SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
• ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
• ชนิดของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
• ความหมายและความสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
• ตัวอย่างสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) เป็นกระบวนการทางชีวเคมีที่สาคัญอย่างหนึ่งซึ่งทาให้พืช,สาหร่าย และ
แบคทีเรียบางชนิดสามารถเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นพลังงานทางเคมีได้ สิ่งมีชีวิตแทบทั้งหมดล้วนอาศัย
พลังงานที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อการเจริญเติบโตทั้งทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ยังมีการผลิต
ออกซิเจน ซึ่งมีเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่มากของบรรยากาศโลกด้วย
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
สิ่งมีชีวิตที่สร้างพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ เรียกว่า "phototrophs" โดยโมเลกุลที่มีความสามารถใน
การดูดกลืนแสงที่มีอยู่ในพืชและสิ่งมีชีวิตนี้คือ รงควัตถุ (pigment)
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ความหมายและความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ชนิดของปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแสง
• แสงเป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญท่ก่อให้เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชขึ้น การที่พืชแต่ละชนิดจะมีการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นได้
มากหรือน้อยนั้นเกี่ยวข้องกับแสงสว่างอยู่ 3 ประการคือ
• 1.1 ความยามของคลื่นแสง แสงจากดวงอาทิตย์ที่พืชสามารถรับพลังงานมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนั้นเป็นแสงสีขาวซึ่ง
คนเรามองเห็นได้เมื่อนามาผ่านปริซึม (Prism) หรือสเปกโทรสโคป (Spectroscope) จะแยกออกเป็นแถบสีต่างๆ
เรียกว่า Visible Spectrum มีอยู่ 7 สี คือ ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสดและแดง ซึ่งมีความยาวคลื่น ระหว่าง 400-
760 มิลลิไมครอน แสงที่มความยาวคลื่นมากกว่าแสงสีแดง (Infrared) กับแสงที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วง
(Ultraviolet) นั้นเป็นแสงที่คนเรามองไม่เห็นและพืชรับพลังงานมาใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้น้อยมากหรือไม่ได้เลย
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแสง
• จากการศึกษาพบว่า แสงที่มีความยาวคลื่นต่างกันทาให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่เกิดขึ้นได้ไม่เท่ากัน ทั้งนี้เพราะรงควัตถุใน
พืชมีควาสามารถในการดูดแสงและสีต่างๆ ได้ไม่เท่ากัน โดยแสงที่รงควัตถุของพืชโดยทั่วไปดูดได้ดีที่สุดคือ แสงสีม่วงและน้าเงิน จึงทา
ให้พืชที่ได้รับแสงในช่วงคลื่นดังกล่าวนี้มีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงกว่าแสงสีอื่นๆ แต่ในการทดลองกับสาหร่ายบางชนิดกลับพบว่า
มีการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นมากที่สุดตรงช่วงแสงสีแดงรองลงมาคือ สีม่วง น้าเงิน ส่วนสีเขียวมีการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นน้อย
ที่สุด แสดงให้เห็นว่าแสงที่มีความยาวคลื่นต่างกันมีอิทธิพลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชแต่และชนิดได้แตกต่างกัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแสง
• 1.2 ความเข้มของแสง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะเกิดได้เมื่อได้รับแสงที่มีความเข้มเหมาะสมซึ่งจะแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช
แต่โดยทั่วไปแล้วความเข้มข้นของแสงที่เหมาะกับพืชมีค่าเฉลี่ยประมาณ 2,000-5,000 ฟุตแรงเทียน พืชซึ่งชอบอยู่ในที่ชุ่มชื้นมีร่มเงา
มักจะต้องการแสงทีมีความเข้มต่ากว่าพืชที่เจริญในบริเวณกลางแจ้ง อย่างไรก็ตามพบว่า เมื่อเพิ่มความเข้มของแสงให้สูงขึ้นจะทาให้
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสูงขึ้นตามไปด้วยจนถึงจุดหนึ่งจะมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงที่สุด เรียกว่า จุดอิ่มแสง
(Light Saturation Point) ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามชนิดของพืชเช่นกัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแสง
• จากการศึกษาพบว่า พืชซึ่งเจริญอยู่ในที่มีแสงสว่างเพียงพอนั้น ชนิดและความเข้มของแสงจะไม่เป็นปัจจัยจากัดในการสังเคราะห์ด้วย
แสง แต่สาหรับพืชที่อยู่ในที่มีร่มเงาหรือพืชขนาดเล็กซึ่งเจริญอยู่ในป่ าใหญ่นั้นถือว่าชนิดและความเข้มของแสงเป็นปัจจัยจากัดในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ทั้งนี้เพราะพืชซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าจะดูดแสงสีม่วง น้าเงิน หรือแดงเอาไว้ ทาให้พืชที่อยู่ใต้ต้นไม้อื่นๆ ได้รับแสงสีเขียว
มากกว่าแสงสีน้าเงินหรือแดง พืชประเภทนี้จึงต้องมีการปรับโครงสร้างของใบทาให้สามารถดูดซับพลังงานแสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มากกว่าพืชโดยทั่วไป
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแสง
• 1.3 ช่วงระยะเวลาที่ได้รับแสง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะเกิดขึ้นมากน้อยยังขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ได้รับแสงอีกด้วย พืชโดยทั่วไป
จะสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดีเมื่อได้รับแสงเป็นเวลานานติดต่อกัน เช่น ต้นมะเขือเทศที่ได้รับแสงติดต่อกันตลอด 24 ชั่วโมง จะมีอัตราการ
สังเคราะห์ด้วยแสงสูงมากและเจริญเติบโตเร็วกว่าการได้รับแสงตามปกติ แต่พืชบางชนิดเมื่อได้รับแสงเป็นเวลานานจนเกินไปจะมีอัตรา
การสังเคราะห์แสงลดลงได้ เช่น ต้นแอปเปิลจะมีการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลงเมื่อได้รับแสงติดต่อกันนานเกิน 12ชั่วโมง เป็นต้น ดังนั้น
จะเห็นว่าการนาพืชเมืองหนาวมาปลูกในเขตร้อนชื้นหรือการนาพืชในเขตร้อนไปปลูกในเขตหนาวจึงมักประสบปัญหาพืชไม่เจริญเติบโต
เท่าที่ควร สาเหตุสาคัญประการหนึ่งก็คือช่วงระยะเวลาที่ได้รับแสงของพืชไม่เหมาะสมนั่นเอง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยอุณหภูมิ
• อุณหภูมิ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นปฏิกิริยาที่มีเอนไซม์หลายชนิดเข้ามาเกี่ยวข้อง เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปจะทาให้การทางาน
ของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ดังนั้น อุณหภูมิจึงมีความสาคัญต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เรา
เรียกปฏิกิริยาเคมีที่มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิว่า ปฏิกิริยาเทอร์มอเคมีคัลล์ (Thermochemical Reaction)
กราฟแสดงความสัมพันธ ์ระหว่าง
อุณหภูมิ ความเข้มข้นของแสงและ
อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยอุณหภูมิ
• โดยทั่วไปอุณหภูมิที่เหมาะต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชอยู่ระหว่าง 10-35 องศาเซลเซียส เพราะเป็นช่วงที่เอนไซม์ทางานได้ดี ถ้ามี
อุณหภูมิสูงเกินไป เช่น ที่50องศาเซลเซียส จะทาให้เอนไซม์เสียสภาพไม่สามารถทางานได้ หรืออุณหภูมิต่าเกินไปก็อาจทาให้
ประสิทธิภาพการทางานของเอนไซม์ลดลงได้เช่นกัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยอุณหภูมิ
• จากการทดลองวัดปริมาณออกซิเจนที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่ให้ความเข้มของแสงไม่เท่ากันเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป
พบว่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชซึ่งได้รับแสงที่มีความเข้มข้นสูงจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นและเมื่ออุณหภูมิสูง
กว่า 35 องศาเซลเซียส อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลงอย่างรวดเร็ว ส่วนพืชซึ่งได้รับแสงที่มีความเข้มข้นต่านั้นพบว่า เมื่ออุณหภูมิ
สูงขึ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงแทบจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย และเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 35 องศาเซลเซียส อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็
ลดลงเช่นกัน แสดงให้เห็นว่าเมื่อพืชได้รับแสงที่มีความเข้มเหมาะสมแล้ว อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะแปรผันตามอุณหภูมิ
(ไม่เกิน 35 องศาเซลเซียส)
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยอุณหภูมิ
• จากการศึกษาพบว่า อัตราการหายใจของพืชก็แปรผันตามอุณภูมิเช่นกัน ดังนั้น ในช่วงเวลาซึ่งมีแสงน้อยและอุณภูมิต่านั้น อัตราการ
หายใจและอัตราการสังเคราะห์แสงก็จะน้อยด้วย แต่อัตราการหายใจเกิดขึ้นน้อยกว่า พืชดารงชีวิตอยู่ได้เมื่อไม่มีแสงมากขึ้นและมีอุณภูมิ
สูงขึ้น อัตราการหายใจและอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็เพิ่มขึ้นตาม จนถึงจุดอิ่มแสง อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็จะเริ่มลดลง
ในขณะที่อัตราการหายใจยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหากพืชอยู่ในภาวะที่มีอัตราการหายใจมากกว่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นเวลานานๆ
แล้วจะทาให้พืชขาดอาหารสาหรับใช้ในกระบวนการเมตาบอลิซึม จนอาจทาให้พืชตายได้ในที่สุด
กราฟแสดงความสัมพันธ ์ระหว่างอุณหภูมิกับ
การสังเคราะห์ด้วยแสงและการหายใจของใบ
ฝรั่ง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยคลอโรฟีลล์
• คลอโรฟีลล์ (Chlorophyll) เป็นรงควัตถุชนิดหนึ่ง มีสีเขียว ซึ่งพบได้ในคลอโรพลาส์ของเซลล์พืช สาหร่าย คลอโรฟีลล์ทาหน้าที่
รับพลังงานแสงเพื่อใช้ในการสร้างอาหารถ้าพืชขาดคลอโรฟีลล์จะสร้างอาหารเองไม่ได้ เราจะสังเกตปริมาณคลอโรฟีลล์ในพืชได้โดยการ
สังเกตสีของพืช ถ้าพืชมีสีเขียวจัดก็แสดงว่ามีคลอโรฟีลล์มาก จะเห็นว่าพืชจะมีสีที่ต่างกัน บางชนิดมีสีเขียวจัด บางชนิดเป็นสีเหลือง
บางชนิดมีใบเป็นสีแดง แล้วแต่ชนิดของพืช พืชที่มีสีเขียวน้อยก็จะใช้ส่วนอื่นสังเคราะห์ด้วยแสง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยน้า
• น้า (H2O) เป็นวัตถุดิบที่จาเป็นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช แต่พืชมีความต้องการน้าเพื่อการสังเคราะห์ด้วยแสงในปริมาณ
น้อยเพียง 1 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น พืชส่วนใหญ่จึงไม่ค่อยประสบปัญหาที่เกิดจากน้ามากนัก อย่างไรก็ตาม หากพืชขาดน้าแล้วก็อาจจะมี
ผลกระทบต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชได้ ทั้งนี้เพราะน้าเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร
กาขาดน้าจะทาให้เซลล์ปากใบปิดเพื่อลดการสูญเสียน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศจึงแพร่เข้าสู่ใบได้น้อยลง อัตราการ
สังเคราะห์แสงจึงลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยน้า
• นอกจากนี้ การขาดน้ายังทาให้ประสิทธิภาพการทางานของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชลดต่าลงอีกด้วย จาก
การศึกษาของ Wardlaw (1969) พบว่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของข้าวสาลีจะลดลงเมื่อขาดน้าและเมื่อความเต่งของ
เซลล์ลดลงเหลือ 40-50 เปอร์เซ็นต์ ก็จะทาให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงชะงักได้
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแร่ธาตุ
• แร่ธาตุ เป็นสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชโดยตรง ทั้งนี้เพราะมีแร่ธาตุหลายชนิดเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ
รงควัตถุที่ใช้ในการดูดพลังงานของแสงอาทิตย์ เช่น แมกนีเซียม และไนโตรเจน เป็นธาตุองค์ประกอบในโมเลกุลของคลอโรฟีลล์ถ้าขาด
ธาตุทั้ง 2 ชนิดนี้แล้วใบของพืชจะมีสีเหลืองซีด ส่วนธาตุเหล็กเป็นธาตุที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์คลอโรฟีลล์สาหรับแมงกานีสกับคลอรีน
นั้นต้องใช้ปฏิกิริยาโฟโทลิซิส เพื่อสลายน้าออกเป็นไฮโดรเจนกับออกซิเจน นอกจากนี้ ยังพบว่าการขาดธาตุไนโตรเจน จะทาให้ไม่มีการ
สร้างกรานูลในคลอโรพลาสต์แต่จะมีเพียงสายยาวๆ ของลาเมลลาเท่านั้น สาหรับพืชที่ขาดธาตุทองแดง เหล็ก สังกะสี กามะถัน
แมกนีเซียม โพแทสเซียมและไนโตรเจน โดยทั่วๆไปพบว่า จะทาให้ประสิทธิภาพของปฏิกิริยาที่ใช่แสงลดลงไป
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแร่ธาตุ
ธาตุที่ขาด อาการของพืช
ไนโตรเจน(N) ใบสีเหลือง เริ่มจากใบล่างขึ้นไปสู่ยอด ต้นแคระแกร็น และเติบโตช้าให้ผลผลิตต่า
ฟอสฟอรัส (P) ใบสีเขียวเข้มผิดปกติ และจะเกิดในใบล่างก่อน
โพแทสเซียม (K) ใบแก่มีจุดเหลืองอยู่ระหว่างเส้นใบและขอบใบ ถ้าเป็นมากขอบใบจะไหม้เกรียม
แคลเซียม (Ca) ยอดพืชเจริญช้า ยอดเน่า ใบยอดม้วนเข้าหากัน ถ้าขาดมากใบแก่ก็จะม้วนเข้าหากันด้วยและรากสั้น
กว่าปกติ หรือรากเน่าได้
แมกนีเซียม (Mg) ใบเหลืองระหว่างเส้นใบ โดยเริ่มเกิดที่ใบล่างขึ้นไปหายอด ลาต้น อาจเปลี่ยนสีเพราะปริมาณ
คลอโรฟีลล์ลดลง ทาให้สีของสารชนิดอื่นชัดขึ้น
กามะถัน (S) ใบจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทั้งใบ โดยแสดงอาการที่ยอดก่อน
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยแร่ธาตุ
ธาตุที่ขาด อาการของพืช
เหล็ก (Fe) จะแสดงอาการเช่นเดียวกับการขาดแมกนีเซียม คือ ใบเหลืองระหว่างเส้นใบโดยเริ่มเกิดที่ใบล่างขึ้น
ไปหาที่ยอด ลาต้นอาจเปลี่ยนสีเพราะปริมาณคลอโรฟีลล์ลดลงทาให้สีของสารชนิดอื่นชัดขึ้น
ทองแดง (Cu) ปลายใบไหม้เกรียม และจะลามไปสู่โคนใบ
สังกะสี (Zn) ใบเหลืองระหว่างเส้นใบ เริ่มที่ปลายใบและขอบใบก่อน ใบขนาดเล็กลง ปล้องสั้น ต้นแคระแกร็น
คลอรีน (Cl) การเจริญเติบโตชะงักโดยเฉพาะส่วนยอดและราก
โบรอน (B) ยอดพืชจะตาย ใบหนาและหยาบ ออกดอกช้าและน้อย
โมลิบดีนัม (Mo) ใบเหลืองระหว่างเส้นใบ ขอบใบจะไหม้เกรียม พืชบางชนิดจะไม่ออกดอก หรือถ้าออกดอกดอกจะ
ร่วง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ตามปกแล้วคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศมีอยู่ประมาณ 0.03-0.04 เปอร์เซ็นต์ น้อยกว่าใน
มหาสมุทรซึ่งมีการแพร่ของคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศลงสู่ทะเล และมีคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเกิดจากการหายใจและการย่อยสลาย
ซากของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในทะเลจึงมีปริมาณมากเพียงพอกับความต้องการของพืชและสาหร่ายที่อยู่ในน้า จากการศึกษาพบว่าปริมาณ
คาร์บอนไดออกไซด์ที่พืชได้รับในบริเวณที่มีความเข้มของแสงที่แตกต่างกันทาให้เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชไม่เท่ากัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
1. เมื่อความเข้มของแสงคงที่อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ (ไม่เกิน
0.10 เปอร์เซ็นต์)
2. ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีอิทธิพลต่อกาสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมีค่าไม่เกิน 0.10 เปอร์เซ็นต์
3. ความเข้มข้นที่สุดของคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งทาให้เกิดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงที่มากที่สุดมีค่าเท่ากับ 0.10เปอร์เซ็นต์
4. เมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ไม่เกิน 0.03 เปอร์เซ็นต์ นั้นถือว่า คาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยจากัดการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชเพราะแม้จะเพิ่มความเข้มของแสงในช่วงนี้แต่อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงก็ไม่แตกต่างกัน
กราฟแสดงความสัมพันธ ์ระหว่างความเข้มข้น
ของคาร ์บอนไดออกไซด์และความเข้มข้นของ
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
5. เมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่า 0.03 เปอร์เซ็นต์ จะเห็นว่า อัตรากาสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจะขึ้นอยู่กับ
ความเข้มของแสงมากขึ้นกล่าวคือ พืชที่ได้รับแสงที่มีความเข้มมากจะสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดีกว่าพืชที่ได้รับแสงซึ่งมีความเข้มน้อย
6. ถ้าพืชได้รับแสงและน้าอย่างเพียงพอ ความต้องการคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชจะมากกว่าปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีอยู่จริง
ในบรรยากาศธรรมชาติ
แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ น้า และแสงสว่างเพียงพอ แต่ถ้ามีอุณหภูมิไม่เหมาะสม อัตราการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชก็ลดต่าลงได้เช่นกัน
กราฟแสดงความสัมพันธ ์ระหว่างอุณหภูมิ
กับอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยก๊าซออกซิเจน
ออกซิเจน (O2) เป็นผลิตผลที่เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและใช้ในกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไป
ปริมาณของออกซิเจนในบรรยากาศนั้น มักจะคงที่ประมาณ 21 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีผลกระทบต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงมากนัก
ยกเว้นในกรณีที่มีปริมาณออกซิเจนอยู่ในเซลล์พืชมากเกินไป อาจก่อให้เกิดโฟโทเรสพิเรชัน ซึ่งทาให้เกิดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยอายุของพืช
อายุของพืช ใบพืชที่มีอายุมากหรือน้อยไป จะมีประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงต่า ทั้งนี้เพราะใบที่แก่เกินไปนั้นจะมีการสลายตัว
ของแกรนูล ส่วนใบที่อ่อนก็มีคลอโรพลาสต์ที่ยังไม่เจริญเต็มที่ ต้นพืชที่งอกใหม่และพืชที่กาลังจะตายจึงมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงต่า
กว่าพืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยอายุของพืช
ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปัจจัยสารเคมี
สารเคมี การใช้สารเคมีบางอย่างอาจมีผลกระทบต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชได้ เช่น ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์
คลอโรฟอร์ม อีเทอร์ เป็นต้น สารเหล่านี้มีสมบัติเป็นตัวยับยั้งการทางานของเอนไซม์ (Enzyme Inhibitor) จึงสามารถทาให้
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชหยุดชะงักได้
ความหมายและความสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
ความหมายและความสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
พืชที่เจริญเติบโตอยู่ใต้เรือนพุ่มของพืชอื่น จะมีโอกาสสร้างชีวมวลได้น้อยกว่าจึงเกิดการแข่งขันเพื่อรับแสง โดยการ
จัดเรียงตัวของใบ ลาต้น กิ่ง และก้านใบให้มีโอกาสรับแสงได้มากที่สุด
ความหมายและความสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นว่ากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการที่พืชใช้พลังงานแสงเพื่อสร้างสารอินทรีย์จาก
สารอนินทรีย์ คือ คาร์บอนไดออกไซด์กับน้า เป็นคาร์โบไฮเดรต พลังงานแสงจะถูกเปลี่ยนรูปมาเก็บอยู่ในรูปพลังงานเคมีใน
โมเลกุลของสารอินทรีย์
ความหมายและความสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงจะเกิดขึ้นที่เยื่อไทลาคอยด์และสโตรมาของคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยปฏิกิริยาแสง ซึ่งจะได้สารพลังงาน
สูงเพื่อนาไปใช้ในปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ ปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ ของพืช C3 C4 และพืชซีเอเอ็มจะ
แตกต่างกันออกไป ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงเช่น ปริมาณน้าที่ได้รับ ความเข้มของแสง และอุณหภูมิ เป็นต้น
ตัวอย่างสาคัญของการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
• แสงจาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชแต่ถ้ามากหรือน้อยเกินไปจะมีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเราพบพืช
ทั้งในที่ร่มและที่กลางแจ้ง พืชเหล่านั้นมีการปรับโครงสร้างอย่างไรในสภาวะที่ความเข้มของแสงต่างกัน
การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง
• พืชจาเป็นต้องปรับโครงสร้างของใบให้เอื้ออานวยในการรับแสงให้ได้มาก ใบพืชที่อยู่ในบริเวณป่ าเขตร้อนจะมีชั้นเอพิเดอร์มิสที่
อยู่ด้านนอกสุดทาหน้าที่คล้ายเลนส์รวมแสงทาให้แสงส่องไปถึงคลอโรพลาสต์และมีความเข้มของแสงสูงกว่าแสงภายนอกใบ
แสงส่วนหนึ่งจะถูกดูดซับโดยสารสีในคลอโรพลาสต์ของเซลล์เพลิเซดและแสงส่วนที่เหลือจะสามารถผ่านลงไปถึงชั้นเซลล์
ด้านล่างได้โดยผ่านช่องว่างระหว่างคลอโรพลาสต์และช่องว่างระหว่างเซลล์มาก รอยต่อระหว่างอากาศและน้าที่เคลือบผนังเซลล์
ช่วยสะท้อนแสงไปได้หลายทิศทาง และเพิ่มโอกาสที่แสงจะถูกดูดซับโดยสารสีในเซลล์มากขึ้น
การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง
• ในบางสภาพแวดล้อมที่มีแสงมากจนกระทั่งอาจเป็นอันตรายต่อพืชได้ ใบพืชจะมีโครงสร้างพิเศษ เช่น ขนและชั้นคิวทิเคิล
ที่ผิวใบเพื่อช่วยในการสะท้อนแสง และลดการดูดซับแสงของใบการปรับตัวเช่นนี้อาจสามารถลดการดูดซับแสงได้มากถึง
ร้อยละ 40 และลดปัญหาใบมีอุณหภูมิสูงและปัญหาอื่นๆ ที่เกิดจากการดูดซับแสงมากเกินไป
การควบคุมการรับแสงของใบพืช
• ใบพืชสามารถควบคุมการรับแสงได้ เช่น การเคลื่อนที่ของคลอโรพลาสต์ในเซลล์และการเคลื่อนไหวของใบพืช พืชบางชนิด เช่น
ถั่วและฝ้าย พบว่าในช่วงเวลาเที่ยงวันพืชสามารถปรับตาแหน่งของแผ่นใบ เพื่อรับแสงตามความต้องการของพืช นอกจากนี้ยังมี
พืชอีกหลายชนิดสามารถปรับตาแหน่งของแผ่นใบเพื่อลดการรับแสงอาทิตย์โดยตรง ทาให้การรับแสงและความร้อนลดลง
ต้นฝ้ายเปลี่ยนทิศทางของใบ
การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง
• ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ศึกษาการปรับตัวของใบโกสนพันธุ์ใบส้ม
(Codiaeum variegatum) (L.) BI. ““Baisom”")ต่อความเข้มของแสงที่ต่างกันโดยศึกษากับ
ใบที่เกิดใหม่ระหว่างการทดลอง และใบเจริญเติบโตเต็มที่ก่อนการทดลอง จากการศึกษาพบว่า
การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง
ใบที่เกิดใหม่ระหว่างการทดลอง เมื่อเจริญในที่มีความเข้มของแสงสูงพบว่ามีพื้นที่ของใบและปริมาณคลอโรฟิลล์ต่ากว่าใบที่
อายุเท่ากันที่เจริญในที่มีความเข้มของแสงต่าและใบที่เจริญในที่มีความเข้มของแสงสูง จะมีความหนาของใบมากกว่า ซึ่งเมื่อ
ศึกษาโครงสร้างของใบตัดตามขวางพบว่ามีชั้นแพลิเซดมีโซฟิลล์เป็นรูปแท่ง 2 ชั้น ในขณะที่ใบที่เจริญในที่มีความเข้มของ
แสงต่า จะมีชั้นเพลิเซดมีโซฟิลล์เป็นรูปแท่งเพียงชั้นเดียวอีกชั้นหนึ่งมีรูปร่างไม่แน่นอน
การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง
ใบที่เจริญเติบโตเต็มที่ก่อนการทดลอง เมื่อเจริญในที่มี
ความเข้มของแสงสูงจะมีปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ และ
คลอโรฟิลล์ บี ลดลง ส่วนในใบที่เจริญในที่มีความเข้ม
ของแสงต่าจะมีปริมาณคลอโรฟิลล์เอ และคลอโรฟิลล์บี
เพิ่มขึ้น ผลการทดลองเป็นดังภาพ
ภาคตัดขวางของใบโกสนพันธุ์ใบส้มที่เจริญในที่มีความเข้มของแสงต่างกัน
การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันกันเพื่อรับแสงของพืชที่ขึ้นในบริเวณเดียวกัน
พืชยืนต้นที่มีการแตกกิ่งก้านสาขามากๆช่วยเพิ่มความสามารถในการรับแสงได้มากขึ้น เช่น ต้นหูกวางสามารถแตก
กิ่งก้านสาขามีเรือนพุ่มกว้างปกคลุมพื้นดินได้มากนับร้อยตารางเมตร และมีการจัดเรียงกิ่งรอบลาต้นเพื่อให้ใบแต่ละใบรับ
แสงได้อย่างเต็มที่ดังภาพที่ 13-33 ต้นยางนาอาจมีลาต้นสูงถึง 30 เมตร ทาให้ชูใบขึ้นเพื่อรับแสงได้เหนือพืชอื่นๆในป่ า
การจัดเรียงใบของต้นหูกวาง
73
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR
ATTENTION!

More Related Content

What's hot

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้นWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองnokbiology
 

Viewers also liked (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนอง
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช