SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ 
CHAPTER 9
สถานการณ์ปัญหา 
ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายงานตัวต่อสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประจำจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจำจังหวัด ผู้อำนวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็ก เก่งด้วย ยิ่งทำให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทำได้ดีหรือไม่และ นักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของตนเองหรือไม่ ที่สำคัญคือนักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทำ ฝึกคิดหรือที่ท้าทายการทำงาน นักเรียนจะชอบมาก อีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะ รู้และทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทำงาน กลุ่มไม่ค่อยประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ซึ่งผู้อำนวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิต เพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้
ภารกิจ 
1) ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถจัดการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร 
2) ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กำหนดให้
ภารกิจที่ 1 
1) ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถจัดการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร
ครูพลกิตจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการจัดการ เรียนรู้ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ ในขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือก สื่อที่ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนำเสนอความรู้ การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้ สามารถใช้งานได้ ตลอดจนการออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ที่มีความสอดคล้องกับ การเสาะแสวงหาความรู้และเป้าหมายของรายวิชา ในการใช้สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อนการจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้และครูพลกิตควร ศึกษาการสอนจนเกิดความพร้อมเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ ฝึกการสอนจนเกิดความชำนาญ 
และควรจัดการเรียนในห้องเรียนให้เป็นแบบร่วมมือ เนื่องจากที่ผ่านมานักเรียนไม่ค่อยชอบทำงาน กลุ่มและทำงานกลุ่มไม่ค่อยประสบผลสำเร็จทำให้ภายภาคหน้าอาจมีปัญหาในการทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้ แต่ก็ควรจะสอดแทรกสิ่งที่นักเรียนกลุ่มนี้ชอบก็คือการแข่งขัน การค้นหาข้อมูลที่ท้าทาย ความรู้ของนักเรียนและจะต้องเป็นข้อมูลที่ร่วมมือกันทำจึงจะประสบผลสำเร็จ เช่น การให้นักเรียน คิดวิธีการหาคำตอบที่แตกต่างกันและนำมาบูรณาการร่วมกันในกลุ่มและควรจะมีการใช้สื่อ มัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์เพื่อการค้นคว้าหาข้อมูล 
ดังนั้นการเรียนแบบร่วมมือแบบTGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่ คล้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการทดสอบ ย่อย จึงจะเหมาะกับนักเรียนม.5กลุ่มนี้
ภารกิจที่ 2 
2) ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กำหนดให้
เลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เนื่องจากนักเรียนในห้องที่มี ลักษณะค้นคว้าหาความรู้และชอบหากมีกิจกรรมที่ได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกคิดหรือมี ความท้าทายในการทำงาน ซึ่งตรงกับการเรียนแบบร่วมมือที่ให้นักเรียนเรียน โดยการทำกิจกรรมในการสืบค้น(Explore) อภิปราย(Discuss) อธิบาย (Explain) สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหา และเป็นการฝึกให้นักเรียน ค่อยๆยอมรับและชอบที่จะทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้นักเรียน ทำงานเป็นกลุ่ม เพราะการเรียนแบบร่วมมือจะเป็นการเรียนที่ให้นักเรียนทำงาน เป็นกลุ่มเล็ก แบบคละความสามารถ ให้ทำงานร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการ ผสมผสานความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน การ เรียนแบบร่วมมือยังมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลายที่เป็นการสนับสนุนการ ทำงานเป็นกลุ่มเพราะต้องอาศัยซึ่งกันและกันในการบรรลุจุดมุ่งหมาย อย่างเช่น 
STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการ เรียนรู้มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์ผลของการเรียนและทักษะทางสังคม เป็นสำคัญ
Co –op Co –op ซึ่งมีลักษณะสำคัญคือ สมาชิกแต่ละคน ในกลุ่มย่อยจะได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหา หรือ ทำกิจกรรมที่ ต่างกัน ทำเสร็จแล้วนำผลงานมารวมกันเป็นกลุ่มร่วมกันแก้ไข ทบทวนแล้วนำมาเสนอต่อชั้นเรียน อย่างการจัดการเรียนการสอน แบบร่วมมือตามวิธีการนี้ นักเรียนต้องร่วมมือกันในการทำงาน เพราะไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายได้ 
มุมสนทนา(Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ ละกลุ่มเข้าไปนั่งตามมุมหรือจุดต่างๆของห้องเรียน และช่วยกันหา คำตอบสำหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้นมา และเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนอธิบายเรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง การจัดการ เรียนตามรูปแบบนี้เด็กก็จะได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจ และได้ พูดคุยกับเพื่อนที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน
สมาชิก 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 
นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 
นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 
นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9

More Related Content

What's hot

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาChapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาWilasinee Narinrat
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9Kanlayanee Thongthab
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdfFerNews
 

What's hot (13)

Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9 Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาChapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 9
 
บทท 9 (1) 2
บทท  9 (1) 2บทท  9 (1) 2
บทท 9 (1) 2
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdf
 

Similar to บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาJaengJy Doublej
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)Siri Siripirom
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังAchariyaChuerpet
 

Similar to บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ (16)

Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
Chapter9
Chapter9 Chapter9
Chapter9
 
Chapter9
Chapter9Chapter9
Chapter9
 
บทท 9 (1) 2
บทท  9 (1) 2บทท  9 (1) 2
บทท 9 (1) 2
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Innovation chapter 9
Innovation chapter 9Innovation chapter 9
Innovation chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)1414339429 chakeaw chapter9 (1)
1414339429 chakeaw chapter9 (1)
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 

More from pohn

สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์pohn
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้pohn
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557pohn
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1pohn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอpohn
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาpohn
 

More from pohn (8)

สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
สิ่งพิมพ์ เรื่อง เมทริกซ์
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้

  • 2. สถานการณ์ปัญหา ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายงานตัวต่อสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประจำจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจำจังหวัด ผู้อำนวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็ก เก่งด้วย ยิ่งทำให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทำได้ดีหรือไม่และ นักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของตนเองหรือไม่ ที่สำคัญคือนักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทำ ฝึกคิดหรือที่ท้าทายการทำงาน นักเรียนจะชอบมาก อีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะ รู้และทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทำงาน กลุ่มไม่ค่อยประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ซึ่งผู้อำนวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิต เพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้
  • 3. ภารกิจ 1) ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถจัดการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร 2) ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กำหนดให้
  • 4. ภารกิจที่ 1 1) ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถจัดการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร
  • 5. ครูพลกิตจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการจัดการ เรียนรู้ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ ในขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือก สื่อที่ตอบสนองวิธีการเรียนรู้เพื่อใช้ในการนำเสนอความรู้ การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้ สามารถใช้งานได้ ตลอดจนการออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ที่มีความสอดคล้องกับ การเสาะแสวงหาความรู้และเป้าหมายของรายวิชา ในการใช้สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อนการจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้และครูพลกิตควร ศึกษาการสอนจนเกิดความพร้อมเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ ฝึกการสอนจนเกิดความชำนาญ และควรจัดการเรียนในห้องเรียนให้เป็นแบบร่วมมือ เนื่องจากที่ผ่านมานักเรียนไม่ค่อยชอบทำงาน กลุ่มและทำงานกลุ่มไม่ค่อยประสบผลสำเร็จทำให้ภายภาคหน้าอาจมีปัญหาในการทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้ แต่ก็ควรจะสอดแทรกสิ่งที่นักเรียนกลุ่มนี้ชอบก็คือการแข่งขัน การค้นหาข้อมูลที่ท้าทาย ความรู้ของนักเรียนและจะต้องเป็นข้อมูลที่ร่วมมือกันทำจึงจะประสบผลสำเร็จ เช่น การให้นักเรียน คิดวิธีการหาคำตอบที่แตกต่างกันและนำมาบูรณาการร่วมกันในกลุ่มและควรจะมีการใช้สื่อ มัลติมีเดียและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์เพื่อการค้นคว้าหาข้อมูล ดังนั้นการเรียนแบบร่วมมือแบบTGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่ คล้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการทดสอบ ย่อย จึงจะเหมาะกับนักเรียนม.5กลุ่มนี้
  • 6. ภารกิจที่ 2 2) ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึงจะ สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่กำหนดให้
  • 7. เลือกใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เนื่องจากนักเรียนในห้องที่มี ลักษณะค้นคว้าหาความรู้และชอบหากมีกิจกรรมที่ได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกคิดหรือมี ความท้าทายในการทำงาน ซึ่งตรงกับการเรียนแบบร่วมมือที่ให้นักเรียนเรียน โดยการทำกิจกรรมในการสืบค้น(Explore) อภิปราย(Discuss) อธิบาย (Explain) สอบสวนแนวความคิดและแก้ปัญหา และเป็นการฝึกให้นักเรียน ค่อยๆยอมรับและชอบที่จะทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งเป็นการสนับสนุนให้นักเรียน ทำงานเป็นกลุ่ม เพราะการเรียนแบบร่วมมือจะเป็นการเรียนที่ให้นักเรียนทำงาน เป็นกลุ่มเล็ก แบบคละความสามารถ ให้ทำงานร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการ ผสมผสานความรู้ที่มีอยู่เดิมกับความรู้ใหม่ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน การ เรียนแบบร่วมมือยังมีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลายที่เป็นการสนับสนุนการ ทำงานเป็นกลุ่มเพราะต้องอาศัยซึ่งกันและกันในการบรรลุจุดมุ่งหมาย อย่างเช่น STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็นรูปแบบการ เรียนรู้มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์ผลของการเรียนและทักษะทางสังคม เป็นสำคัญ
  • 8. Co –op Co –op ซึ่งมีลักษณะสำคัญคือ สมาชิกแต่ละคน ในกลุ่มย่อยจะได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหา หรือ ทำกิจกรรมที่ ต่างกัน ทำเสร็จแล้วนำผลงานมารวมกันเป็นกลุ่มร่วมกันแก้ไข ทบทวนแล้วนำมาเสนอต่อชั้นเรียน อย่างการจัดการเรียนการสอน แบบร่วมมือตามวิธีการนี้ นักเรียนต้องร่วมมือกันในการทำงาน เพราะไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายได้ มุมสนทนา(Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ ละกลุ่มเข้าไปนั่งตามมุมหรือจุดต่างๆของห้องเรียน และช่วยกันหา คำตอบสำหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ ที่ครูยกขึ้นมา และเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนอธิบายเรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง การจัดการ เรียนตามรูปแบบนี้เด็กก็จะได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจ และได้ พูดคุยกับเพื่อนที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน
  • 9. สมาชิก นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 นางสาวรติยากร คชา 563050126-0 นางสาวศินารักษ์ สุขโต 563050140-6 นางสาวนิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9