SlideShare a Scribd company logo
เทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
(วิทยาการคานวณ)
เทคโนโลยีสารสนเทศกับอาชีพ
บทบาทต่อสังคม และวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศกับอาชีพ
บทบาทต่อสังคม และวัฒนธรรม
อาชีพที่เกี่ยวข้อง
กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม
อาชีพที่เกี่ยวข้อง
กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับสายงานของเทคโนโลยี-
สารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ตัวชี้วัด
• ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย
มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม (ว 4.2 ม.6/1)
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. Web Graphic Designer
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะทางด้าน
การผลิตงานกราฟิกเพื่อใช้บนเว็บไซต์
และการออกแบบเว็บไซต์
2. Web Master
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการบริหาร
จัดการเว็บไซต์การออกแบบโครงสร้างและ
เมนูต่าง ๆ ดูแลปรับปรุงเนื้อหา สารองข้อมูล
การย้ายเซิร์ฟเวอร์ และการกู้ข้อมูลต่าง ๆ
นักออกแบบเว็บไซต์กราฟิก ผู้ดูแลเว็บไซด์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
3. Web Developer
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการเขียน
โปรแกรม เช่น ภาษา PHP, ภาษา HTML, ภาษา
CSS, ภาษา JAVASCRIPT เพื่อทาให้เว็บไซต์นั้น
สามารถประมวลผลในลักษณะพิเศษได้
โดยตาแหน่งนี้จะเน้นการพัฒนาโปรแกรม
เป็นหลัก
4. Mobile Application Developer
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการพัฒนา
การเขียนโปรแกรมสาหรับสมาร์ตโฟน
เช่น ระบบปฏิบัติการ Android และ iOS ซึ่ง
จาเป็นต้องทราบถึงหลักการเขียนแอปพลิเคชัน
บนสมาร์ตโฟน เช่น Android SDK, Appinventor,
Thunkable,iOS App development
นักเขียนพัฒนาโปรแกรมบนเว็บไซต์ นักพัฒนาแอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
5. Software Engineer
ทาหน้าที่วิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์
หรือโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นอย่างมีแบบแผน
มีกระบวนการ และหลักการทางวิศวกรรม
เพื่อให้ซอฟต์แวร์นั้นมีขั้นตอนและกระบวนการ
ทางานภายในที่มีประสิทธิภาพ
6. Cloud Architect
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการวาง
โครงสร้างของบริการคลาวด์ หรือการใช้งานคลาวด์
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการวางแผนออกแบบ
โครงสร้างของระบบคลาวด์ที่ใช้ในธุรกิจหรือ
องค์กรนั้นอย่างเหมาะสม
วิศวกรซอฟต์แวร์ นักออกแบบสถาปัตยกรรมคลาวด์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
7. Digital Forensic Investigator
นักสืบนิติวิทยาดิจิทัล
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการสืบหา
เก็บหรือบันทึกหลักฐานทางที่มาของข้อมูล
สารสนเทศ สืบหาที่มาของการปลอมแปลง
นาเสนอหลักฐานทางดิจิทัล การสืบหาความ
ผิดพลาดและต้นเหตุของประเด็นต่าง ๆ
เพื่อหาผู้กระทาผิด
8. System Administrator
ทาหน้าที่ดูแลและบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์
ในองค์กร ได้แก่ การติดตั้ง บารุงรักษา
ระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ ติดตั้งอุปกรณ์ทาง
เทคโนโลยี อานวยความสะดวกในการใช้งาน
เทคโนโลยีสาหรับผู้ใช้งานภายในองค์กร
นักวิเคราะห์สารสนเทศ ด้านความปลอดภัย
Information Security Analyst
ผู้ดูแลและบริหารระบบ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9. IT Consultant
เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการ
จัดการเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมทั้ง เทคโนโลยี
สารสนเทศมาแนะนาให้คาปรึกษา
เพื่อปรับปรุง เปลี่ยนแปลงองค์กรนั้น ๆ
ให้มีศักยภาพ เกิดความประหยัด และได้
ประสิทธิภาพมากขึ้น
10. Programmer
คือ ผู้เขียนโปรแกรม
และพัฒนาโปรแกรม
ให้สามารถทางานตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นักพัฒนาโปรแกรม
System Developer นักพัฒนาระบบ
พัฒนาระบบปฏิบัติการหรือระบบการทางาน
เฉพาะงานใดงานหนึ่ง เช่น ระบบสมาร์ตฟาร์ม
Desktop Application Developer
นักพัฒนาโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป
พัฒนาโปรแกรมที่ทางานบนระบบปฏิบัติการต่าง ๆ
สาหรับคอมพิวเตอร์ทั่วไป เช่น โปรแกรมบัญชี
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
11. System Analyst
ทาหน้าที่วิเคราะห์และพัฒนาระบบต่าง ๆ
ตามความต้องการของลูกค้าหรือหน่วยงาน
นักวิเคราะห์ระบบจะทาการวิเคราะห์ระบบงาน
และออกแบบระบบสารสนเทศ ให้ตรงกับความ
ต้องการ ซึ่งอาจรวมถึงการออกแบบ ฐานข้อมูล
ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน และกระบวนการทางานของ
ระบบด้วย
12. Database Administrator
ทาหน้าที่บริหารจัดการและดูแลฐานข้อมูลในองค์กร
รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแล
ความปลอดภัยของข้อมูล เช่น กาหนดสิทธิ์การ
เข้าถึง การป้องกันและระวังการถูกโจมตีหรือ
โจรกรรมข้อมูล
นักวิเคราะห์ระบบ ผู้ดูแลและบริหารจัดการฐานข้อมูล
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
13. Network Administrator
คือ ผู้ทาหน้าที่บริหารจัดการและดูแลระบบ
เครือข่าย และการสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายของ
องค์กร เพื่อให้การสื่อสารกันระหว่างหน่วยงาน
ภายในและการสื่อสารกับหน่วยงานภายนอก
สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างราบรื่น
และมีประสิทธิภาพ
14. Game Maker / Game Developer
คือ ผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนาเกม
ตามที่ได้ออกแบบไว้ปัจจุบันธุรกิจด้านเกม
มีการพัฒนาเพื่อให้สามารถเล่นได้บนสมาร์ตโฟน
ผ่านระบบเครือข่าย นักพัฒนาเกม จึงต้องมีการ
เรียนรู้และพัฒนารูปแบบเกมตามความต้องการ
ของผู้เล่น
ผู้ดูแลและบริหารจัดการเครือข่าย นักพัฒนาเกม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
15. Technician
มีหน้าที่อานวยความสะดวกในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์และซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
และอาจรวมถึงการดูแลระบบเครือข่ายหรืออื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย การแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก
การใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร
เจ้าหน้าที่เทคนิค
ระดับการ
บริการ (Service)
เช่น การดูแลระบบ
ให้ใช้งานได้ระบบสนับสนุนต่าง ๆ
และการซ่อมบารุงรักษา
ระดับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน
(Software) เช่น แอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน เว็บไซต์
แอปพลิเคชัน ระบบความปลอดภัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) เช่น
บริการคลาวด์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
o ระดับสายงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระดับอุปกรณ์ (Hardware) เช่น เซิร์ฟเวอร์
อุปกรณ์สื่อสาร ระบบเครือข่ายทั้งหมด เครื่องคอมพิวเตอร์
ระดับลักษณะสายงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
จากระดับล่างสุด Hardware และ Infrastructure ถือว่าเป็นหัวใจและรากฐานของระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ตาแหน่งงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
สายงานด้าน
Network & System
สายงานด้านการบริหารจัดการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Management)
ตาแหน่งวิศวกรซอฟต์แวร์
นักทดสอบซอฟต์แวร์ นักตรวจสอบ
คุณภาพซอฟต์แวร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์
นักออกแบบสถาปัตยกรรมแนวทาง
นักวิเคราะห์โปรแกรม วิศวกรระบบ
เครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่าย
ผู้ดูแลระบบ นักวิเคราะห์ระบบธุรกิจ
นักตรวจสอบระบบไอที
หัวหน้าโครงการต่าง ๆ หัวหน้าสายงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ หัวหน้าหรือ
เจ้าหน้าที่ศูนย์ข้อมูล
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
จากระดับรอยต่อระหว่างระบบกับผู้ใช้ คือ ซอฟต์แวร์ และการบริการ การบริการ
ถือว่าเป็นความสาคัญให้เกิดการใช้งานระบบอุปกรณ์ให้ได้ประสิทธิผล
ตาแหน่งงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
สายงานด้าน
Programmer & Developer
สายงานด้านการจัดการระบบฐานข้อมูล
(Database Management)
ผู้มีทักษะเขียนภาษาต่าง ๆ ทาง
คอมพิวเตอร์ เช่น ภาษา C หรือ C++,
ภาษา Java
เจ้าหน้าที่ดูแลฐานข้อมูล
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สายงานด้าน
ERP
สายงานด้าน
เว็บไซต์
ผู้มีประสบการณ์
ในตาแหน่งงาน
ด้าน ERP Consultant
Content Manager
Online Marketing Manager
SEO Specialist
สายงานด้าน
IT Support
เจ้าหน้าที่เทคนิค
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม
แนวกว้าง แนวดิ่งหรือแนวลึก
ส่งผลต่อรอบข้าง ส่งผลกับตนเอง
ครอบครัว เพื่อน ญาติ
สังคม วัฒนธรรม
ความรู้ ทักษะ
ความสามารถ
ความเป็นไปของสังคม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวกว้าง
 ด้านคุณภาพชีวิต
ผลกระทบด้านบวก
มีความรวดเร็วในการ
รับ – ส่งข้อมูลข่าวสาร
มีการบริการด้าน
ต่าง ๆ ที่หลากหลาย
มีอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามา
ช่วยในการดารงชีวิต
มีความสะดวกสบาย
ในการติดต่อสื่อสาร
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)
 ด้านคุณภาพชีวิต
ผลกระทบด้านลบ
ข้อมูลข่าวสารเกิดการ
ผิดพลาดคลาดเคลื่อน
เสี่ยงต่อการถูกล่อลวง
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)
ผลกระทบด้านบวก
การทาธุรกรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การจัดเก็บบันทึกข้อมูลทาได้หลากหลาย
มีความโปร่งใสตรวจสอบได้ง่าย
เกิดธุรกิจหรือบริการใหม่ ๆ
 ด้านโอกาสทางธุรกิจ ความเป็นอยู่ในสังคม และการแข่งขัน
ธรรมาภิบาลในการใช้สารสนเทศ
การแข่งขันในทางธุรกิจมีสิทธิและเสรีภาพมากขึ้น
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)
 ด้านโอกาสทางธุรกิจ ความเป็นอยู่ในสังคม และการแข่งขัน
ผลกระทบด้านลบ
มีการแข่งขันสูง ธุรกิจทั้งเก่าและใหม่
ต้องมีการปรับปรุงและปรับตัวอยู่ตลอดเวลาจึงจะอยู่รอดได้
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)
 ด้านวัฒนธรรม
ผลกระทบด้านบวก
ภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิ่นจะกลายเป็นจุดขาย
เนื่องจากความต้องการในเชิง รสนิยม ของนักสะสม
และเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางผลิตภัณ์์
จากท้องถิ่นนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี
มีช่องทางในการเผยแพร่ภาพลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ของชุมชนต่าง ๆ ได้กว้างมากขึ้น เช่น เว็บไซต์
หรือคลิปวิดีโอส่งเสริมการท่องเที่ยว
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวกว้าง
ผลกระทบด้านลบ
เมื่อผลิตภัณ์์ต่าง ๆ สามารถผลิตและหาซื้อได้ง่าย วัฒนธรรมบางวัฒนธรรมก็
อาจจะถูกมองข้ามไปหรือขาดการดูแลเอาใจใส่ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ
การจักสาน เพราะมีเทคโนโลยีที่ช่วยในการทอและจักสานทาเป็นลักษณะเชิง
พาณิชย์รูปแบบการทอหรือการจักสานด้วยวิธีดั้งเดิมอาจสูญหายไป
 ด้านวัฒนธรรม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวดิ่งหรือแนวลึก
 ด้านบุคคล
ผลกระทบด้านบวก
การใช้ทักษะและความรู้ หากมีเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทาให้
การทางานง่ายและสะดวกขึ้น และมีสายงานเฉพาะด้านที่มีการ
กระจายมากขึ้น บุคคลแต่ละบุคคลจะมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
มากขึ้น
ผลกระทบด้านลบ
การนั่งอยู่กับเครื่องมือในการสื่อสารหรือคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา
อาจทาให้เกิดภาวะไม่ดีต่อสุขภาพทาให้ไม่มีการออกกาลังกาย
หรือการใช้สรีระร่างกายไม่ถูกต้อง อาจเกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ
อาการปวดคอ อาการปวดไหล่ รวมถึงระบบสายตา
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผลกระทบแนวดิ่งหรือแนวลึก
 สังคมและเศรษฐกิจ
ผลกระทบด้านบวก
เกิดความหลากหลายในกลุ่มบุคคลหรือกลุ่มประชาชน
ที่มีความสามารถเฉพาะด้านมากขึ้น
ระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วย
ทางานด้านการประมวลผล การวิเคราะห์ การคาดการณ์ และการ
พยากรณ์ข้อมูลต่าง ๆ แทนการทางานของมนุษย์
ผลกระทบด้านลบ
มนุษย์อาจจะตกงาน เนื่องจากมีการนาเอาเทคโนโลยี
ปัญญาประดิษฐ์มาทางานแทน
แบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน  หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
1. ข้อใดคือผลกระทบด้านลบด้านโอกาสทางธุรกิจ
ความเป็นอยู่ในสังคมและการแข่งขัน
การเกิดธุรกิจหรือการบริการใหม่1
การแข่งขันในธุรกิจมีสิทธิและเสรีภาพมากขึ้น2
ระบบความปลอดภัยในธุรกรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น3
ธรรมาภิบาลในการใช้สารสนเทศจะมีระบบที่มีการบริหารจัดการ
และคุ้มครองอย่างทั่วถึงมากขึ้น
4
มีการแข่งขันสูง ธุรกิจทั้งเก่าและใหม่จะต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา
เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
55
เฉลย  เพราะ และ
เป็นผลกระทบด้านบวก
แต่  เป็นผลกระทบด้านลบ
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. ระดับสายงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใด
จัดอยู่ในระดับล่างสุด
ระดับพื้นฐาน (Basic)1
ระดับการบริการ (Service)2
ระดับอุปกรณ์ (Hardware)3
ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)4
ระดับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน (Software)5
เฉลย  เพราะระดับอุปกรณ์ (Hardware) จัดอยู่ในระดับล่างสุด
เช่น เซิร์ฟเวอร์ อุปกรณ์สื่อสาร ระบบเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์
3
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระดับการบริการ (Service)
การดูแลระบบให้ใช้งานได้1
ให้บริการอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ2
บารุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์3
เขียนภาษาต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์4
ระบบสนับสนุนต่าง ๆ และการซ่อมบารุง5
4
เฉลย  เพราะระดับการบริการ (Service) จะเกี่ยวกับการดูแลระบบให้ใช้งานได้
ระบบสนับสนุนต่าง ๆ ให้บริการอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ และบารุงรักษา
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
4. ข้อใดไม่ใช่ระดับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน (Software)
เว็บไซต์1
เซิร์ฟเวอร์2
ระบบความปลอดภัย3
โปรแกรมคอมพิวเตอร์4
แอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน5
เฉลย  เพราะเซิร์ฟเวอร์อยู่ในระดับอุปกรณ์ (Hardware)
2
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เฉลย  เพราะผู้ดูแลเว็บไซต์เป็นหน้าที่
ของมนุษย์ที่คอยแก้ปัญหาต่าง ๆ
ที่พบบนเว็บไซต์
5. ข้อใดไม่ใช่ระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI
การวิเคราะห์1
ผู้ดูแลเว็บไซต์2
การประมวลผล3
ทางานแทนมนุษย์4
การพยากรณ์ข้อมูลสาคัญ5
2
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
6. ข้อใดคือระดับอุปกรณ์ (Hardware)
เว็บไซต์1 แอปพลิเคชัน2
เครื่องคอมพิวเตอร์3 ระบบความปลอดภัย4
โปรแกรมคอมพิวเตอร์5
เฉลย  เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในระดับอุปกรณ์
(Hardware) ที่สามารถจับต้องได้
3
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เฉลย  เพราะสังคมเกิดการแข่งขันและเร่งรัด
เป็นผลกระทบด้านลบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
7. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบทางบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างโอกาสให้คนพิการ1
พัฒนาคุณภาพการศึกษา2
สังคมเกิดการแข่งขันและเร่งรัด3
การเกิดธุรกิจหรือการบริการใหม่4
เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร5
3
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
8. เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงอะไร
ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์1
การนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล2
การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์3
การนาจินตนาการของคนยุคสมัยโบราณ
มาสร้างเป็นเครื่องมือช่วยในการทางาน
4
เทคโนโลยีที่นามาใช้เพิ่มมูลค่าให้กับสารสนเทศ
ทาให้สามารถใช้งานได้กว้างขวางขึ้น
5
3
เฉลย  เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ
คือการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9. ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพัฒนา
อย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ทั้งด้านบวกและด้านลบ
ด้านใดมีผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพมากที่สุด
ด้านบุคคล1 ด้านวัฒนธรรม2
ด้านคุณภาพชีวิต3 ด้านโอกาสทางธุรกิจ4
ด้านสังคมและเศรษฐกิจ5
เฉลย  เพราะความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีผลกระทบต่อสุขภาพมากที่สุด คือ ด้านบุคคล ทาให้มีอาการปวดคอ
อาการปวดไหล่ รวมถึงระบบสายตาเมื่อใช้งานเป็นเวลานาน
1
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
10. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง
ปรับปรุง > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์> วิจัยค้นคว้า1
วิจัยค้นคว้า > ปรับปรุง > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์2
ความคิดสร้างสรรค์ > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > วิจัยค้นคว้า > ปรับปรุง3
จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์> วิจัยค้นคว้า > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > ปรับปรุง4
ความคิดสร้างสรรค์ > ปรับปรุง > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > ปรับปรุง >
วิจัยค้นคว้า
5
4
เฉลย  เพราะลาดับขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีเริ่มจาก
จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์> วิจัยค้นคว้า > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > ปรับปรุง

More Related Content

What's hot

การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
Janchai Pokmoonphon
 
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์hall999
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นRattana Tosasom
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
NU
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551ดอกหญ้า ธรรมดา
 
Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1
Chompooh Cyp
 
แบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัย
แบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัยแบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัย
แบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัย
kunkrooyim
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกันชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกัน
KanlayaratKotaboot
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์
Pla FC
 
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
ว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
TBnakglan
 

What's hot (20)

บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1Design and technology 3 unit 1
Design and technology 3 unit 1
 
แบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัย
แบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัยแบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัย
แบบฝึกหัดการให้เหตุผลแบบนิรนัย
 
ผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงานผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงาน
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกันชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 3 การบวกเศษส่วนต่างชนิดกัน
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์
 
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความต้องการและการแก้ปัญหาของมนุษย์สู่การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
 

Similar to Computing science unit 3

Amonrat
AmonratAmonrat
Computing science unit 2
Computing science unit 2Computing science unit 2
Computing science unit 2
Chompooh Cyp
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาNaitbuu
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2btusek53
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
TDew Ko
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
suwanna champasak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Chuan Fsk
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
btusek53
 

Similar to Computing science unit 3 (20)

Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
Computing science unit 2
Computing science unit 2Computing science unit 2
Computing science unit 2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
Chap1 new
Chap1 newChap1 new
Chap1 new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 

More from Chompooh Cyp

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filter
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouch
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customize
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basic
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effect
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transform
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & tool
Chompooh Cyp
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
Chompooh Cyp
 
Ch10 cp8 publish
Ch10 cp8 publishCh10 cp8 publish
Ch10 cp8 publish
Chompooh Cyp
 
Ch09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizsCh09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizs
Chompooh Cyp
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object management
Chompooh Cyp
 
Ch07 cp8 sound
Ch07 cp8 soundCh07 cp8 sound
Ch07 cp8 sound
Chompooh Cyp
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimedia
Chompooh Cyp
 
Ch05 cp8 button
Ch05 cp8 buttonCh05 cp8 button
Ch05 cp8 button
Chompooh Cyp
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape object
Chompooh Cyp
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide management
Chompooh Cyp
 

More from Chompooh Cyp (20)

Ps cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filterPs cs6 ch12-filter
Ps cs6 ch12-filter
 
Ps cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouchPs cs6 ch11-picture retouch
Ps cs6 ch11-picture retouch
 
Ps cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customizePs cs6 ch10-picture customize
Ps cs6 ch10-picture customize
 
Ps cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basicPs cs6 ch09-color basic
Ps cs6 ch09-color basic
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
 
Ps cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effectPs cs6 ch07-layer effect
Ps cs6 ch07-layer effect
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 
Ps cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-textPs cs6 ch05-text
Ps cs6 ch05-text
 
Ps cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transformPs cs6 ch04-transform
Ps cs6 ch04-transform
 
Ps cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cutPs cs6 ch03-retouch & cut
Ps cs6 ch03-retouch & cut
 
Ps cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & toolPs cs6 ch02-concept & tool
Ps cs6 ch02-concept & tool
 
Ps cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introductionPs cs6 ch01-introduction
Ps cs6 ch01-introduction
 
Ch10 cp8 publish
Ch10 cp8 publishCh10 cp8 publish
Ch10 cp8 publish
 
Ch09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizsCh09 cp8 quizs
Ch09 cp8 quizs
 
Ch08 cp8 object management
Ch08 cp8 object managementCh08 cp8 object management
Ch08 cp8 object management
 
Ch07 cp8 sound
Ch07 cp8 soundCh07 cp8 sound
Ch07 cp8 sound
 
Ch06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimediaCh06 cp8 multimedia
Ch06 cp8 multimedia
 
Ch05 cp8 button
Ch05 cp8 buttonCh05 cp8 button
Ch05 cp8 button
 
Ch04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape objectCh04 cp8 text shape object
Ch04 cp8 text shape object
 
Ch03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide managementCh03 cp8 slide management
Ch03 cp8 slide management
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Computing science unit 3

  • 3. แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับอาชีพ บทบาทต่อสังคม และวัฒนธรรม อาชีพที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม อาชีพที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับสายงานของเทคโนโลยี- สารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • 4. ตัวชี้วัด • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอ และแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม (ว 4.2 ม.6/1) เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
  • 5. อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. Web Graphic Designer เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะทางด้าน การผลิตงานกราฟิกเพื่อใช้บนเว็บไซต์ และการออกแบบเว็บไซต์ 2. Web Master เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการบริหาร จัดการเว็บไซต์การออกแบบโครงสร้างและ เมนูต่าง ๆ ดูแลปรับปรุงเนื้อหา สารองข้อมูล การย้ายเซิร์ฟเวอร์ และการกู้ข้อมูลต่าง ๆ นักออกแบบเว็บไซต์กราฟิก ผู้ดูแลเว็บไซด์
  • 6. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3. Web Developer เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการเขียน โปรแกรม เช่น ภาษา PHP, ภาษา HTML, ภาษา CSS, ภาษา JAVASCRIPT เพื่อทาให้เว็บไซต์นั้น สามารถประมวลผลในลักษณะพิเศษได้ โดยตาแหน่งนี้จะเน้นการพัฒนาโปรแกรม เป็นหลัก 4. Mobile Application Developer เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการพัฒนา การเขียนโปรแกรมสาหรับสมาร์ตโฟน เช่น ระบบปฏิบัติการ Android และ iOS ซึ่ง จาเป็นต้องทราบถึงหลักการเขียนแอปพลิเคชัน บนสมาร์ตโฟน เช่น Android SDK, Appinventor, Thunkable,iOS App development นักเขียนพัฒนาโปรแกรมบนเว็บไซต์ นักพัฒนาแอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน
  • 7. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 5. Software Engineer ทาหน้าที่วิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นอย่างมีแบบแผน มีกระบวนการ และหลักการทางวิศวกรรม เพื่อให้ซอฟต์แวร์นั้นมีขั้นตอนและกระบวนการ ทางานภายในที่มีประสิทธิภาพ 6. Cloud Architect เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการวาง โครงสร้างของบริการคลาวด์ หรือการใช้งานคลาวด์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการวางแผนออกแบบ โครงสร้างของระบบคลาวด์ที่ใช้ในธุรกิจหรือ องค์กรนั้นอย่างเหมาะสม วิศวกรซอฟต์แวร์ นักออกแบบสถาปัตยกรรมคลาวด์
  • 8. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 7. Digital Forensic Investigator นักสืบนิติวิทยาดิจิทัล เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการสืบหา เก็บหรือบันทึกหลักฐานทางที่มาของข้อมูล สารสนเทศ สืบหาที่มาของการปลอมแปลง นาเสนอหลักฐานทางดิจิทัล การสืบหาความ ผิดพลาดและต้นเหตุของประเด็นต่าง ๆ เพื่อหาผู้กระทาผิด 8. System Administrator ทาหน้าที่ดูแลและบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์ ในองค์กร ได้แก่ การติดตั้ง บารุงรักษา ระบบปฏิบัติการหรือซอฟต์แวร์ ติดตั้งอุปกรณ์ทาง เทคโนโลยี อานวยความสะดวกในการใช้งาน เทคโนโลยีสาหรับผู้ใช้งานภายในองค์กร นักวิเคราะห์สารสนเทศ ด้านความปลอดภัย Information Security Analyst ผู้ดูแลและบริหารระบบ
  • 9. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9. IT Consultant เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านการ จัดการเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมทั้ง เทคโนโลยี สารสนเทศมาแนะนาให้คาปรึกษา เพื่อปรับปรุง เปลี่ยนแปลงองค์กรนั้น ๆ ให้มีศักยภาพ เกิดความประหยัด และได้ ประสิทธิภาพมากขึ้น 10. Programmer คือ ผู้เขียนโปรแกรม และพัฒนาโปรแกรม ให้สามารถทางานตาม วัตถุประสงค์ที่ต้องการ ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นักพัฒนาโปรแกรม System Developer นักพัฒนาระบบ พัฒนาระบบปฏิบัติการหรือระบบการทางาน เฉพาะงานใดงานหนึ่ง เช่น ระบบสมาร์ตฟาร์ม Desktop Application Developer นักพัฒนาโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป พัฒนาโปรแกรมที่ทางานบนระบบปฏิบัติการต่าง ๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ทั่วไป เช่น โปรแกรมบัญชี
  • 10. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 11. System Analyst ทาหน้าที่วิเคราะห์และพัฒนาระบบต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้าหรือหน่วยงาน นักวิเคราะห์ระบบจะทาการวิเคราะห์ระบบงาน และออกแบบระบบสารสนเทศ ให้ตรงกับความ ต้องการ ซึ่งอาจรวมถึงการออกแบบ ฐานข้อมูล ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน และกระบวนการทางานของ ระบบด้วย 12. Database Administrator ทาหน้าที่บริหารจัดการและดูแลฐานข้อมูลในองค์กร รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแล ความปลอดภัยของข้อมูล เช่น กาหนดสิทธิ์การ เข้าถึง การป้องกันและระวังการถูกโจมตีหรือ โจรกรรมข้อมูล นักวิเคราะห์ระบบ ผู้ดูแลและบริหารจัดการฐานข้อมูล
  • 11. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 13. Network Administrator คือ ผู้ทาหน้าที่บริหารจัดการและดูแลระบบ เครือข่าย และการสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายของ องค์กร เพื่อให้การสื่อสารกันระหว่างหน่วยงาน ภายในและการสื่อสารกับหน่วยงานภายนอก สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ 14. Game Maker / Game Developer คือ ผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนาเกม ตามที่ได้ออกแบบไว้ปัจจุบันธุรกิจด้านเกม มีการพัฒนาเพื่อให้สามารถเล่นได้บนสมาร์ตโฟน ผ่านระบบเครือข่าย นักพัฒนาเกม จึงต้องมีการ เรียนรู้และพัฒนารูปแบบเกมตามความต้องการ ของผู้เล่น ผู้ดูแลและบริหารจัดการเครือข่าย นักพัฒนาเกม
  • 12. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 15. Technician มีหน้าที่อานวยความสะดวกในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์และซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และอาจรวมถึงการดูแลระบบเครือข่ายหรืออื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย การแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก การใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร เจ้าหน้าที่เทคนิค
  • 13. ระดับการ บริการ (Service) เช่น การดูแลระบบ ให้ใช้งานได้ระบบสนับสนุนต่าง ๆ และการซ่อมบารุงรักษา ระดับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน (Software) เช่น แอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน ระบบความปลอดภัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) เช่น บริการคลาวด์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 o ระดับสายงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับอุปกรณ์ (Hardware) เช่น เซิร์ฟเวอร์ อุปกรณ์สื่อสาร ระบบเครือข่ายทั้งหมด เครื่องคอมพิวเตอร์ ระดับลักษณะสายงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 14. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากระดับล่างสุด Hardware และ Infrastructure ถือว่าเป็นหัวใจและรากฐานของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตาแหน่งงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สายงานด้าน Network & System สายงานด้านการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Management) ตาแหน่งวิศวกรซอฟต์แวร์ นักทดสอบซอฟต์แวร์ นักตรวจสอบ คุณภาพซอฟต์แวร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักออกแบบสถาปัตยกรรมแนวทาง นักวิเคราะห์โปรแกรม วิศวกรระบบ เครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบ นักวิเคราะห์ระบบธุรกิจ นักตรวจสอบระบบไอที หัวหน้าโครงการต่าง ๆ หัวหน้าสายงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ หัวหน้าหรือ เจ้าหน้าที่ศูนย์ข้อมูล
  • 15. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากระดับรอยต่อระหว่างระบบกับผู้ใช้ คือ ซอฟต์แวร์ และการบริการ การบริการ ถือว่าเป็นความสาคัญให้เกิดการใช้งานระบบอุปกรณ์ให้ได้ประสิทธิผล ตาแหน่งงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สายงานด้าน Programmer & Developer สายงานด้านการจัดการระบบฐานข้อมูล (Database Management) ผู้มีทักษะเขียนภาษาต่าง ๆ ทาง คอมพิวเตอร์ เช่น ภาษา C หรือ C++, ภาษา Java เจ้าหน้าที่ดูแลฐานข้อมูล
  • 16. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายงานด้าน ERP สายงานด้าน เว็บไซต์ ผู้มีประสบการณ์ ในตาแหน่งงาน ด้าน ERP Consultant Content Manager Online Marketing Manager SEO Specialist สายงานด้าน IT Support เจ้าหน้าที่เทคนิค
  • 17. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม แนวกว้าง แนวดิ่งหรือแนวลึก ส่งผลต่อรอบข้าง ส่งผลกับตนเอง ครอบครัว เพื่อน ญาติ สังคม วัฒนธรรม ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ความเป็นไปของสังคม
  • 18. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวกว้าง  ด้านคุณภาพชีวิต ผลกระทบด้านบวก มีความรวดเร็วในการ รับ – ส่งข้อมูลข่าวสาร มีการบริการด้าน ต่าง ๆ ที่หลากหลาย มีอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามา ช่วยในการดารงชีวิต มีความสะดวกสบาย ในการติดต่อสื่อสาร
  • 19. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)  ด้านคุณภาพชีวิต ผลกระทบด้านลบ ข้อมูลข่าวสารเกิดการ ผิดพลาดคลาดเคลื่อน เสี่ยงต่อการถูกล่อลวง
  • 20. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ) ผลกระทบด้านบวก การทาธุรกรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น การจัดเก็บบันทึกข้อมูลทาได้หลากหลาย มีความโปร่งใสตรวจสอบได้ง่าย เกิดธุรกิจหรือบริการใหม่ ๆ  ด้านโอกาสทางธุรกิจ ความเป็นอยู่ในสังคม และการแข่งขัน ธรรมาภิบาลในการใช้สารสนเทศ การแข่งขันในทางธุรกิจมีสิทธิและเสรีภาพมากขึ้น
  • 21. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)  ด้านโอกาสทางธุรกิจ ความเป็นอยู่ในสังคม และการแข่งขัน ผลกระทบด้านลบ มีการแข่งขันสูง ธุรกิจทั้งเก่าและใหม่ ต้องมีการปรับปรุงและปรับตัวอยู่ตลอดเวลาจึงจะอยู่รอดได้
  • 22. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวกว้าง (ต่อ)  ด้านวัฒนธรรม ผลกระทบด้านบวก ภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิ่นจะกลายเป็นจุดขาย เนื่องจากความต้องการในเชิง รสนิยม ของนักสะสม และเป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางผลิตภัณ์์ จากท้องถิ่นนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี มีช่องทางในการเผยแพร่ภาพลักษณ์ทางวัฒนธรรม ของชุมชนต่าง ๆ ได้กว้างมากขึ้น เช่น เว็บไซต์ หรือคลิปวิดีโอส่งเสริมการท่องเที่ยว
  • 23. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวกว้าง ผลกระทบด้านลบ เมื่อผลิตภัณ์์ต่าง ๆ สามารถผลิตและหาซื้อได้ง่าย วัฒนธรรมบางวัฒนธรรมก็ อาจจะถูกมองข้ามไปหรือขาดการดูแลเอาใจใส่ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ การจักสาน เพราะมีเทคโนโลยีที่ช่วยในการทอและจักสานทาเป็นลักษณะเชิง พาณิชย์รูปแบบการทอหรือการจักสานด้วยวิธีดั้งเดิมอาจสูญหายไป  ด้านวัฒนธรรม
  • 24. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวดิ่งหรือแนวลึก  ด้านบุคคล ผลกระทบด้านบวก การใช้ทักษะและความรู้ หากมีเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทาให้ การทางานง่ายและสะดวกขึ้น และมีสายงานเฉพาะด้านที่มีการ กระจายมากขึ้น บุคคลแต่ละบุคคลจะมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มากขึ้น ผลกระทบด้านลบ การนั่งอยู่กับเครื่องมือในการสื่อสารหรือคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา อาจทาให้เกิดภาวะไม่ดีต่อสุขภาพทาให้ไม่มีการออกกาลังกาย หรือการใช้สรีระร่างกายไม่ถูกต้อง อาจเกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ อาการปวดคอ อาการปวดไหล่ รวมถึงระบบสายตา
  • 25. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลกระทบแนวดิ่งหรือแนวลึก  สังคมและเศรษฐกิจ ผลกระทบด้านบวก เกิดความหลากหลายในกลุ่มบุคคลหรือกลุ่มประชาชน ที่มีความสามารถเฉพาะด้านมากขึ้น ระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วย ทางานด้านการประมวลผล การวิเคราะห์ การคาดการณ์ และการ พยากรณ์ข้อมูลต่าง ๆ แทนการทางานของมนุษย์ ผลกระทบด้านลบ มนุษย์อาจจะตกงาน เนื่องจากมีการนาเอาเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์มาทางานแทน
  • 27. นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน  หน้าคาตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1. ข้อใดคือผลกระทบด้านลบด้านโอกาสทางธุรกิจ ความเป็นอยู่ในสังคมและการแข่งขัน การเกิดธุรกิจหรือการบริการใหม่1 การแข่งขันในธุรกิจมีสิทธิและเสรีภาพมากขึ้น2 ระบบความปลอดภัยในธุรกรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น3 ธรรมาภิบาลในการใช้สารสนเทศจะมีระบบที่มีการบริหารจัดการ และคุ้มครองอย่างทั่วถึงมากขึ้น 4 มีการแข่งขันสูง ธุรกิจทั้งเก่าและใหม่จะต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 55 เฉลย  เพราะ และ เป็นผลกระทบด้านบวก แต่  เป็นผลกระทบด้านลบ
  • 28. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. ระดับสายงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใด จัดอยู่ในระดับล่างสุด ระดับพื้นฐาน (Basic)1 ระดับการบริการ (Service)2 ระดับอุปกรณ์ (Hardware)3 ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)4 ระดับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน (Software)5 เฉลย  เพราะระดับอุปกรณ์ (Hardware) จัดอยู่ในระดับล่างสุด เช่น เซิร์ฟเวอร์ อุปกรณ์สื่อสาร ระบบเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ 3
  • 29. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระดับการบริการ (Service) การดูแลระบบให้ใช้งานได้1 ให้บริการอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ2 บารุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์3 เขียนภาษาต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์4 ระบบสนับสนุนต่าง ๆ และการซ่อมบารุง5 4 เฉลย  เพราะระดับการบริการ (Service) จะเกี่ยวกับการดูแลระบบให้ใช้งานได้ ระบบสนับสนุนต่าง ๆ ให้บริการอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ และบารุงรักษา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
  • 30. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 4. ข้อใดไม่ใช่ระดับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน (Software) เว็บไซต์1 เซิร์ฟเวอร์2 ระบบความปลอดภัย3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์4 แอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน5 เฉลย  เพราะเซิร์ฟเวอร์อยู่ในระดับอุปกรณ์ (Hardware) 2
  • 31. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เฉลย  เพราะผู้ดูแลเว็บไซต์เป็นหน้าที่ ของมนุษย์ที่คอยแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบบนเว็บไซต์ 5. ข้อใดไม่ใช่ระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI การวิเคราะห์1 ผู้ดูแลเว็บไซต์2 การประมวลผล3 ทางานแทนมนุษย์4 การพยากรณ์ข้อมูลสาคัญ5 2
  • 32. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. ข้อใดคือระดับอุปกรณ์ (Hardware) เว็บไซต์1 แอปพลิเคชัน2 เครื่องคอมพิวเตอร์3 ระบบความปลอดภัย4 โปรแกรมคอมพิวเตอร์5 เฉลย  เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในระดับอุปกรณ์ (Hardware) ที่สามารถจับต้องได้ 3
  • 33. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เฉลย  เพราะสังคมเกิดการแข่งขันและเร่งรัด เป็นผลกระทบด้านลบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบทางบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ สร้างโอกาสให้คนพิการ1 พัฒนาคุณภาพการศึกษา2 สังคมเกิดการแข่งขันและเร่งรัด3 การเกิดธุรกิจหรือการบริการใหม่4 เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร5 3
  • 34. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 8. เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงอะไร ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์1 การนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล2 การประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์3 การนาจินตนาการของคนยุคสมัยโบราณ มาสร้างเป็นเครื่องมือช่วยในการทางาน 4 เทคโนโลยีที่นามาใช้เพิ่มมูลค่าให้กับสารสนเทศ ทาให้สามารถใช้งานได้กว้างขวางขึ้น 5 3 เฉลย  เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ คือการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์
  • 35. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9. ความก้าวหน้าของอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพัฒนา อย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ทั้งด้านบวกและด้านลบ ด้านใดมีผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพมากที่สุด ด้านบุคคล1 ด้านวัฒนธรรม2 ด้านคุณภาพชีวิต3 ด้านโอกาสทางธุรกิจ4 ด้านสังคมและเศรษฐกิจ5 เฉลย  เพราะความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีผลกระทบต่อสุขภาพมากที่สุด คือ ด้านบุคคล ทาให้มีอาการปวดคอ อาการปวดไหล่ รวมถึงระบบสายตาเมื่อใช้งานเป็นเวลานาน 1
  • 36. เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 10. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ปรับปรุง > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์> วิจัยค้นคว้า1 วิจัยค้นคว้า > ปรับปรุง > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์2 ความคิดสร้างสรรค์ > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > วิจัยค้นคว้า > ปรับปรุง3 จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์> วิจัยค้นคว้า > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > ปรับปรุง4 ความคิดสร้างสรรค์ > ปรับปรุง > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > จินตนาการ > ปรับปรุง > วิจัยค้นคว้า 5 4 เฉลย  เพราะลาดับขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีเริ่มจาก จินตนาการ > ความคิดสร้างสรรค์> วิจัยค้นคว้า > ออกแบบ > สร้าง > ทดสอบ > ปรับปรุง