SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
Download to read offline
บทที่ 2
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
Out line
หลักฐาน และสมมติฐานการเคลื่อนที่ของทวีป
หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วทยาอื่นๆ
ิ
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณี ภาค (plate tectonic Theory)
อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของแผ่นธรณี ภาค ซึ่งมีลกษณะ
ั
เป็ นแผ่นขนาดใหญ่และขนาดเล็กเรี ยงต่อกัน แผ่นธรณี ภาคนี้เคลื่อน
ไปมาอย่างช้า ๆ ประมาณ 2–10 เซนติเมตรต่อปี โดยมีการเคลื่อนตัวใน
แนวราบเข้าหาหรื อออกจากรอยต่อของแผ่นธรณี ภาค

(plate = แผ่นหรื อจาน, tectonics มาจากภาษากรี กว่า tekton แปลว่า ช่างไม้ (carpenter) หรื อ
ช่างแปรรู ปไม้)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
Major plate tectonics
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
่ ั่
เปลือกโลกมิได้รวมติดกันเป็ นแผ่นเดียวโดยตลอด แต่มีรอยแยกอยูทวไป แผ่นเปลือกโลกที่เรี ยง
ติดกันเรี ยกว่า “แผ่นธรณี ” (Plate) มี 2 แบบ คือ แผ่นธรณี ทวีป (continental plate) และแผ่นธรณี มหาสมุทร
(oceanic plate)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1. แผ่นยูเรเซีย (Eurasian plate)
รองรับทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และพื้นน้ าบริ เวณใกล้เคียง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่นอเมริกา เหนือ (North American plate) รองรับทวีปอเมริ กาเหนือ
3. แผ่นอเมริกาใต้ (South American plate) รองรับทวีปอเมริ กาใต้
โลกและการเปลี่ยนแปลง
4. แผ่นแปซิฟิก (Pacific plate) รองรับมหาสมุทรแปซิ ฟิก
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. แผ่นออสเตรเลีย (Australian plate)
เป็ นแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปออสเตรเลีย
6. แผ่นอินเดีย (Indian plate) รองรับประเทศอินเดีย และพื้นน้ าใกล้เคียง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
7. แผ่นแอนตาร์ กติกา (Antarctic plate) รองรับทวีปแอนตาร์กติกาและพื้นน้ า
โดยรอบ
โลกและการเปลี่ยนแปลง
8. แผ่นแอฟริกา (African plate)
เป็ นแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปแอฟริ กาและพื้นน้ าโดยรอบ
โลกและการเปลี่ยนแปลง
หลักฐาน และสมมติฐานการเคลื่อนที่ของทวีป
แนวคิดการเลือนไหลของทวีป (Continental drift)
่
่
เมื่อ 200 ล้านปี ที่ผานมา ผิวโลกส่ วนที่เป็ นแผ่นดิน
ติดกันเป็ นทวีปเดียว เรี ยกว่า “พันเจีย” (Pangaea) ซึ่งแปลว่า
all land หรื อ แผ่นดินทั้งหมด

Alfred Wegener
(1880 –1930)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
หลักฐาน และสมมติฐานการเคลื่อนที่ของทวีป
พันเจีย คลุมพื้นที่จากขั้วโลกเหนือ-ขั้ วโลกใต้ ล้อมรอบด้วยมหาสมุทรผืน
เดียวกันเรี ยกว่าพันทาลัส(Panthalas)
ตอนเหนือ
“ลอเรเซี ย” (Laurasia)
ตอนใต้
“กอนด์วานา” (Gonwana)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
หลักฐาน และสมมติฐานการเคลื่อนที่ของทวีป
เมื่อเวลาผ่านไป พันเจีย เริ่ มแยกเป็ นหลายส่ วน เป็ นทวีปต่างๆ ดังปรากฏในแผนที่
โลกปัจจุบน
ั
ตอบคาถามหน้า 21
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
หลักฐานความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหิ น และแนวภูเขา
หลักฐานจากหิ นที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้ าแข็ง
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานจากรอยต่ อของทวีป
รอยหยักโค้งของแผ่นทวีปสามารถต่อกันได้พอดี แต่อาจไม่สมบูรณ์เนื่องจาก
การกัดเซาะชายฝั่ง และการสะสมตะกอน ทาให้ขอบทวีปเปลี่ยนแปลงไป
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานความคล้ ายคลึงกันของกลุ่มหิน และแนวภูเขา

ให้นกเรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้ โดยใช้ภาพ 2.3 หน้า 23
ั
1. พื้นที่ส่วนในบ้างที่มีกลุ่มหิ นคล้ายคลึงกัน ?
2. กลุ่มหิ นทิลไลท์ (tillite) พบในยุคใด
3. ยุคจูแรสซิก พบกลุ่มหิ นชนิดใด
4. กลุ่มหิ นใดบ้างที่พบฟอสซิลพืช กลอสโซพเทรี ส (Glossopteris)
5. ให้นกเรี ยนเรี ยงลาดับชั้นหิ นตั้งแต่ยคคาร์บอนิเฟอรัสถึงยุคจูแรสซิก)
ั
ุ
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานความคล้ ายคลึงกันของกลุ่มหิน และแนวภูเขา
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานความคล้ ายคลึงกันของกลุ่มหิน และแนวภูเขา
ชุดของชั้นหิ นบริ เวณทวีปอเมริ กาใต้ แอฟริ กา อินเดีย แอนตาร์ กติกา และ
ออสเตรเลียจะประกอบด้วย ชุดหิ น 3 ชุด เรี ยงจากอายุแก่ไปหาอายุอ่อน ดังนี้
ชุดบนสุ ด เป็ นชั้นของหิ นบะซอลต์
ยุคจูแรสซิก (JR)

ชุดกลาง ประกอบด้วยถ่านหิ น และหิ นทราย
ยุคเพอร์ เมียนและยุคไทรแอสซิก (P, TR)

ชุดล่างสุ ด ประกอบด้วยหิ นทิลไลท์ (tillite)
(แก่สุด) ซึ่ งเป็ นตะกอนจากธารน้ าแข็ง
ยุคคาร์ บอนิเฟอรัส ( C )
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารนาแข็ง
้
่
เมื่อประมาณ 280 ล้านปี ที่ผานมา ปลายมหายุคพาลีโอโซอิก
กอนด์วานาถูกปกคลุมด้วยน้ าแข็ง
ดินตะกอนที่เกิดจากตัวกลางที่เป็ นน้ าแข็งมีอายุเดียวกัน
ทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้ าแข็งสอดคล้องกัน
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1. หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

กอนด์วานา
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

Mesosaurus
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1. หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

Glossopteris

Mesosaurus

Lystrosaurus

Cynognathus
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
สั นเขาใต้ สมุทร (Oceanic ridge) และร่ องลึกใต้ สมุทร (trench)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
สั นเขาใต้ สมุทร (Oceanic ridge) และร่ องลึกใต้ สมุทร (trench)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
สั นเขาใต้ สมุทร (Oceanic ridge) และร่ องลึกใต้ สมุทร (trench)
สั นเขาใต้ สมุทร (Oceanic ridge)
เกิดจากหิ นหนื ดไหลแทรกขึ้นมาเย็นตัว
ลงและแข็งตัวตามรอยแยก ทาให้แผ่นธรณี ภาค
เคลื่อนตัวออกจากกัน เกิดเป็ นสันเขานูนสู ง
ขึ้นมาที่พ้ืนมหาสมุทร
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
สั นเขาใต้ สมุทร (Oceanic ridge) และร่ องลึกใต้ สมุทร (trench)

ร่ องลึกใต้ สมุทร

เกิดจากแผ่นธรณี ภาคที่เป็ นมหาสมุทรเคลื่อนตัวเข้ามาชนกัน โดยขอบ
ของแผ่นหนึ่งมุดลงไปใต้ขอบของอีกแผ่นหนึ่ ง ทาให้เกิดร่ องลึกตรงแนว
ที่แผ่นธรณี ภาคมุดจมลง เช่น ร่ องลึกก้นสุ มทรมารี แอนา (Mariana
Trench) ในมหาสมุทรแปซิ ฟิก
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
อายุหินบริเวณพืนมหาสมุทร
้

่
“หิ นบะซอลต์ที่อยูใกล้สันเขา
จะมีอายุนอย กว่าหิ นบะซอลต์
้
่
ที่อยูใกล้ขอบทวีป”
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
อายุหินบริเวณพืนมหาสมุทร
้

เมื่อแผ่นธรณี เกิดรอยแยก แผ่นธรณี จะเคลื่อนที่ออกจากกันช้าๆ ตลอดเวลา
หิ นบะซอลต์ใหม่จะแทรกตัวขึ้นมาบริ เวณรอยแยก ทาให้หินบริ เวณสันเขาใต้มหาสมุทร
มีอายุนอยกว่า หิ นบริ เวณแผ่นธรณี ใกล้ขอบทวีป
้
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ
อายุหินบริเวณพืนมหาสมุทร
้
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ

ภาวะแม่ เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)

สนามแม่เหล็กโลก (The Earth’s magnetic field)
เกิดจากพลังงานความร้อนจากแก่นโลกชั้นใน ถ่ายเทขึ้นสู่แก่น
ชั้นนอกด้วยการพาความร้อน (Convection) ทาให้เหล็กหลอมละลาย
เคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้ า และ
เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ

ภาวะแม่ เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)

แกนแม่เหล็กโลกและแกนหมุนของโลกมิใช่แกนเดียวกัน แกน
่
่
แม่เหล็กโลกมีข้วเหนืออยูทางด้านใต้ และมีแกนใต้อยูทางด้านเหนือ
ั
แกนแม่เหล็กโลกเอียงทามุมกับแกนเหนือ-ใต้ทางภูมิศาสตร์ 12 องศา

อพวช.
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ

ภาวะแม่ เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)

สนามแม่เหล็กโลกเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต หากปราศจาก
สนามแม่เหล็กโลกแล้ว อนุภาคพลังงานสูงจากดวงอาทิตย์และอวกาศ
่
่
จะพุงชนพื้นผิวโลก ทาให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดารงอยูได้
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ

ภาวะแม่ เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)

สนามแม่เหล็กโลกไม่ใช่สิ่งคงที่ มีการเปลี่ยนแปลงขนาดและ
่
ตาแหน่งอยูตลอดเวลา ทาให้ข้วแม่เหล็กทั้งสองมีการเคลื่อนที่ มีการ
ั
เปลี่ยนแปลงความเข้มและสลับขั้วเหนือ-ใต้ ทุกๆ หนึ่งหมื่นปี
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ

ภาวะแม่ เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)
เมื่อหิ นหนืดโผล่ข้ ึนจากชั้นฐานธรณี ภาค กลายเป็ นลาวาหิ นบะซอลต์
่
ไหลบนพื้นผิวโลก อะตอมของธาตุเหล็กที่มีอยูในแร่ แมกนีไทต์ (Fe3O4) จะถูก
เหนี่ยวนาให้เรี ยงตัวตามทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกในยุคสมัยนั้น ซึ่ งจะเห็น
่
ได้วาเส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทางไปมาในทุกๆ หลายแสนปี เนื่องจาก
สนามแม่เหล็กโลกสลับขั้วไปมา
โลกและการเปลี่ยนแปลง

2. หลักฐานและข้อมูลทางธรณี วิทยาอื่นๆ

ภาวะแม่ เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)

1. อะไรเป็ นสาเหตุที่ทาให้แก่นโลกร้อน
2. แม็กนีโตสเฟี ยร์ (Magnetosphere) คืออะไร มีความสาคัญอย่างไร?

3. ปรากฏการณ์ แสงขั้วโลก (Aurora Polaris) เกิดขึ้นได้อย่างไร?
โลกและการเปลี่ยนแปลง
3. การบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
จุดประสงค์ การเรียนรู้
นักเรี ยนใช้หลักการพาความร้อนของสาร อธิ บายถึงสาเหตุที่ทาให้แผ่นธรณี ภาคเคลื่อนที่
วิธีทา
1. เทน้ าที่มีเม็ดแมงลักลงในบีกเกอร์ ประมาณ 100 cm3
2. หย่อนกระดาษชิ้นเล็กๆ ขนาดประมาณ 1.0 x 1.0 cm จานวน 2-3 ชิ้น
ลงบนผิวน้ าโดยไม่ให้กระดาษซ้อนกัน
3. ให้ความร้อนแก่น้ าบริ เวณกึ่งกลางบีกเกอร์ โดยใช้ตะเกียงแอลกอฮอล์
สังเกตการเคลื่อนที่ของเม็ดแมงลักและกระดาษ แล้วบันทึกผล
โลกและการเปลี่ยนแปลง

3. กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

คาถามหลังการทดลอง
1. เม็ดแมงลักและชิ้นเศษกระดาษมีการเคลื่อนที่ได้อย่างไร หลังจากได้รับความร้อน
2. ให้นกเรี ยนเปรี ยบเทียบ ตะเกียงแอลกอฮอล์ น้ า และแผ่นกระดาษ กับ
ั
โครงสร้างของโลก
3. จากกิจกรรมนี้สามารถนามาอธิ บายการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ภาคได้อย่างไร
โลกและการเปลี่ยนแปลง

3. การบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

เกิดจากการถ่ายโอนความร้อนจากภายในโลก โดยบริ เวณ
ส่ วนล่างของเทือกสันเขาใต้มหาสมุทร จะมีสารร้อนไหลเวียนขึ้นมา
เมื่อสารร้อนมีอุณหภูมิลดลงจะมุดตัวลงสู่ช้ นเนื้อโลก
ั
สารร้อนที่เคลื่อนที่ไหลเวียนเป็ นวงจร เรี ยกว่า
วงจรการพาความร้ อน(convection cell) ที่เกิดขึ้นในชั้นเนื้อโลก
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง

3. การบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
โลกและการเปลี่ยนแปลง
4. ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
1. แยกออกจากกัน (Divergent plates)
2. เข้ าหากัน (Convergent plates)
3. ผ่ านกัน หรือเฉือนกัน(transform plates)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1. แผ่ นธรณีเคลือนทีแยกออกจากกัน (Divergent plates)
่ ่
เกิดจากการดันตัวของสารร้อนในชั้นฐานธรณี ภาค ทาให้แผ่น
ธรณี โก่งตัวขึ้น เกิดรอยแตกและยุบตัวลงกลายเป็ นหุบเขาทรุ ด
“ rift valley” ทาให้หินชั้นฐานธรณี ภาคหลอมละลาย บางส่ วน
กลายเป็ นแมกมา แทรกตัวดันขึ้นมา ทาให้แผ่นธรณี ภาคแยกออกจาก
กัน
การเคลื่อนที่ลกษณะนี้ทาให้เกิดแผ่นดินไหวไม่รุนแรง
ั
่
โดยมีศูนย์กลางอยูในระดับตื้น
มี 2 ลักษณะ คือ
1.1 แผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ออกจากกัน
1.2 แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่ออกจากกัน
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1. แผ่ นธรณีเคลือนทีแยกออกจากกัน (Divergent plates)
่ ่
แผ่ นธรณีทวีปเคลือนที่ออกจากกัน
่
ตัวอย่าง ทะเลสาบมาลาวี ในทวีปแอฟริ กา
ทะเลแดง ซึ่ งกั้นระหว่างทวีปแอฟริ กากับคาบสมุทรอาระเบีย
โลกและการเปลี่ยนแปลง

1. แผ่ นธรณีเคลือนที่แยกออกจากกัน (Divergent plates)
่
แผ่ นธรณีทวีปเคลือนที่ออกจากกัน
่

ทะเลแดง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
1. แผ่ นธรณีเคลือนทีแยกออกจากกัน (Divergent plates)
่ ่
แผ่ นธรณีมหาสมุทรเคลือนทีออกจากกัน
่ ่
แรงดันในชั้นฐานธรณี ภาคดันให้แผ่นธรณี มหาสมุทรยกตัว
ขึ้นเป็ นสันเขาใต้สมุทร (Mid oceanic ridge) เช่น เทือกสันเขา
กลางมหาสมุทรแอตแลนติก
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
บริ เวณที่แผ่นธรณี ปะทะกันเรี ยกว่า "เขตมุดตัว" (Subduction zone)
ทาให้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุ นแรง โดยมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่
ในระดับลึก
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
รอยต่อของแผ่นธรณี เคลื่อนที่เข้าหากันมี 3 รู ปแบบ
1. แผ่นธรณี มหาสมุทรชนกัน
2. แผ่นธรณี มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณี ทวีป
3. แผ่นธรณี ทวีปชนกัน
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
แผ่นธรณี มหาสมุทรชนกัน
แผ่นธรณี ที่มีอายุมากกว่า มีอุณหภูมิต่ากว่า และมีความหนาแน่นมากกว่า
จะจมตัวลงในเขตมุดตัว และหลอมเป็ นหิ นหนืด ซึ่ งมีความหนาแน่นต่ากว่าเนื้อ
โลกในชั้นฐานธรณี ภาค จึงลอยตัวขึ้นสู่ ผวโลกเกิดเป็ นหมู่เกาะภูเขาไฟรู ปโค้ง
ิ
(Volcanic island arc)
ตัวอย่าง หมู่เกาะฟิ ลิปปิ นส์
หมู่เกาะญี่ปุ่น
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
แผ่นธรณี มหาสมุทรชนกัน
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
แผ่นธรณี มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณี ทวีป
แผ่นธรณี มหาสมุทรเป็ นหิ นบะซอลต์ มีความหนาแน่นมากกว่าแผ่นธรณี
ทวีปซึ่ งเป็ นหิ นแกรนิต เมื่อแผ่นธรณี ท้ งสองปะทะกัน แผ่นธรณี มหาสมุทรจะจม
ั
ตัวลงและหลอมเป็ นหิ นหนืด ดันเปลือกโลกทวีปให้กลายเป็ นเทือกเขาสู ง บนแผ่น
ทวีป และเกิดแนวภูเขาไฟเรี ยงรายตามชายฝั่ง

ตัวอย่าง เทือกเขาแอนดีส บริ เวณชายฝั่ง
ตะวันตกของทวีปอเมริ กาใต้
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
แผ่นธรณี มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณี ทวีป
เทือกเขาแอนดีส
โลกและการเปลี่ยนแปลง
2. แผ่ นธรณีเคลือนที่เข้ าหากัน (Convergent plates)
่
แผ่นธรณี ทวีปชนกัน
แผ่นหนึ่งจะมุดตัวลงสู่ ช้ นฐานธรณี ภาค อีกแผ่นหนึ่งจะถูกยกเกย
ั
สู งขึ้น กลายเป็ นเทือกเขาที่สูงมาก เป็ นแนวยาวขนานกับแนวปะทะ
ตัวอย่าง เทือกเขาหิ มาลัย เทือกเขาแอลป์
โลกและการเปลี่ยนแปลง
HIMALAYAS
Cordillera (A), Appalachians (B), Caledonian Belt (C), Andes (D), Urals
(E), Himalaya (F), Alps (G), and the Tasman Belt (H). (Source of
Modified Image: NOAA, National Geophysical Data Center).
โลกและการเปลี่ยนแปลง
3. แผ่ นธรณีเคลือนที่ผ่านกัน หรือเฉือนกัน(transform plates)
่
แผ่นธรณี มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน ทาให้แมกมาไม่สามารถดันแผ่นธรณี
ให้ต่อยาวเป็ นแนวเดียวกัน แต่เยื้องสลับกันคล้ายรอยตะเข็บ แผ่นธรณี ที่เพิ่งเกิด
ขึ้นมาใหม่จึงเคลื่อนที่สวนทางกัน ในแนวตั้งฉากกับสันเขาใต้สมุทร เกิดเป็ นรอย
เลื่อนทรานสฟอร์ม (Transform fault)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
3. แผ่ นธรณีเคลือนที่ผ่านกัน หรือเฉือนกัน(transform plates)
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง
3. แผ่ นธรณีเคลือนที่ผ่านกัน หรือเฉือนกัน(transform plates)
่
ปรากฏการณ์น้ ีทาให้เกิดแผ่นดินไหวในระดับตื้น มีความรุ นแรงปานกลาง

ตัวอย่าง บริ เวณสันเขากลางมหาสมุทรแอตเลนติก (ในมหาสมุทร )
รอยเลื่อนซานแอนเดรี ยในรัฐแคลิฟอร์เนีย USA (บนแผ่นดิน)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
่
เปลือกโลกไม่อยูในสภาวะคงตัว เนื่องจากภายในโลกยังมี
่
พลังงานอยูอย่างมหาศาล ส่ งผลให้เปลือกโลกชั้นนอกสุ ดที่ลอยอยู่
บนหิ นหนืดร้อนเหลว มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตลอดเวลา
รอยคดโค้งของหิ น (Fold)

รอยเลื่อน (Fault)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.1 รอยคดโค้งของหิ น (Fold)
เกิดจากแรงอัดที่มากระทาในขณะที่หินมีคุณสมบัติยดหยุน
ื ่
ชั้นหิ นจะย่นเข้าหากันในลักษณะของลูกคลื่น

รู ปประทุนหงาย คือชั้นหิ นที่ยบตัวลงเป็ นแอ่ง
ุ
รู ปประทุนคว่า
ชั้นหินโค้ งรูปประทุนควา
่
(Anticline)

คือชั้นหิ นที่คดโค้งโก่งตัวขึ้นมา
ชั้นหินโค้ งรูปประทุนหงาย
(Syncline)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
ชนิดของรอยคดโค้ ง
1. แบบสมมาตร (Symmetrical Fold)
2. แบบอสมมาตร (Asymmetrical Fold)

3. แบบตลบทับ (Overturned Fold)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
ชนิดของรอยคดโค้ ง
4. รอยคดโค้ งนอนทับ (Recumbent Fold)

5. รอยคดโค้ งแบบพับผ้า (Isoclinal Fold)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
ก.

ค.

ข.

ก. แบบสมมาตร
ข. รอยคดโค้ งนอนทับ
ค. รอยคดโค้ งแบบพับผ้า
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)
่
เกิดจากแรงที่สะสมตัวอยูในหิ น มีท้ งแรงบีบอัด และ
ั
แรงดึง จนหิ นไม่สามารถรักษารู ปร่ างเดิมของมันไว้ได้ จึงเกิด
การเคลื่อนที่ในลักษณะต่างกัน
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

่
ผนังเพดาน (Hanging Wall Side) ซีกที่อยูบนผิวรอยเลื่อน
่ ิ
ผนังพื้น (Foot Wall Side) ซีกหนึ่งอยูใต้ผวรอยเลื่อน
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

5.2.1 รอยเลือนปกติ (Normal Fault)
่

คือ รอยเลื่อนที่ผนังเพดานเลื่อนลงมา

เกิดจากแรงดึง (Tension Stress) เป็ นการ
ขยายเนื้อที่ของผิวโลก
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

5.2.1 รอยเลือนปกติ (Normal Fault)
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

ตัวอย่ างรอยเลือนปกติ
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

5.2.2 รอยเลือนย้ อน (Reversed Fault)
่
คือ รอยเลื่อนที่ผนังเพดาน ถูกผลักเลื่อน
ขึ้นจนมีระดับสูงกว่าผนังพื้น

เกิดจากแรงบีบอัด (Compression Stress)
เป็ นการทาให้เนื้อที่ผวโลกแคบลง
ิ
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

5.2.2 รอยเลือนย้ อน (Reversed Fault)
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่

ตัวอย่ างรอยเลือนย้ อน
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

5.2.3 รอยเลือนทางราบ (Strike Slip Fault)
่

คือ รอยเลื่อนที่ผนังเพดานและผนังพื้น
เคลื่อนตัวในแนวราบ
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

ตัวอย่างรอยเลือนทางราบ
่

North America is the San Andreas fault of
California - another strike-slip fault
โลกและการเปลี่ยนแปลง

5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)

รอยเลือนปกติ (Normal Fault)
่

รอยเลือนย้ อน (Reversed Fault)
่

รอยเลือนทางราบ (Strike Slip Fault)
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง
5. การเปลียนลักษณะของเปลือกโลก
่
5.2 รอยเลื่อน (Fault)
โลกและการเปลี่ยนแปลง
รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย
1. กลุ่มรอยเลือนแม่ จนและแม่ อง พาดผ่านเชียงรายและเชียงใหม่
่
ั
ิ
2. กลุ่มรอยเลือนแม่ ฮ่องสอน พาดผ่านแม่ ฮ่องสอนและตาก
่
3. กลุ่มรอยเลือนเมย พาดผ่านตากและกาแพงเพชร
่
4. กลุ่มรอยเลือนแม่ ทา พาดผ่านเชียงใหม่ ลาพูน และเชียงราย
่
5. กลุ่มรอยเลือนเถิน พาดผ่านลาปางและแพร่
่
6. กลุ่มรอยเลือนพะเยา พาดผ่านลาปาง เชียงราย และพะเยา
่
7. กลุ่มรอยเลือนบัว พาดผ่านน่ าน
่
8. กลุ่มรอยเลือนอุตรดิตถ์ พาดผ่านอุตรดิตถ์
่
9. กลุ่มรอยเลือนเจดีย์สามองค์ พาดผ่านกาญจนบุรีและราชบุรี
่
10. กลุ่มรอยเลือนศรีสวัสดิ์ พาดผ่านกาญจนบุรีและอุทัยธานี
่
11. กลุ่มรอยเลือนท่ าแขก พาดผ่านหนองคายและนครพนม
่
12. กลุ่มรอยเลือนระนอง พาดผ่านประจวบคีรีขนธ์ ชุมพร ระนอง และพังงา
่
ั
13. กลุ่มรอยเลือนคลองมะรุ่ย พาดผ่านสุ ราษฎร์ ธานี กระบี่ และพังงา
่
โลกและการเปลี่ยนแปลง
รอยแตกของหิน
แนวแตกทังหลายทีเกิดขึนในหินแข็งเกิดจากถูกดึงออกด้วย
้
่ ้
แรงทีมากเกินจุดแตกหักของหินทีมคุณสมบัตแกร่งและเปราะ
่
่ ี
ิ

More Related Content

What's hot

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

What's hot (20)

โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Viewers also liked

เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติKobwit Piriyawat
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติพัน พัน
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศKruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2KruPa Jggdd
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01Chay Kung
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 

Viewers also liked (13)

แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 

Similar to สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1PornPimon Kwang
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงAnuchitKongsui
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกMoukung'z Cazino
 

Similar to สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง (20)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง