SlideShare a Scribd company logo
Chapter 3
มุมมองทางจิตวิทยา
ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครู
สมศรีจึงเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครู
สมศรีได้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ใน
สื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้ อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นา
รูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ
เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของ
ตนเองให้มีระสิทธิภาพมากขึ้น แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ
ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความสนใจ แต่พอ
หลังจากนั้นไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้น ทั้งผล
การเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอน
แบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไม
จึงเป็นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการ
ช่วยเหลือครูสมศรีอย่างไร
วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อ
ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้
เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตาม
เป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
วิธีการสอนแบบเดิมของครูสมศรี ->
การสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้
วิธีการสอนแบบใหม่ของครูสมศรี -> สร้างสื่อที่ทา
จากแนวความคิดและประสบการณ์ของตนเอง
แทนการบอกจากครู ซึ่งแม้ว่าครูสมศรีจะเปลี่ยนสื่อ
การสอนใหม่ แต่ไม่มีได้เปลี่ยนกระบวนการสอน คือ
ไม่มีการสรุปเนื้ อหาให้ง่ายต่อความเข้าใจของผู้เรียน
เป็นเพียงการนาคาบอกมาสอนผ่านสื่อทางเทคโนโลยี
ผลการเรียนและการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน
เนื้ อหา
รูปภาพ
กราฟิก
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิด
ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอน
ว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
1. พื้นฐานที่ได้จากแนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม : การ
เรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
และการตอบสนอง
พื้นฐานที่ได้จากรูปแบบการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
: เน้นผู้เรียนจดจาความรู้ในปริมาณมากที่สุด โดยที่ผู้เรียน
เป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศและครูเป็นผู้นาเสนอข้อมูล
สารสนเทศ
2. พื้นฐานที่ได้จากแนวคิดของกลุ่มพุทธิปัญญา
นิยม : การเรียนรู้โดยสนใจความรู้ความเข้าใจหรือ
กระบวนการคิดของผู้เรียน
พื้นฐานที่ได้จากรูปแบบการเรียนรู้ของกลุ่มพุทธิ
ปัญญานิยม : การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียน
สามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจาระยะยาว
(Long-term memory) โดยผู้เรียนเป็นผู้รอรับ
สารสนเทศและครูเป็นผู้นาเสนอสารสนเทศ
3. พื้นฐานที่ได้จากแนวคิดของกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ : การ
เรียนรู้ที่เกิดจากผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตัวเอง
พื้นฐานที่ได้จากรูปแบบการเรียนรู้ของกลุ่มคอนสตรัคติ
วิสต์ : การสร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้ อหา สื่อ และทุกสิ่งที่อยู่
รอบตัวผู้เรียน
ความสัมพันธ์ของพื้นฐานที่ใช้พิจารณาในการออกแบการสอนและสื่อการสอน
พื้นฐานที่ใช้พิจารณาในการออกแบการสอนและสื่อการสอนข้างต้นมี
ความสัมพันธ์กัน ดังนี้ พื้นฐานการเรียนรู้แบบคอนสตรัคติวิสต์มีอิทธิพล
ต่อการศึกษาในปัจจุบัน เป็นการสร้างแนวคิดของตนเองตามสภาพจริง ซึ่ง
แต่เดิมจากแนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยมและพุทธิปัญญานิยมมองว่า
ผู้เรียนเป็นภาชนะที่ต้องเติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน สื่อต่างๆ
แต่ตามแนวคิดของกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์จะเน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้
จากการลงมือทาและการอธิบายด้วยเหตุผลของตัวเอง
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจน
กระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการ
สอนนั้นควรอยู่บนพื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ
ยกตัวอย่างประกอบ
พื้นฐานความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียน พื้นฐานพฤติกรรมการ
เรียนรู้ของผู้เรียน พื้นฐานข้อจากัดภายในโรงเรียน ฯลฯ เพราะผู้เรียนแต่ละ
คนล้วนมีพื้นฐานความรู้ความสามารถที่แตกต่างกันไป ดังนั้นครูจึงควรให้
ความสาคัญและตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนแต่ละคน
ในการที่จะออกแบบการสอนและสื่อการสอนให้สอดคล้องและมีความเหมาะสม
กับผู้เรียนแต่ละบุคคล เพื่อจะทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและได้รับความรู้อย่างเต็มศักยภาพ
ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนไทยที่อยู่ในสังคมเมืองก็เริ่มเรียนเวลาปกติ
ประมาณ 08.30 น. - 16.00 น. โดยประมาณครูผู้สอนก็ออกแบบการสอน
และสื่อการสอนที่เหมาะสมกับช่วงระยะเวลาในการเรียนรู้ของผู้เรียน แต่ในบาง
พื้นที่อย่างเด็กชาวเขาชนเผ่าต่างๆ ไม่ได้เรียนรู้ในโรงเรียนในช่วงระยะเวลา
08.30 น. - 16.00 น. เหมือนเด็กนักเรียนทั่วไป เพราะด้วยอุปสรรคต่างๆ
เช่น ระยะทางในการเดินทางมาโรงเรียน การช่วยเหลืองานของครอบครัวซึ่ง
ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรมอย่างชาวนา ปลูกพืชผักผลไม้เมืองหนาวก็ทาให้เด็ก
นักเรียนเหล่านั้นไม่สามารถที่จะเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ตามศักยภาพของตนเอง
ครูผู้สอนก็ต้องออกแบบการสอนและสื่อการสอนให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ
เด็กนักเรียนเหล่านี้ ด้วย เป็นต้น
ผู้จัดทำ
นางสาวชนาทิพย์ นครังสุ รหัส 553050065-3
นางสาววิภารัตน์ ขานเกตุ รหัส 553050099-6
นางสาวช่อผกา นาค-อก รหัส 553050281-7
นายณรงค์ฤทธิ์ บัวใหญ่ รหัส 553050283-3
รายวิชา
241203 Innovation And Information Technology For Learning
sec.2

More Related Content

What's hot

3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
Thamonwan Kottapan
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
Kanatip Sriwarom
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓
snxnuux
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
Jitthana_ss
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
ratiporn-hk
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและเนตร นภา
 

What's hot (15)

3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter   3Chapter   3
Chapter 3
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
 

Viewers also liked

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาKik Nookoogkig
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Tong Bebow
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
B'nust Thaporn
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาlikhit j.
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
Pennapa Kumpang
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
Ptato Ok
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
saowana
 

Viewers also liked (11)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Map3
Map3Map3
Map3
 
C3
C3C3
C3
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

Similar to Chapter 3

Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3Ann Pawinee
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4Pui Chanisa Itkeat
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาTurdsak Najumpa
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
Setthawut Ruangbun
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Sasitorn Seajew
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
June Nitipan
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Pennapa Kumpang
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
micnattawat
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3FerNews
 

Similar to Chapter 3 (14)

Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
No3
No3No3
No3
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 

More from Dexdum Ch

Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนDexdum Ch
 
นว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมนว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมDexdum Ch
 

More from Dexdum Ch (7)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Single dad
Single dadSingle dad
Single dad
 
นว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมมนว ตกรรมมมม
นว ตกรรมมมม
 

Chapter 3