SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
เอกสารประกอบการเรี ย นการสอนวิ ช า ง 41102
                       เทคโนโลยี เ พื ่ อ ชี ว ิ ต
 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการทางเทคโนโลยี
                และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
                                                   ฝส.วรากรพรหมมณี

ความหมายของเทคโนโลยี
      คำาว่าเทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้
ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหา
ทางนำามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความ
หมายกว้างไกล เป็นคำาที่เราได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา
      เทคโนโลยี (Technology) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ
              Tech = Art ในภาษาอังกฤษ
              Logos = A study of
      ดังนั้น คำาว่า เทคโนโลยี จึงหมายถึง A study of art ซึ่งได้มี
ผู้แปลความหมาย สรุป ได้ว่า
เทคโนโลยี หมายถึง การนำาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และระเบียบ
วิธีทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและ
ปฏิบัติงาน

      คำาว่า เทคโนโลยี ตรงกับคำาภาษาอังกฤษว่า "Technology"
ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า "Technologia" แปลว่า การกระทำาที่มี
ระบบ อย่างไรก็ตามคำาว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคำาว่า
วิทยาศาสตร์ โดยเรียกรวม ๆ ว่า "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"
ซึ่งพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539: 406) ได้ให้ความ
หมายของเทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำาเอา
วิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและ
อุตสาหกรรม

ความสำ า คั ญ เทคโนโลยี
      สมัยก่อน มนุษย์มีอาชีพเกษตรกรรม ล่าสัตว์ ต่อมามีการ
รวมตัวกันสร้างเมือง
และสังคมเมืองทำาให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิต แต่ตอมาในระยะ
                                              ่
หลังระบบสื่อสาร
โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ก้าวหน้ามาก ชีวิตความเป็นอยู่ของ
มนุษย์เกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลข่าวสารเป็นจำานวนมาก ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุค
สังคมสารสนเทศ
ดังนั้นมนุษย์จึงต้องหันมาพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมาก

ความสำ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สารมี
5 ประการ ได้ แ ก่
   1. การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำาเป็นในการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ
      ของมนุษย์ สิ่งสำาคัญที่มี
ส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย
Communications media, การสื่อ
สารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
   2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วย
      ผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่า
โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำาให้
สารสนเทศเผยแพร่หรือ
กระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
   3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งาน
      ด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง
   4.   เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับ
      ประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำานวนการใช้
      เครือข่าย จำานวนผู้เชื่อมต่อ และจำานวนผู้ที่มีศักยภาพใน
      การเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น
   5. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำาให้ฮาร์ดแวร์
      คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมา

ประเภทของเทคโนโลยี
   1. เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์
                  เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สำาหรับการจัดการระบบ
      สารสนเทศ คือ ช่วยในการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล
      ข้อมูล ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะ
      อาศัยเทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์
      สำาหรับรับข้อมูลและแสดงผล
   2. เทคโนโลยี โ ทรคมนาคม
      เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สำาหรับส่งผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์
ไปให้ยังผู้ใช้ที่อยู่ห่างไกลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องครบ
ถ้วน และทันต่อเหตุการณ์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม ได้แก่
โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ รวมถึงเทคโนโลยีเครือข่าย คอมพิวเตอร์
ประโยชน์ ข องเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
ประโยชน์ที่ได้รับจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ชีวิตความเป็นอยู่ใน
ปัจจุบันเกี่ยวข้องกับสารสนเทศต่าง ๆ มากมาย เพื่อให้สารสนเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นระบบมาก ขึน จึงมีการจัดการสารสนเทศ
                                           ้
เหล่านั้นให้เป็นเชิงระบบ การใช้สารสนเทศเกี่ยวข้องกับทุกคน
การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจำาเป็น
เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเทคโนโลยีแห่งศตวรรษนี้ ที่ใช้ใน
การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การสื่อสารการสื่อสารข้อมูลที่เห็นเด่น
ชัดขณะนี้ และกำาลังมีบทบาทอย่างมาก และเรื่องเทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เราได้จาก การนำาเอาเทคโนโลยี บวก
กับ การดัดแปลงสิ่งต่าง ๆ จากเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวันทั้งสิ้น โครงสร้างและรูปแบบของข้อมูล
ที่ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นโครงสร้างที่จะมีรูปแบบชัดเจน
การจัดการข้อมูลจึงมีข้อตกลงเฉพาะ เพราะคอมพิวเตอร์สามารถ
แยกแยะข้อมูลได้ง่ายข้อเด่นของการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์ นอกจากในเรื่องความเร็วและความแม่นยำาแล้ว ยัง
เป็นเรื่องของการคัดลอกและแจกจ่ายข้อมูล ด้วยความก้าวหน้า
และเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในยุคของสารสนเทศ การปรับตัวของ
สังคมจึงเกิด ขึ้น บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่กำาลัง
เปลี่ยนแปลงสังคมนี้เอง ผลักดันให้เราศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อ
ปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้
          เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคม
อย่างมาก โดยรวมกล่าวได้ในด้านต่างๆ ดังนี้
    • สร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ที ่ ด ี ข ึ ้ น
        สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบ
สื่อสารโทรคมนาคม ืื เพื่ติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการ
ประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำานวยความสะดวกในบ้าน เช่น ใช้
ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควบคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
เป็นต้น
    • เสริ ม สร้ า งความเท่ า เที ย มในสั ง คมและการกระจาย
        โอกาส
        เทคโนโลยีสารสนเทศทำาให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหน
แห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำาให้มีการกระจากโอกาสการเรียนรู้ มี
การใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล การกระจายการเรียนรู้ไป
ยังถิ่นห่างไกล นอกจากนี้ในปัจจุบันมีความพยายามที่ใช้ระบบ
การรักษาพยาลาลผ่านเครือข่ายสื่อสาร
•    สารสนเทศกั บ การเรี ย นการสอนในโรงเรี ย น
       การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำาคอมพิวเตอร์และ
เครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดิทัศน์ เครื่องฉาย
ภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัด
ตารางสอน คำานวณระดับคะแนน จัดชั้นเรียน ทำารายงานเพื่อให้
ผู้บริหารได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ปัญหาในโรงเรียน และใน
ปัจจุบันได้มีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศใน
โรงเรียนมากขึ้น
    • เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม
       การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่าง จำาเป็นต้องใช้
สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำาเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้
ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์
อากาศ การจำาลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข
การเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพนำ้าในแม่นำ้าต่างๆ ตลอดจนการ
ตรวจวัดมลภาวะ
    • เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ การป้ อ งกั น ประเทศ
       กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธ
ยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบ
ควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์
ควบคุมการทำางาน
    • การผลิ ต ในอุ ต สาหกรรม และการพาณิ ช ยกรรม
       การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำาเป็น
ต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลง เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการ
บริหาร และการจัดการ การดำาเนินการและยังรวมไปถึงการใช้
บริการกับลูกค้า เพื่อให้ซอสินค้าได้สะดวกขึ้น
                         ื้

กระบวนการทางเทคโนโลยี
     กระบวนการออกแบบและการใช้เทคโนโลยี เป็นขั้นตอนที่
จะช่วยลดความผิดพลาดในการทำางาน มีความเหมาะสมกับการแก้
ปัญหาในการออกแบบและการนำาเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์มาใช้
กระบวนการออกแบบอย่างเป็นระบบ

กระบวนการทางเทคโนโลยี ประกอบด้ ว ย 7 ขั ้ น ตอน
ขั ้ น ที ่ 1. คือ กำาหนดปัญหาและความต้องการ
ขั ้ น ที ่ 2. คือ รวบรวมข้อมูล แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา
ขั ้ น ที ่ 3. คือ เลือกวิธีแก้ปัญหา
ขั ้ น ที ่   4.   คือ ออกแบบและปฏิบัติการ
ขั ้ น ที ่   5.   คือ ทดสอบ
ขั ้ น ที ่   6.   คือ ปรับปรุงแก้ไข
ขั ้ น ที ่   7.   คือ ประเมินผล

การใช้ เ ทคโนโลยี
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ
ในการประเมินผลความก้าวหน้าของการปฏิรูปการศึกษาในระดับ
สถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีผลการประเมินสาเหตุการ
จัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนยังไม่มีความ
ก้าวหน้าเท่าที่ควรและขาดประสิทธิภาพ ซึ่งแนวทางการใช้
เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญ ดังนั้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา
เป็นแหล่งเรียนรู้ใกล้ชิดกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และเห็นว่าไม่ใช่
เรื่องยาก และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
สามารถคิดที่จะใช้สร้างโปรแกรมใหม่ๆ ซึ่งจะเป็นการบ่งชี้ว่านโย
บายการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็นสำาคัญ มีความก้าวหน้าและประสบความสำาเร็จจริง

วิ ว ั ฒ นาการทางเทคโนโลยี

       วิวัฒนาการของการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษา กล่าว
ได้ว่าในช่วงแรกเป็นการใช้ที่จำากัดมาก เนื่องจากอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์มีราคาแพง ขาดบุคลากรที่จะเขียนเนื้อหาและผลิต
บทเรียน ขาดระบบการบริหาร และการให้บริการที่เหมาะสม ดังนั้น
จึงเห็นได้ว่าการใช้ส่วนใหญ่พบได้เพียงในสถานศึกษาระดับ
อุดมศึกษาบางแห่งเท่านั้น และเน้นหนักไปในเชิงวิจัยหาผล
สัมฤทธิทางการเรียน และพัฒนารูปแบบที่เหมาะสม วงการศึกษา
          ์
เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ครั้งแรกประมาณปี ค.ศ. 1950 โดย
มหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐอเมริกา ได้นำาคอมพิวเตอร์มาใช้
ด้านการบริหาร เช่น ด้านการบัญชีและการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้
เรียน และมีผนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานเกี่ยวกับการวิจัยการเรียน
              ู้
การสอน ได้แก่ โครงการเพลโต (PLATO) ทีมหาวิทยาลัย
                                            ่
อิลลินอยส์ เริมเมื่อปี ค.ศ. 1960 โดยมีวัตถุประสงค์ในการ
                 ่
ออกแบบการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน การใช้
คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษาได้มีการคิดค้นปรับปรุงเรื่อยมา จนถึง
ค.ศ. 1970 ได้มีการนำา โครงการ PLATO IV มาใช้เป็นระบบการ
ใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันโดยมีศูนย์กลางใหญ่ในการเก็บข้อมูล และ
มีสาขา จนกระทัง ค . ศ .1977 สถาบันการศึกษาระดับโรงเรียน
               ่
ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และมหาวิทยาลัยได้นำาไมโคร
คอมพิวเตอร์มาใช้กันอย่างกว้างขวาง

คอมพิ ว เตอร์
      คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำางานแบบอัตโนมัติ
ทำาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ยากและซับ
ซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์
      คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการ
ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคำานวณซึ่งมีวิวัฒนาการนานมา
แล้ว เริ่มจากเครื่องมือในการคำานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด"
(Abacus) ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี
มาแล้ว




จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล
แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์
(Analytical Engine) สามารถคำานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ การทำางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคำานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลัง
เครื่องยนต์ไอนำ้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คำานวณได้
โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจำา ก่อนจะพิมพ์ออกมา
ทางกระดาษ

หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นำามาพัฒนาสร้างเครื่อง
คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่อง
คอมพิวเตอร์
หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมา
มากมายหลายขนาด ทำาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่าง
แท้จริง โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค
  • ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501
  • ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ.
     2502-2506
  • ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ.
     2507-2512
  • ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532
  • ยุคที่ห้า (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึง
     ปัจจุบัน

ประเภทของคอมพิ ว เตอร์
แบ่ ง ตามหลั ก การประมวลผล จำาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
    • คอมพิ ว เตอร์ แ บบแออนาล็ อ ก (Analog Computer)
หมายถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด
(Measuring Principle) ทำางานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง
แบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะ
สัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้
มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัทม์ และเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว
โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจาก
การขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลข้างหลอดแก้ว
    • คอมพิ ว เตอร์ แ บบดิ จ ิ ท ั ล (Digital Computer)
ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำางานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่อง
มือประมวลผลข้อมูลทีอาศัยหลักการนับ ทำางานกับข้อมูลที่มี
                       ่
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ใน
ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับ
สัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบ
ฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทำาให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ
ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็น
ทศนิยมได้หลายตำาแหน่ง เป็นต้น
เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็นสัญญาณ
ไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทำาให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่ง
ข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึงจำาเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับ
เข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสีย
ก่อน เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไป
เป็น Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ต่อไป
โดยส่วนประกอบสำาคัญที่เรียกว่า ตัวเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล
(Converter) คอยทำาหน้าที่ในการเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณ
ข้อมูล ระหว่าง Digital Signal กับ Analog Signal
   • คอมพิ ว เตอร์ แ บบลู ก ผสม (Hybrid Computer)
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทำางานแบบผสมผสาน
ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไป
มักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer
ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการ
คำานวณระยะทาง เป็นต้น การทำางานแบบผสมผสานของ
คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจำาเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ
(Converter) เช่นเดิม

แบ่ ง ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ ง าน จำาแนกได้เป็น 2 ประเภท
คือ
    • เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ เ พื ่ อ งานเฉพาะกิ จ (Special
       Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและ
โปรแกรมควบคุม ให้ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ
(Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรม
ที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม
สัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟท์ หรือคอมพิวเตอร์
ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์ เป็นต้น
    • เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ เ พื ่ อ งานอเนกประสงค์ (General
       Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทำางาน
(Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงาน
ประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทำางานตามคำาสั่งใน
โปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ทำางานอะไร ก็เพียงแต่ออกคำาสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามา
ใช้งาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่อง
เดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครื่องนี้ในงานประมวลผล
เกี่ยวกับระบบบัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใช้ในการออกเช็ค
เงินเดือนได้ เป็นต้น
แบ่ ง ตามความสามารถของระบบ จำาแนกออกได้เป็น 4
ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล และ
ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้
   • ซุ ป เปอร์ ค อมพิ ว เตอร์ (Super Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวล
ผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้าน
วิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และต้องการ
ความเร็วสูง เช่น งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ
(NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น
   • เมนเฟรมคอมพิ ว เตอร์ (Mainframe Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจำาและความเร็ว
น้อยลง สามารถใช้ข้อมูลและคำาสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล
(Family) เดียวกันได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้น
ยังสามารถทำางานในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี
โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง
(Terminal) จำานวนมากได้ สามารถทำางานได้พร้อมกันหลายงาน
(Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (Multi User)
ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่ มีราคาตั้งแต่สิบล้าน
บาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาท ตัวอย่างของเครื่องเมนเฟรมที่ใช้
กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไปยังตู้
ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง
   • มิ น ิ ค อมพิ ว เตอร์ (Mini Computer)
ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จำาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์
ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนา
คอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่า เครื่องมินิ
คอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทำางานร่วมกับอุปกรณ์
ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็ก
ความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถ
อ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้
คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพ
สินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
   • ไมโครคอมพิ ว เตอร์ (Micro Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่วยความ
จำาและความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้
ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal
Computer: PC)
ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัย
ก่อนมาก อาจเท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน
นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตาม
หน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา
และบ้านเรือน บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำาหน่ายจน
ประสบความสำาเร็จเป็นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
      เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จำาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท
ใหญ่ๆ คือ
   1. แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทำางาน (Desktop
      Computer)
   2. แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกพา
      ติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วน
      ใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop
      Computer หรือ Notebook Computer


ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์

เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อ
ทดแทนข้อจำากัดของมนุษย์ เรียกว่า 4 S special ดังนี้
1. หน่ ว ยเก็ บ (Storage)
       หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำานวนมากและเป็น
เวลานาน นับเป็น
จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำางานแบบอัตโนมัติ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของ
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย
2. ความเร็ ว (Speed)
       หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
(Processing Speed)
โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วน
เกี่ยวข้องน้อยที่สุด
เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำาคัญส่วนหนึ่ง
เช่นกัน
3. ความเป็ น อั ต โนมั ต ิ (Self Acting)
       หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำาดับ
ขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มี
ส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกำาหนดโปรแกรมคำาสั่งและ
ข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านั้น
4. ความน่ า เชื ่ อ ถื อ (Sure)
       หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่
ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสำาคัญที่สุดในการทำางานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำาสั่ง
และข้อมูลที่มนุษย์กำาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าว
คือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็
ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน

องค์ ป ระกอบของคอมพิ ว เตอร์
  • ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
  • ซอฟต์แวร์ (Software)
  • บุคลากร (Peopleware)
  • ข้อมูล (Data)


ฮาร์ ด แวร์ (Hardware)
      หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูป
ธรรม) ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำางาน
ได้ 4 หน่วย

ซอฟต์ แ วร์ (Software)
เป็นโปรแกรมหรือชุดคำาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อม
ระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์
ประกอบด้วย 2 ประเภท
   • ซอฟต์แวร์ประยุกต์
   • ซอฟต์แวร์ระบบ


บุ ค ลากร (Peopleware)
      หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่ต้องการ ได้แก่
    • ผู้จัดการระบบ (System Manager)
    • นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
•   โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
  •   ผู้ใช้ (User)

ข้ อ มู ล (Data)
        ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำาคัญอย่างหนึ่งในระบบ
คอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับ
โปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ตองการ
                                                      ้
ออกมา

More Related Content

What's hot

บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศsongpop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศThanaporn Komon
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22Rungroj Ssan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศJintana Pandoung
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 

What's hot (20)

20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Basic it
Basic itBasic it
Basic it
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Similar to ใบความรู้แผนที่ 2

บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งpanida21
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งorawan34
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3Sakonwan947
 
งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3Sakonwan947
 
งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3Sakonwan947
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNawaminthrachinuthit Bodindecha School
 

Similar to ใบความรู้แผนที่ 2 (20)

บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่งเทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศส่ง
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3
 
งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3
 
งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3งานนำเสนอ 3
งานนำเสนอ 3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

ใบความรู้แผนที่ 2

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ย นการสอนวิ ช า ง 41102 เทคโนโลยี เ พื ่ อ ชี ว ิ ต ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการทางเทคโนโลยี และองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ฝส.วรากรพรหมมณี ความหมายของเทคโนโลยี คำาว่าเทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหา ทางนำามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความ หมายกว้างไกล เป็นคำาที่เราได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา เทคโนโลยี (Technology) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ Tech = Art ในภาษาอังกฤษ Logos = A study of ดังนั้น คำาว่า เทคโนโลยี จึงหมายถึง A study of art ซึ่งได้มี ผู้แปลความหมาย สรุป ได้ว่า เทคโนโลยี หมายถึง การนำาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และระเบียบ วิธีทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและ ปฏิบัติงาน คำาว่า เทคโนโลยี ตรงกับคำาภาษาอังกฤษว่า "Technology" ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า "Technologia" แปลว่า การกระทำาที่มี ระบบ อย่างไรก็ตามคำาว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคำาว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรียกรวม ๆ ว่า "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ซึ่งพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539: 406) ได้ให้ความ หมายของเทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำาเอา วิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและ อุตสาหกรรม ความสำ า คั ญ เทคโนโลยี สมัยก่อน มนุษย์มีอาชีพเกษตรกรรม ล่าสัตว์ ต่อมามีการ รวมตัวกันสร้างเมือง และสังคมเมืองทำาให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิต แต่ตอมาในระยะ ่ หลังระบบสื่อสาร โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ก้าวหน้ามาก ชีวิตความเป็นอยู่ของ มนุษย์เกี่ยวข้องกับ
  • 2. ข้อมูลข่าวสารเป็นจำานวนมาก ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุค สังคมสารสนเทศ ดังนั้นมนุษย์จึงต้องหันมาพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมาก ความสำ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สารมี 5 ประการ ได้ แ ก่ 1. การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำาเป็นในการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำาคัญที่มี ส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อ สารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) 2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่า โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำาให้ สารสนเทศเผยแพร่หรือ กระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผลให้การใช้งาน ด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง 4. เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับ ประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำานวนการใช้ เครือข่าย จำานวนผู้เชื่อมต่อ และจำานวนผู้ที่มีศักยภาพใน การเข้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น 5. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำาให้ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมา ประเภทของเทคโนโลยี 1. เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สำาหรับการจัดการระบบ สารสนเทศ คือ ช่วยในการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผล ข้อมูล ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะ อาศัยเทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์ สำาหรับรับข้อมูลและแสดงผล 2. เทคโนโลยี โ ทรคมนาคม เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สำาหรับส่งผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ ไปให้ยังผู้ใช้ที่อยู่ห่างไกลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องครบ ถ้วน และทันต่อเหตุการณ์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม ได้แก่ โทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ รวมถึงเทคโนโลยีเครือข่าย คอมพิวเตอร์
  • 3. ประโยชน์ ข องเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ประโยชน์ที่ได้รับจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ชีวิตความเป็นอยู่ใน ปัจจุบันเกี่ยวข้องกับสารสนเทศต่าง ๆ มากมาย เพื่อให้สารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นระบบมาก ขึน จึงมีการจัดการสารสนเทศ ้ เหล่านั้นให้เป็นเชิงระบบ การใช้สารสนเทศเกี่ยวข้องกับทุกคน การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจำาเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเทคโนโลยีแห่งศตวรรษนี้ ที่ใช้ใน การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การสื่อสารการสื่อสารข้อมูลที่เห็นเด่น ชัดขณะนี้ และกำาลังมีบทบาทอย่างมาก และเรื่องเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เราได้จาก การนำาเอาเทคโนโลยี บวก กับ การดัดแปลงสิ่งต่าง ๆ จากเทคโนโลยีเทคโนโลยีสารสนเทศ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำาวันทั้งสิ้น โครงสร้างและรูปแบบของข้อมูล ที่ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นโครงสร้างที่จะมีรูปแบบชัดเจน การจัดการข้อมูลจึงมีข้อตกลงเฉพาะ เพราะคอมพิวเตอร์สามารถ แยกแยะข้อมูลได้ง่ายข้อเด่นของการประมวลผลข้อมูล คอมพิวเตอร์ นอกจากในเรื่องความเร็วและความแม่นยำาแล้ว ยัง เป็นเรื่องของการคัดลอกและแจกจ่ายข้อมูล ด้วยความก้าวหน้า และเปลี่ยนแปลงโครงสร้างในยุคของสารสนเทศ การปรับตัวของ สังคมจึงเกิด ขึ้น บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่กำาลัง เปลี่ยนแปลงสังคมนี้เอง ผลักดันให้เราศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อ ปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคม อย่างมาก โดยรวมกล่าวได้ในด้านต่างๆ ดังนี้ • สร้ า งเสริ ม คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ที ่ ด ี ข ึ ้ น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบ สื่อสารโทรคมนาคม ืื เพื่ติดต่อสื่อสารให้สะดวกขึ้น มีการ ประยุกต์มาใช้กับเครื่องอำานวยความสะดวกในบ้าน เช่น ใช้ ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ใช้ควบคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เป็นต้น • เสริ ม สร้ า งความเท่ า เที ย มในสั ง คมและการกระจาย โอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทำาให้เกิดการกระจายไปทั่วทุกหน แห่ง แม้แต่ถิ่นทุรกันดาร ทำาให้มีการกระจากโอกาสการเรียนรู้ มี การใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล การกระจายการเรียนรู้ไป ยังถิ่นห่างไกล นอกจากนี้ในปัจจุบันมีความพยายามที่ใช้ระบบ การรักษาพยาลาลผ่านเครือข่ายสื่อสาร
  • 4. สารสนเทศกั บ การเรี ย นการสอนในโรงเรี ย น การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนำาคอมพิวเตอร์และ เครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดิทัศน์ เครื่องฉาย ภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการศึกษา จัด ตารางสอน คำานวณระดับคะแนน จัดชั้นเรียน ทำารายงานเพื่อให้ ผู้บริหารได้ทราบถึงปัญหาและการแก้ปัญหาในโรงเรียน และใน ปัจจุบันได้มีการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศใน โรงเรียนมากขึ้น • เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่าง จำาเป็นต้องใช้ สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จำาเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์ อากาศ การจำาลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพนำ้าในแม่นำ้าต่างๆ ตลอดจนการ ตรวจวัดมลภาวะ • เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ การป้ อ งกั น ประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธ ยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และระบบ ควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ ควบคุมการทำางาน • การผลิ ต ในอุ ต สาหกรรม และการพาณิ ช ยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมจำาเป็น ต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลง เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการ บริหาร และการจัดการ การดำาเนินการและยังรวมไปถึงการใช้ บริการกับลูกค้า เพื่อให้ซอสินค้าได้สะดวกขึ้น ื้ กระบวนการทางเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบและการใช้เทคโนโลยี เป็นขั้นตอนที่ จะช่วยลดความผิดพลาดในการทำางาน มีความเหมาะสมกับการแก้ ปัญหาในการออกแบบและการนำาเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์มาใช้ กระบวนการออกแบบอย่างเป็นระบบ กระบวนการทางเทคโนโลยี ประกอบด้ ว ย 7 ขั ้ น ตอน ขั ้ น ที ่ 1. คือ กำาหนดปัญหาและความต้องการ ขั ้ น ที ่ 2. คือ รวบรวมข้อมูล แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา ขั ้ น ที ่ 3. คือ เลือกวิธีแก้ปัญหา
  • 5. ขั ้ น ที ่ 4. คือ ออกแบบและปฏิบัติการ ขั ้ น ที ่ 5. คือ ทดสอบ ขั ้ น ที ่ 6. คือ ปรับปรุงแก้ไข ขั ้ น ที ่ 7. คือ ประเมินผล การใช้ เ ทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ ในการประเมินผลความก้าวหน้าของการปฏิรูปการศึกษาในระดับ สถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีผลการประเมินสาเหตุการ จัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนยังไม่มีความ ก้าวหน้าเท่าที่ควรและขาดประสิทธิภาพ ซึ่งแนวทางการใช้ เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำาคัญ ดังนั้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้ใกล้ชิดกับเครื่องคอมพิวเตอร์ และเห็นว่าไม่ใช่ เรื่องยาก และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถคิดที่จะใช้สร้างโปรแกรมใหม่ๆ ซึ่งจะเป็นการบ่งชี้ว่านโย บายการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำาคัญ มีความก้าวหน้าและประสบความสำาเร็จจริง วิ ว ั ฒ นาการทางเทคโนโลยี วิวัฒนาการของการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษา กล่าว ได้ว่าในช่วงแรกเป็นการใช้ที่จำากัดมาก เนื่องจากอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์มีราคาแพง ขาดบุคลากรที่จะเขียนเนื้อหาและผลิต บทเรียน ขาดระบบการบริหาร และการให้บริการที่เหมาะสม ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าการใช้ส่วนใหญ่พบได้เพียงในสถานศึกษาระดับ อุดมศึกษาบางแห่งเท่านั้น และเน้นหนักไปในเชิงวิจัยหาผล สัมฤทธิทางการเรียน และพัฒนารูปแบบที่เหมาะสม วงการศึกษา ์ เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ครั้งแรกประมาณปี ค.ศ. 1950 โดย มหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐอเมริกา ได้นำาคอมพิวเตอร์มาใช้ ด้านการบริหาร เช่น ด้านการบัญชีและการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้ เรียน และมีผนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานเกี่ยวกับการวิจัยการเรียน ู้ การสอน ได้แก่ โครงการเพลโต (PLATO) ทีมหาวิทยาลัย ่ อิลลินอยส์ เริมเมื่อปี ค.ศ. 1960 โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ่ ออกแบบการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน การใช้ คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษาได้มีการคิดค้นปรับปรุงเรื่อยมา จนถึง ค.ศ. 1970 ได้มีการนำา โครงการ PLATO IV มาใช้เป็นระบบการ
  • 6. ใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันโดยมีศูนย์กลางใหญ่ในการเก็บข้อมูล และ มีสาขา จนกระทัง ค . ศ .1977 สถาบันการศึกษาระดับโรงเรียน ่ ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และมหาวิทยาลัยได้นำาไมโคร คอมพิวเตอร์มาใช้กันอย่างกว้างขวาง คอมพิ ว เตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำางานแบบอัตโนมัติ ทำาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ยากและซับ ซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการ ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคำานวณซึ่งมีวิวัฒนาการนานมา แล้ว เริ่มจากเครื่องมือในการคำานวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด" (Abacus) ที่สร้างขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ 2,000-3,000 ปี มาแล้ว จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2376 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาร์ล แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) สามารถคำานวณค่าของตรีโกณมิติ ฟังก์ชั่น ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ การทำางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคำานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลัง เครื่องยนต์ไอนำ้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คำานวณได้ โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจำา ก่อนจะพิมพ์ออกมา ทางกระดาษ หลักการของแบบเบจนี้เองที่ได้นำามาพัฒนาสร้างเครื่อง คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เราจึงยกย่องให้แบบเบจเป็น บิดาแห่งเครื่อง คอมพิวเตอร์
  • 7. หลังจากนั้นเป็นต้นมา ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นมา มากมายหลายขนาด ทำาให้เป็นการเริ่มยุคของคอมพิวเตอร์อย่าง แท้จริง โดยสามารถจัดแบ่งคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค • ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-2501 • ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 • ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-2512 • ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-2532 • ยุคที่ห้า (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึง ปัจจุบัน ประเภทของคอมพิ ว เตอร์ แบ่ ง ตามหลั ก การประมวลผล จำาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ • คอมพิ ว เตอร์ แ บบแออนาล็ อ ก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทำางานโดยใช้ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง แบบต่อเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะ สัญญาณที่เรียกว่า Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปัทม์ และเข็มชี้ เช่น การวัดค่าความยาว โดยเปรียบเทียบกับสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจาก การขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับสเกลข้างหลอดแก้ว • คอมพิ ว เตอร์ แ บบดิ จ ิ ท ั ล (Digital Computer) ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการทำางานทั่วๆ ไปนั่นเอง เป็นเครื่อง มือประมวลผลข้อมูลทีอาศัยหลักการนับ ทำางานกับข้อมูลที่มี ่ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ใน ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้า หรือ Digital Signal อาศัยการนับ สัญญาณข้อมูลที่เป็นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบ ฐานเวลา (Clock Time) มาตรฐาน ทำาให้ผลลัพธ์เป็นที่น่าเชื่อถือ ทั้งสามารถนับข้อมูลให้ค่าความละเอียดสูง เช่นแสดงผลลัพธ์เป็น ทศนิยมได้หลายตำาแหน่ง เป็นต้น เนื่องจาก Digital Computer ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็นสัญญาณ ไฟฟ้า (มนุษย์สัมผัสไม่ได้) ทำาให้ไม่สามารถรับข้อมูลจากแหล่ง ข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึงจำาเป็นต้องเปลี่ยนข้อมูลต้นทางที่รับ เข้า (Analog Signal) เป็นสัญญาณไฟฟ้า (Digital Signal) เสีย
  • 8. ก่อน เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้วจึงเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับไป เป็น Analog Signal เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ต่อไป โดยส่วนประกอบสำาคัญที่เรียกว่า ตัวเปลี่ยนสัญญาณข้อมูล (Converter) คอยทำาหน้าที่ในการเปลี่ยนรูปแบบของสัญญาณ ข้อมูล ระหว่าง Digital Signal กับ Analog Signal • คอมพิ ว เตอร์ แ บบลู ก ผสม (Hybrid Computer) เครื่องประมวลผลข้อมูลที่อาศัยเทคนิคการทำางานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทั่วไป มักใช้ในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ที่ใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการ คำานวณระยะทาง เป็นต้น การทำางานแบบผสมผสานของ คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยังคงจำาเป็นต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม แบ่ ง ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารใช้ ง าน จำาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ • เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ เ พื ่ อ งานเฉพาะกิ จ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและ โปรแกรมควบคุม ให้ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรม ที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม สัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟท์ หรือคอมพิวเตอร์ ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์ เป็นต้น • เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ เ พื ่ อ งานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการทำางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้ในงาน ประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทำางานตามคำาสั่งใน โปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำางานอะไร ก็เพียงแต่ออกคำาสั่งเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามา ใช้งาน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่อง เดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครื่องนี้ในงานประมวลผล เกี่ยวกับระบบบัญชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใช้ในการออกเช็ค เงินเดือนได้ เป็นต้น
  • 9. แบ่ ง ตามความสามารถของระบบ จำาแนกออกได้เป็น 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บข้อมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้ • ซุ ป เปอร์ ค อมพิ ว เตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวล ผลสูงที่สุด โดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้าน วิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อน และต้องการ ความเร็วสูง เช่น งานวิจัยขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสื่อสารดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็นต้น • เมนเฟรมคอมพิ ว เตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีส่วนความจำาและความเร็ว น้อยลง สามารถใช้ข้อมูลและคำาสั่งของเครื่องรุ่นอื่นในตระกูล (Family) เดียวกันได้ โดยไม่ต้องดัดแปลงแก้ไขใดๆ นอกจากนั้น ยังสามารถทำางานในระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถเชื่อมต่อไปยังอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องปลายทาง (Terminal) จำานวนมากได้ สามารถทำางานได้พร้อมกันหลายงาน (Multi Tasking) และใช้งานได้พร้อมกันหลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่ มีราคาตั้งแต่สิบล้าน บาทไปจนถึงหลายร้อยล้านบาท ตัวอย่างของเครื่องเมนเฟรมที่ใช้ กันแพร่หลายก็คือ คอมพิวเตอร์ของธนาคารที่เชื่อมต่อไปยังตู้ ATM และสาขาของธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง • มิ น ิ ค อมพิ ว เตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จำาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ ขนาดเมนเฟรมซึ่งมีราคาแพง ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์จึงพัฒนา คอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กและมีราคาถูกลง เรียกว่า เครื่องมินิ คอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะพิเศษในการทำางานร่วมกับอุปกรณ์ ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็ก ความจุสูงชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาข้อมูล สามารถ อ่านเขียนข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัทที่ใช้ คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพ สินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ • ไมโครคอมพิ ว เตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่วยความ จำาและความเร็วในการประมวลผลน้อยที่สุด สามารถใช้งานได้ ด้วยคนเดียว จึงมักถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC)
  • 10. ปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงกว่าในสมัย ก่อนมาก อาจเท่ากับหรือมากกว่าเครื่องเมนเฟรมในยุคก่อน นอกจากนั้นยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมใช้มาก ทั้งตาม หน่วยงานและบริษัทห้างร้าน ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้านเรือน บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกจำาหน่ายจน ประสบความสำาเร็จเป็นบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จำาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ 1. แบบติดตั้งใช้งานอยู่กับที่บนโต๊ะทำางาน (Desktop Computer) 2. แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกพา ติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จากภายนอก ส่วน ใหญ่มักเรียกตามลักษณะของการใช้งานว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อ ทดแทนข้อจำากัดของมนุษย์ เรียกว่า 4 S special ดังนี้ 1. หน่ ว ยเก็ บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำานวนมากและเป็น เวลานาน นับเป็น จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำางานแบบอัตโนมัติ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย 2. ความเร็ ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วน เกี่ยวข้องน้อยที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำาคัญส่วนหนึ่ง เช่นกัน 3. ความเป็ น อั ต โนมั ต ิ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำาดับ ขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มี
  • 11. ส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกำาหนดโปรแกรมคำาสั่งและ ข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านั้น 4. ความน่ า เชื ่ อ ถื อ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ ถูกต้อง ความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสำาคัญที่สุดในการทำางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำาสั่ง และข้อมูลที่มนุษย์กำาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าว คือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ ย่อมได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน องค์ ป ระกอบของคอมพิ ว เตอร์ • ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • ซอฟต์แวร์ (Software) • บุคลากร (Peopleware) • ข้อมูล (Data) ฮาร์ ด แวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูป ธรรม) ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำางาน ได้ 4 หน่วย ซอฟต์ แ วร์ (Software) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำาสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อม ระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 2 ประเภท • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ • ซอฟต์แวร์ระบบ บุ ค ลากร (Peopleware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่ต้องการ ได้แก่ • ผู้จัดการระบบ (System Manager) • นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
  • 12. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) • ผู้ใช้ (User) ข้ อ มู ล (Data) ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำาคัญอย่างหนึ่งในระบบ คอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับ โปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ตองการ ้ ออกมา