลิตหรือยี่ห้อ 1. คาสืบค้นข้อมูล 2. ผลการสืบค้นข้อมูล 3. เว็บไซต์ www.fluke.com/th
  • 27. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. เข้าสู่เว็บไซต์ 5. รูปลักษณ์ของ เครื่องวัด มัลติมิเตอร์ 6. คุณลักษณะสาคัญของเครื่องวัดมัลติมิเตอร์
  • 28. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้านล่างของหน้าเว็บไซต์จะเห็นว่ามีการแสดงรายละเอียด เช่น คุณลักษณะหรือภาพรวม โดยทั่วไปของผลิตภัณฑ์และข้อมูลจาเพาะก็คือคุณสมบัติหรือสเปก เมื่อกดเข้าไปในรายละเอียดของ คุณสมบัติจะได้ข้อมูลที่ให้รายละเอียด ดังนี้ 7. คลิกเมาส์ที่นี่เพื่อศึกษาข้อมูล คุณสมบัติหรือสเปกแบบละเอียด
  • 29. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติของวัสดุ อุปกรณ์ ขนาดและน้าหนัก ใช้พลังงานประเภทใด ค่าที่รองรับการทางาน เช่น ค่าสูงสุดและค่าต่าสุดที่วัสดุหรืออุปกรณ์ชิ้นนั้นสามารถรองรับได้ ค่าช่วงการทางานที่บอกถึงขีดจากัดของความสามารถวัสดุหรืออุปกรณ์นั้น การเชื่อมต่อเช่น ใช้หัวต่อในรูปแบบใด ประเภทใด ระยะเวลาการใช้งาน เช่น การใช้งานต่อเนื่องมากน้อยเพียงใด ค่าความเร็ว เช่น ความเร็วรอบ ความเร็วของการประมวลผล ความปลอดภัยในการใช้งานว่ามีตัวป้องกัน ตัวตัดการทางานหรือวงจรตัดการทางานหรือไม่
  • 30. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การป้องกันอันตรายจากการใช้เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน แนวทางการป้องกันหรือระวังอันตราย ที่อาจเกิดจากการใช้เครื่องมือในการพัฒนา 1. การป้องกันตัวบุคคล 2. การป้องกันจากวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ 3. การป้องกันจาก สภาพแวดล้อม การแต่งกายรัดกุม สวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน การปฏิบัติตนให้ถูกต้อง ตามกฎระเบียบ ด้านความปลอดภัย มีพื้นที่ในการจัดวาง ที่เหมาะสม เป็นระเบียบ ดูแลรักษาความสะอาด อย่างถูกต้องสม่าเสมอ ส่งอุปกรณ์เพื่อตรวจสภาพ ตามระยะเวลาการใช้งาน จัดพื้นที่ทางาน ให้เหมาะสมกับงาน ทาความสะอาดพื้นที่ให้เป็น ระเบียบและปลอดภัย ปรับปรุงหลักการ/ระเบียบ ด้านความปลอดภัยในการ ใช้สถานที่ให้เหมาะสม
  • 31. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การสร้างชิ้นงานด้วยกลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการทดสอบแบบแยกส่วน วางแผนการทดสอบส่วนประกอบ วางรูปแบบของการทดสอบ ดาเนินการทดสอบ บันทึกผลการทดสอบ ตรวจสอบผลการทดสอบที่สมบูรณ์แล้ว
  • 32. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผังงาน แสดงการรวบรวมในการดาเนินงาน Start Component Test Planning Component Test Specification Component Test Execution Component Test Recording Checking for Component Test Completion End
  • 33. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตั้งโจทย์ในการสร้าง จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ ตัดไม้หรือวัสดุที่เลือกใช้ เป็นแผ่นตามแบบแล้วนามา เชื่อมต่อกันโดยใช้ กาว ปืนกาว หรือเทปกาว วัดตามขนาดได้ ศึกษารูปแบบของช่องระบายน้าจากมุมมองหลาย ๆ ด้าน ตัวอย่าง : การสร้างชิ้นงานโมเดลจาลองการเปิด-ปิดประตูระบายน้าที่ทางานด้วยแสง ประกอบชิ้นส่วนของประตูระบายน้า ศึกษาส่วนประกอบ โครงสร้างของประตูระบายน้า
  • 35. นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน  หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. การสร้างสิ่งประดิษฐ์หรือชิ้นงานที่มีอุปกรณ์หลายชนิดประกอบอยู่ ปัจจัยในการเลือกวัสดุ ควรพิจารณาปัจจัยใดเป็นประเด็นแรก อุปกรณ์สามารถทางานร่วมกันได้1 งบประมาณมีความเหมาะสม2 ขนาดของอุปกรณ์3 จุดคุ้มทุน4 เฉลย  เพราะการสร้างสิ่งประดิษฐ์หรือชิ้นงาน ที่มีอุปกรณ์หลายชนิดประกอบอยู่ควรเลือกวัสดุ ที่อุปกรณ์สามารถทางานร่วมกันได้ 1
  • 36. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ไฟฉายที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย 4 ก้อน โดยแต่ละก้อนมีแรงดัน ไฟฟ้า 1.5 โวลต์ ดังนั้นควรเลือกใช้หลอดไฟฟ้ากี่โวลต์ หลอดไฟฟ้า 4 โวลต์1 หลอดไฟฟ้า 6 โวลต์2 หลอดไฟฟ้า 9 โวลต์3 หลอดไฟฟ้า 12 โวลต์4 2 เฉลย  เพราะถ่านไฟฉาย1ก้อนจะมีแรงดันไฟฟ้า 1.5โวลต์ เมื่อมี 4 ก้อน ก็เท่ากับ 4×1.5 = 6 โวลต์ ดังนั้นควรเลือกใช้ หลอดไฟฟ้า 6โวลต์เพื่อทาให้เปล่งแสงสว่างได้เต็มประสิทธิภาพ
  • 37. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. สิ่งสาคัญที่สุดที่ควรพิจารณาในการนาวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ มาใช้งานคืออะไร ราคาของอุปกรณ์1 ขนาดของอุปกรณ์2 คุณสมบัติของอุปกรณ์3 แหล่งจาหน่ายอุปกรณ์4 เฉลย  เพราะสามารถเลือกใช้วัสดุได้เหมาะสมต่อการใช้งาน เช่นโคมไฟฟ้าควรจะใช้วัสดุที่สะท้อนและกระจายแสงกระทะ ควรใช้วัสดุที่นาความร้อนและกระจายความร้อนได้ดี 3
  • 38. 4. ถ้าต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานเครื่องมือวัด ควรเลือกข้อมูลจากแหล่งใด เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เฉลย  เพราะข้อมูลจากผู้ผลิตโดยตรง จะเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ หนังสือวารสารเครื่องมือวัด1 คาแนะนาจากผู้ใช้งาน2 ข้อมูลจากร้านค้า3 ข้อมูลจากผู้ผลิต44
  • 39. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 5. ถ้าต้องการให้แรงจากการหมุนของมอเตอร์มีแรงมากขึ้น ควรทาอย่างไร เพิ่มแรงดันไฟฟ้า1 เพิ่มค่ากระแสไฟฟ้า2 นาระบบคานมาใช้งาน3 นาระบบเฟืองมาใช้งาน4 เฉลย  เพราะระบบสามารถเพิ่มแรงบิดได้ 4
  • 40. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 6. อุปกรณ์ชนิดใดสามารถทางานร่วมกันได้อย่างสมบูรณ์ ถ่านไฟฉาย ตัวนาไฟฟ้า ตัวต้านทาน แอลอีดี1 ถ่านไฟฉาย แอลดีอาร์ ตัวต้านทาน2 ถ่านไฟฉาย มอเตอร์ไฟฟ้า เฟือง3 แอลดีอาร์ แอลอีดี ตัวต้านทาน4 เฉลย  เพราะสามารถนาอุปกรณ์เหล่านี้ มาเชื่อมต่อกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ 1
  • 41. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 7. ข้อใดนา LDR ไปใช้งานไม่ถูกต้อง นาไปใช้พัฒนาวงจรแบ่งแรงดัน1 นาไปใช้พัฒนาระบบเปิด-ปิดไฟฟ้าตามระดับแสง2 นาไปใช้พัฒนาหลอดไฟฟ้า LED ที่ประหยัดพลังงาน3 นาไปใช้พัฒนาระบบแผงโซลาร์เซลล์หมุนตามแสงพระอาทิตย์4 เฉลย  เพราะ LDR คือ ตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ ตามแสงที่ได้รับสามารถนาไปใช้พัฒนาระบบเปิด-ปิด ไฟฟ้าอัตโนมัติวงจรแบ่งแรงดันหรือแผงโซลาร์เซลล์ หมุนตามแสงพระอาทิตย์ได้แต่ LDR ไม่สามารถนาไปพัฒนาเป็นหลอดไฟฟ้า LED ได้ 3
  • 42. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 8. เหตุใดจึงควรทดสอบแบบแยกส่วน ทดสอบได้เร็วขึ้น1 เป็นการทดสอบการทางานครั้งสุดท้าย2 เป็นการทดสอบก่อนตกแต่งครั้งสุดท้าย3 ทาให้ทดสอบและหาข้อผิดพลาดได้ง่าย4 เฉลย  เพราะการทดสอบแบบแยกส่วน จะช่วยให้หาข้อผิดพลาดได้ง่ายขึ้น 4
  • 43. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 9. ข้อใดคือข้อดีของการเขียนแบบก่อนสร้างชิ้นงาน ทาให้ชิ้นงานทางานดีขึ้น1 ทาให้วิเคราะห์ปัญหาได้ง่ายขึ้น2 สร้างชิ้นงานแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้น3 เลือกวัสดุ อุปกรณ์มาใช้งานได้ง่ายขึ้น4 เฉลย  เพราะการเขียนแบบร่างก่อนสร้างชิ้นงาน จะช่วยสร้างชิ้นงานแต่ละส่วนได้ง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น 3
  • 44. เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เฉลย  เพราะไฟฟ้าริมถนนควรใช้ LDR เพื่อควบคุมการเปิด-ปิด หลอดไฟฟ้าจากแสงพระอาทิตย์ เมื่อพระอาทิตย์ตกจึงไม่มีแสง ทาให้หลอดไฟฟ้าสว่าง 10. งานลักษณะใดควรนาตัวต้านทานเปลี่ยนค่าตามแสง หรือ LDR มาใช้งานมากที่สุด ระบบเปิดไฟฟ้าอัตโนมัติในบ้านเมื่อมีคนเดินผ่าน1 ไฟริมถนนเปิดอัตโนมัติในเวลากลางคืน2 ประตูเปิดอัตโนมัติในร้านสะดวกซื้อ3 นาฬิกาปลุก4 2