SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
บทที่ 6
ระบบสุริยะและดาวฤกษ์
ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์โลกและดวงจันทร์
• สุริยุปราคา
• จันทรุปราคา
• ข้างขึ้นข้างแรม
สุริยุปราคา (Solar Eclipse)
• “สุริยุปราคา” หรือ “สุริยะคราส” เกิดจากการที่ดวงจันทร์โคจรผ่านหน้า
ดวงอาทิตย์ เราจึงมองเห็นดวงอาทิตย์ค่อยๆ แหว่งมากขึ้น จนกระทั่งมืด
มิดหมดดวง และโผล่กลับมาอีกครั้ง คนในสมัยโบราณเชื่อว่า “ราหูอม
ดวงอาทิตย์” สุริยุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในวันแรม 15 ค่า แต่ไม่เกิดขึ้น
ทุกเดือน
• เนื่องจากระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ และระนาบที่ดวงจันทร์
โคจรรอบโลก มิใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกันเป็นมุม 5 องศา
• โอกาสที่จะเกิดสุริยุปราคาบนพื้นผิวโลก จึงมีเพียงประมาณปีละ 1 ครั้ง
และเกิดไม่ซ้าที่กัน เนื่องจากเงาของดวงจันทร์ที่ทาบไปบนพื้นผิวโลก
ครอบคลุมพื้นที่ขนาดเล็ก และโลกหมุนที่รอบตัวเองอย่างรวดเร็ว
สุริยุปราคา แผ่นที่ 5/2
ระนาบที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกทามุม 5 กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
• เงาของดวงจันทร์
ดวงจันทร์เคลื่อนที่บังแสงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงาขึ้น 2 ชนิด คือ เงามืด
และเงามัว
เงามืด (Umbra) เป็นส่วนที่มืดที่สุด เนื่องจากดวงจันทร์บด
บังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น ถ้าหากเข้าไปอยู่ ในเงามืด เราจะมิสามารถ
มองเห็นดวงอาทิตย์ได้เลย
เงามัว (Penumbra) ไม่มืดมากนักเนื่องจากได้รับแสงเป็น
บางส่วนจากอาทิตย์ ถ้าหากเราเข้าไปอยู่ ในเงามัว เราจะมองเห็น
บางส่วนของดวงอาทิตย์โผล่พ้นส่วนโค้งของดวงจันทร์ออกมาก
สุริยุปราคา แผ่นที่ 7/2
การเกิดสุริยุปราคาวงแหวน
การเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง
สุริยุปราคา 3 ชนิด
• สุริยุปราคาเต็มดวง (Total Solar Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อผู้
สังเกตการณ์อยู่ในตาแหน่งเงามืดบนพื้นผิวโลก (A) ดวงจันทร์จะบังดวง
อาทิตย์จนหมดสิ้น
• สุริยุปราคาบางส่วน (Partial Solar Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อผู้
สังเกตการณ์อยู่ในตาแหน่งของเงามัว (B) จึงมองเห็นดวงอาทิตย์เป็นสว่าง
เป็นเสี้ยว
• สุริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) เนื่องจากวงโคจร
ของดวงจันทร์เป็นรูปวงรี บางครั้งดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกมากเสียจนเงามืด
ของดวงจันทร์จะทอดยาวไม่ถึงผิวโลก (C) ดวงจันทร์จะมีขนาดปรากฏเล็ก
กว่าดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้สังเกตการณ์มองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏเป็นรูปวง
แหวน
จันทรุปราคา (Lunar Eclipse)
• จันทรุปราคา” หรือ “จันทรคราส” เกิดจากการที่ดวงจันทร์โคจรผ่านเข้า
ไปในเงาของโลก เราจึงมองเห็นดวงจันทร์ค่อย ๆ แหว่งมากขึ้น จนหมด
ลับดวงและโผล่กลับขึ้นมาอีกครั้ง อย่างที่คนสมัยโบราณเรียกว่า “ราหู
อมจันทร์” จันทรุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืนวันเพ็ญ 15 ค่า หรือคืน
วันพระจันทร์เต็มดวง อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์จันทรุปราคา มิ
สามารถเกิดขึ้นทุกเดือน เนื่องจากระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
และระนาบที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก มิใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกัน
เป็นมุม 5 องศา ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดจันทรุปราคา จึงมีเพียงประมาณปี
ละ 1-2 ครั้ง โดยที่สามารถมองเห็นจากประเทศไทย เพียงปีละครั้ง
สุริยุปราคา แผ่นที่ 10/2
ระนาบที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกทามุม 5 กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
• เงาโลก
โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง หากแต่ได้รับแสง
จากดวงอาทิตย์ ด้านที่หันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์เป็นกลางวัน ส่วนด้าน
ที่หันหลังให้ดวงอาทิตย์เป็นกลางคืน การที่โลกบังแสงอาทิตย์ในอวกาศ
บังเกิดเงา 2 ชนิด คือ เงามืด และเงามัว
จันทรุปราคา แผ่นที่ 12/3
การเกิดจันทรุปราคา
จันทรุปราคา แผ่นที่ 13/3
การเกิดจันทรุปราคาชนิดต่าง ๆ
จันทรุปราคา 3 ชนิด
• จันทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์
ทั้งดวงเข้าไปอยู่ในเงามืดของโลก
• จันทรุปราคาบางส่วน (Partial Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อบางส่วน
ของดวงจันทร์เฉี่ยวผ่านเงามัว
• จันทรุปราคาเงามัว (Penumbra Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อดวง
จันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงามัวของโลก โดยมิได้เฉี่ยวกายเข้าไปในเงา
มืดแม้แต่น้อย ดวงจันทร์จึงยังคงมองเห็นเต็มดวงอยู่ แต่ความสว่างลด
น้อยลง สีออกส้มแดง จันทรุปราคาชนิดนี้หาโอกาสดูได้ยาก เพราะ
โดยทั่วไปดวงจันทร์มักจะผ่านเข้าไปในเงามืดด้วย
• จันทรุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืนที่ดวงจันทร์เต็มดวง เมื่อดวง
จันทร์อยู่ในตาแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ โดยมีโลกอยู่ตาแหน่งกลาง
ผู้สังเกตการณ์อยู่ในตาแหน่งใด ๆ บนซีกมืดของโลก (หรือกลางคืน) จะ
มองเห็นดวงจันทร์โคจรผ่านเงามืดด้วยความเร็ว 1 ก.ม.ต่อวินาที และ
ด้วยเงามืดของโลกมีขนาดจากัด ดังนั้นดวงจันทร์จะอยู่ในเงามืดได้นาน
ที่สุดเพียง 1 ชั่วโมง 42 นาที เท่านั้น
ข้างขึ้นข้างแรม
• ข้างขึ้นข้างแรม (The Moon’s Phases) หมายถึง ปรากฏการณ์
ธรรมชาติที่เรามองเห็นดวงจันทร์เปลี่ยนแปลงเป็นเสี้ยว บางคืนก็เสี้ยว
เล็ก บางคืนก็เสี้ยวใหญ่ บางคืนสว่างเต็มดวง บางบางคืนก็มืดหมดทั้ง
ดวง การที่เรามองเห็นการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้เป็นเพราะ ดวงจันทร์มี
รูปร่างเป็นทรงกลม ไม่มีแสงในตัวเอง แต่ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ ด้าน
มืดของดวงจันทร์เกิดจากส่วนโค้งของดวงจันทร์บังแสง ทาให้เกิดเงามืด
ทางด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ เมื่อมองดูดวงจันทร์จากพื้นโลก เราจึง
มองเห็นเสี้ยวของดวงจันทร์มีขนาดเปลี่ยนไปเป็นวงรอบ ใช้เวลา 29.5
วัน
ข้างขึ้นข้างแรม แผ่นที่ 17/2
แสงอาทิตย์สะท้อนจากโลก ทาให้เรามองเห็นส่วนมืดของดวงจันทร์
ข้างขึ้นข้างแรม แผ่นที่ 18/2
การเกิดข้างขึ้นข้างแรม
• คนไทยแบ่งเดือนทางจันทรคติออกเป็น 30 วัน คือ วันขึ้น 1 ค่า - วันขึ้น
15 ค่า และ วันแรม 1 ค่า - วันแรม 15 ค่า โดยถือให้วันขึ้น 15 ค่า (ดวง
จันทร์สว่างเต็มดวง), วันแรม 1 ค่า (ดวงจันทร์มืดทั้งดวง), วันแรม 8 ค่า
และวันขึ้น 8 ค่า (ดวงจันทร์สว่างครึ่งดวง) เป็นวันพระ
• วันแรม 15 ค่า (รูป ก) เมื่อดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ดวง
จันทร์จะหันแต่ทางด้านมืดให้โลก ดวงจันทร์ปรากฏบนท้องฟ้าใน
ตาแหน่งใกล้กับดวงอาทิตย์ ทาให้เราไม่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้
เลย
• วันขึ้น 8 ค่า (รูป ข) เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนมาอยู่ในตาแหน่งทามุมฉากกับ
โลก และดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้านสว่างและด้านมืดของ
ดวงจันทร์มีขนาดเท่าๆ กัน
• วันขึ้น 15 ค่า หรือ วันเพ็ญ (รูป ค) ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ด้านตรงข้ามกับ
ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หันด้านที่ได้รับแสงอาทิตย์เข้าหาโลก ทาให้
เรามองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง
• วันแรม 8 ค่า (รูป ง) ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในตาแหน่งทามุมฉากกับโลก
และดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้านสว่างและด้านมืดของดวง
จันทร์มีขนาดเท่าๆ กัน
เกร็ดความรู้
• วันเพ็ญขึ้น 15 ค่า ดวงจันทร์อยู่ด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ดังนั้นเราจึงเห็น
ดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันออก ขณะที่ดวงอาทิตย์ตกทางทิศตะวันตก
• ดวงจันทร์ขึ้นช้า วันละ 50 นาที
• ข้างขึ้น: เราจะเห็นดวงจันทร์ในช่วงหัวค่า
• ข้างแรม: เราจะเห็นดวงจันทร์ในช่วงรุ่งเช้า
• ในช่วงเวลาที่ดวงจันทร์ปรากฏเป็นเสี้ยวบาง แต่เราก็สามารถมองเห็นด้าน
มืดของดวงจันทร์ได้ เป็นเพราะแสงอาทิตย์ส่องกระทบพื้นผิวโลก แล้ว
สะท้อนไปยังดวงจันทร์ เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “เอิร์ธไชน์” (Earth
Shine)
• a Sidereal Month (a lunar orbit of 360 degrees around the
earth, 27.32158 days) and a Synodic Month (a single lunation
or full cycle of lunar phases, 29.53059 days on average)
การกาเนิดระบบสุริยะและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ
• ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และบริวาร ซึ่งโคจรอยู่รอบดวงอา
ทิตย ์์ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์
น้อย และดาวหาง ดาวเคราะห์ 4 ดวงที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย ์์เรียกว่า
"ดาวเคราะห์ชั้นใน" ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก และมีพื้นผิวเป็น
ของแข็ง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลกและดาวอังคาร ดาวเคราะห์ 4 ดวง
ที่อยู่ถัดออกไปเรียกว่า "ดาวเคราะห์ชั้นนอก" ซึ่งมีขนาดใหญ่ และมี
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซ ถัดจากนั้น คือ ดาวพลูโตที่มีขนาดเล็ก
และมีพื้นผิวเป็นของแข็ง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์แคระ
Planet
• ดาวเคราะห์ (Planet) เป็นวัตถุที่
1. โคจรรอบดวงอาทิตย์
2. มีมวลสูมมากพอ จนแรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุดังกล่าวมีรูปร่างทรงกลม
หรือเกือบกลม
3. วัตถุดังกล่าว ได้ทาให้บริเวณที่ใกล้เคียงกับวงโคจรของมันปราศจาก
วัตถุอื่น ๆ
Dwarf Planet
• ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planer) เป็นวัตถุที่
1. โคจรรอบดวงอาทิตย์
2. มีมวลสูงมากพอจนแรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุดังกล่าวมีรูปทรงกลมหรือ
เกือบกลม
3. วัตถุดังกล่าวจะต้องไม่ทาให้บริเวณใกล้เคียงกับวงโคจรของมัน
ปราศจากวัตถุอื่น ๆ
4. ไม่เป็นดาวบริวารของดาวเคราะห์อื่น
• วัตถุอื่น ๆ ที่ไม่เป็นไปตามข้อ คานิยามของ Planet และ Dawrf
Planet ให้เรียกรวม ๆ ว่าเป็น วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ (Small
Solar System Bodies)
• ระบบสุริยะของเรา
การกาเนิดดวงอาทิตย์
• sun
การกาเนิดดาวฤกษ์ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในดาวฤกษ์
• ชมจากสื่อ CAI
ความสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์
• ดวงดาวบนท้องฟ้ามีความสว่าง (brightness) ไม่เท่ากัน ความ
สว่างของดาวจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ขนาด และระยะทางของดาวที่อยู่
ห่างจากโลก ในทางดาราศาสตร์สามารถบอกระดับความสว่างของดาว
ได้ด้วยค่าโชติมาตร (magnitude) โดยกาหนดไว้ว่า “ดาวที่มีค่า
โชติมาตรเท่ากับ 1 จะมีความสว่างมากกว่าดาวที่มีโชติมาตรเท่ากับ 6
อยู่ 100 เท่า” นั่นคือ
• ถ้ากาหนดให้อัตราส่วนของความสว่างในโชติมาตรถัดกันมีค่าเท่ากับ a
ดังนั้น
ดาวที่มีค่าโชติมาตรต่างกัน 1 จะมีความสว่างต่างกันอยู่ 2.512 เท่า
• พิจารณาความสว่างของดาวที่มีค่าโชติมาตรเท่ากับ 1 และ 2
• พิจารณาความสว่างของดาวที่มีค่าโชติมาตรเท่ากับ 1 และ 3
magnitude
• Apparent magnitude
• Absolute magnitude
• นิยาม ค่าโชติมาตรสัมบูรณ์ (M) คือ ค่าโชติมาตรของดาวเมื่อดาวดวง
นั้นอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 10 พาร์เซก
Color temperature
• ถ้าสังเกตดาวฤกษ์บนท้องฟ้าจะพบว่ามีสีแตกต่างกันไป
• ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) ในกลุ่มดาวนายพราน (Orion)
• ดาวแอนทารีส (Antares) ในกลุ่มดาวแมงป่อง จะมีสีแดงออกส้ม
• ดาวซีริอุสในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่มีสีขาว
• ดาวไรเจลในกลุ่มดาวนายพรานมีสีน้าเงินแกมขาว
Color temperature
• เนื่องจากว่าแสงแต่ละสีจะมีความยาวคลื่นไม่เท่ากันและมีช่วงตั้งแต่
ประมาณ 400-700 nm โดยแสงสีแดงสีความยาวคลื่นมากที่สุด
จากนั้นจึงเป็นแสงสีส้ม, เหลือง, เขียว, น้าเงิน, ฟ้า และแสงสีม่วงจะมี
ความยาวคลื่นสั้นที่สุด
• จากความรู้ทางฟิสิกส์เบื้องต้นพบว่าจากแสงสีความยาวคลื่นต่างกันที่
สังเกตเห็นได้จากแหล่งกาเนิดแสงต่างกันสามารถบอกได้ว่ามีอุณหภูมิ
มากน้อยเท่าใด จากความสัมพันธ์ดังนี้
หน่วยของความยาวคลื่นเป็นเซนติเมตร และหน่วยของอุณหภูมิเป็นเคลวิน
Spectral types of stars
• O B A F G K M
• Oh Be A Fine Girl Kiss Me
ลักษณะสาคัญของดาวที่มีชั้นสเปกตรัมชนิดต่างๆ มีดังนี
• ชนิด O : เป็นดาวที่มีอุณหภูมิสูงมาก ประมาณ 30,000 – 60,000 K จน
ทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของธาตุต่างๆ เกิดการไอออไนซ์
ขึ้น เส้นมืดที่ปรากฏชัดบนสเปกตรัมได้แก่ ไอออไนซ์ของฮีเลียม,
ออกซิเจน, ไนโตรเจน รวมทั้งไฮโดรเจนด้วย ดาวชนิดดังกล่าวนี้มีอยู่
กลุ่มหนึ่งเรียกว่า Wolf-Rayet star ที่แสดงเส้นสว่างของธาตุบางชนิดมี
ขนาดกว้างหลายอังสตรอม คาดว่าเส้นสว่างเหล่านี้เกิดจากกลุ่มก๊าซที่
ห่อหุ้มดาวถูกดันให้พุ่งออกมา
• ชนิด B : เส้นมืดที่มีความเข้มมากที่สุด ได้แก่ ฮีเลียมที่ไม่ถูกไอออไนซ์
(neutral Helium)โดยเฉพาะดาวชนิด B2 มีอุณหภูมิประมาณ
10,000 – 30,000 K เส้นของไฮโดรเจนเข้มกว่าดาวชนิดO
ตัวอย่างเช่น ดาวไรเจลในกลุ่มดาวนายพราน, ดาวสไปกาในกลุ่มดาว
หญิงสาว เป็นต้น
• ชนิด A : มีอุณหภูมิประมาณ 7,500 – 10,000 K เส้นของ
ไฮโดรเจนเข้มที่สุด โดยเริ่มปรากฏเส้นของแคลเซียมและ
แมกนีเซียมที่ถูกไอออไนซ์เป็นครั้งแรก (Singly ionized) ตัวอย่าง
ได้แก่ ดาวซิริอุสในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่, ดาวเดเนบในกลุ่มดาวหงส์ และ
ดาววีกาในกลุ่มดาวพิณ
• ชนิด F : มีอุณหภูมิประมาณ 6,000 – 7,500 K เส้นของ
ไฮโดรเจนเริ่มจางลงแต่เส้นของแคลเซียมซึ่งถูกไอออไนซ์เป็นครั้ง
แรกเริ่มปรากฏชัดขึ้น โดยเส้นดังกล่าวมีอยู่ 2 เส้น เรียกว่าเส้น Hและ
เส้น K ตัวอย่างเช่น ดาวคาโนปุส (Canopus) ในกลุ่มดาวกระดูกงู
เรือ และดาวเหนือ (Polaris) ในกลุ่มดาวหมีเล็ก
• ชนิด G : มีอุณหภูมิประมาณ 5,000 – 6,000 K ดาวชนิดนี้มี
เส้น H และ K ของแคลเซียมชัดที่สุดส่วนเส้นไฮโดรเจนพอมองเห็น
ได้ ตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์
• ชนิด K : เป็นดาวเย็นมีอุณหภูมิประมาณ 3,500 – 5,000 K มี
เส้นสเปกตรัมของโลหะเป็นกลางมากมาย เช่นดาวอาร์คตุรุส
(Arcturus) ในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ และดาวอัลดีบาแรน
(Aldebaran) ในกลุ่มดาววัว
• ชนิด M : เป็นดาวที่มีอุณหภูมิน้อยกว่า 3,500 K มีบรรยากาศที่
โมเลกุลของก๊าซสามารถดารงสภาพอยู่ได้ มีแถบสเปกตรัมของไททา
เนียมออกไซด์ (Titanium Oxide) ชัดมาก โดยเฉพาะชนิด M7
ตัวอย่างเช่นดาวบีเทลจุส ในกลุ่มดาวนายพราน และดาวแอนทารีส ใน
กลุ่มดาวแมงป่อง
H-R diagram
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx

More Related Content

Similar to บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxKru Bio Hazad
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 

Similar to บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx (20)

ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptxดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptx
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx

  • 3. สุริยุปราคา (Solar Eclipse) • “สุริยุปราคา” หรือ “สุริยะคราส” เกิดจากการที่ดวงจันทร์โคจรผ่านหน้า ดวงอาทิตย์ เราจึงมองเห็นดวงอาทิตย์ค่อยๆ แหว่งมากขึ้น จนกระทั่งมืด มิดหมดดวง และโผล่กลับมาอีกครั้ง คนในสมัยโบราณเชื่อว่า “ราหูอม ดวงอาทิตย์” สุริยุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในวันแรม 15 ค่า แต่ไม่เกิดขึ้น ทุกเดือน
  • 4. • เนื่องจากระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ และระนาบที่ดวงจันทร์ โคจรรอบโลก มิใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกันเป็นมุม 5 องศา • โอกาสที่จะเกิดสุริยุปราคาบนพื้นผิวโลก จึงมีเพียงประมาณปีละ 1 ครั้ง และเกิดไม่ซ้าที่กัน เนื่องจากเงาของดวงจันทร์ที่ทาบไปบนพื้นผิวโลก ครอบคลุมพื้นที่ขนาดเล็ก และโลกหมุนที่รอบตัวเองอย่างรวดเร็ว
  • 6. • เงาของดวงจันทร์ ดวงจันทร์เคลื่อนที่บังแสงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงาขึ้น 2 ชนิด คือ เงามืด และเงามัว เงามืด (Umbra) เป็นส่วนที่มืดที่สุด เนื่องจากดวงจันทร์บด บังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น ถ้าหากเข้าไปอยู่ ในเงามืด เราจะมิสามารถ มองเห็นดวงอาทิตย์ได้เลย เงามัว (Penumbra) ไม่มืดมากนักเนื่องจากได้รับแสงเป็น บางส่วนจากอาทิตย์ ถ้าหากเราเข้าไปอยู่ ในเงามัว เราจะมองเห็น บางส่วนของดวงอาทิตย์โผล่พ้นส่วนโค้งของดวงจันทร์ออกมาก
  • 8. สุริยุปราคา 3 ชนิด • สุริยุปราคาเต็มดวง (Total Solar Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อผู้ สังเกตการณ์อยู่ในตาแหน่งเงามืดบนพื้นผิวโลก (A) ดวงจันทร์จะบังดวง อาทิตย์จนหมดสิ้น • สุริยุปราคาบางส่วน (Partial Solar Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อผู้ สังเกตการณ์อยู่ในตาแหน่งของเงามัว (B) จึงมองเห็นดวงอาทิตย์เป็นสว่าง เป็นเสี้ยว • สุริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) เนื่องจากวงโคจร ของดวงจันทร์เป็นรูปวงรี บางครั้งดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกมากเสียจนเงามืด ของดวงจันทร์จะทอดยาวไม่ถึงผิวโลก (C) ดวงจันทร์จะมีขนาดปรากฏเล็ก กว่าดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้สังเกตการณ์มองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏเป็นรูปวง แหวน
  • 9. จันทรุปราคา (Lunar Eclipse) • จันทรุปราคา” หรือ “จันทรคราส” เกิดจากการที่ดวงจันทร์โคจรผ่านเข้า ไปในเงาของโลก เราจึงมองเห็นดวงจันทร์ค่อย ๆ แหว่งมากขึ้น จนหมด ลับดวงและโผล่กลับขึ้นมาอีกครั้ง อย่างที่คนสมัยโบราณเรียกว่า “ราหู อมจันทร์” จันทรุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืนวันเพ็ญ 15 ค่า หรือคืน วันพระจันทร์เต็มดวง อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์จันทรุปราคา มิ สามารถเกิดขึ้นทุกเดือน เนื่องจากระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ และระนาบที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก มิใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกัน เป็นมุม 5 องศา ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดจันทรุปราคา จึงมีเพียงประมาณปี ละ 1-2 ครั้ง โดยที่สามารถมองเห็นจากประเทศไทย เพียงปีละครั้ง
  • 11. • เงาโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง หากแต่ได้รับแสง จากดวงอาทิตย์ ด้านที่หันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์เป็นกลางวัน ส่วนด้าน ที่หันหลังให้ดวงอาทิตย์เป็นกลางคืน การที่โลกบังแสงอาทิตย์ในอวกาศ บังเกิดเงา 2 ชนิด คือ เงามืด และเงามัว
  • 14. จันทรุปราคา 3 ชนิด • จันทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ ทั้งดวงเข้าไปอยู่ในเงามืดของโลก • จันทรุปราคาบางส่วน (Partial Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อบางส่วน ของดวงจันทร์เฉี่ยวผ่านเงามัว • จันทรุปราคาเงามัว (Penumbra Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อดวง จันทร์โคจรผ่านเข้าไปในเงามัวของโลก โดยมิได้เฉี่ยวกายเข้าไปในเงา มืดแม้แต่น้อย ดวงจันทร์จึงยังคงมองเห็นเต็มดวงอยู่ แต่ความสว่างลด น้อยลง สีออกส้มแดง จันทรุปราคาชนิดนี้หาโอกาสดูได้ยาก เพราะ โดยทั่วไปดวงจันทร์มักจะผ่านเข้าไปในเงามืดด้วย
  • 15. • จันทรุปราคาเต็มดวงจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืนที่ดวงจันทร์เต็มดวง เมื่อดวง จันทร์อยู่ในตาแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ โดยมีโลกอยู่ตาแหน่งกลาง ผู้สังเกตการณ์อยู่ในตาแหน่งใด ๆ บนซีกมืดของโลก (หรือกลางคืน) จะ มองเห็นดวงจันทร์โคจรผ่านเงามืดด้วยความเร็ว 1 ก.ม.ต่อวินาที และ ด้วยเงามืดของโลกมีขนาดจากัด ดังนั้นดวงจันทร์จะอยู่ในเงามืดได้นาน ที่สุดเพียง 1 ชั่วโมง 42 นาที เท่านั้น
  • 16. ข้างขึ้นข้างแรม • ข้างขึ้นข้างแรม (The Moon’s Phases) หมายถึง ปรากฏการณ์ ธรรมชาติที่เรามองเห็นดวงจันทร์เปลี่ยนแปลงเป็นเสี้ยว บางคืนก็เสี้ยว เล็ก บางคืนก็เสี้ยวใหญ่ บางคืนสว่างเต็มดวง บางบางคืนก็มืดหมดทั้ง ดวง การที่เรามองเห็นการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้เป็นเพราะ ดวงจันทร์มี รูปร่างเป็นทรงกลม ไม่มีแสงในตัวเอง แต่ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ ด้าน มืดของดวงจันทร์เกิดจากส่วนโค้งของดวงจันทร์บังแสง ทาให้เกิดเงามืด ทางด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ เมื่อมองดูดวงจันทร์จากพื้นโลก เราจึง มองเห็นเสี้ยวของดวงจันทร์มีขนาดเปลี่ยนไปเป็นวงรอบ ใช้เวลา 29.5 วัน
  • 17. ข้างขึ้นข้างแรม แผ่นที่ 17/2 แสงอาทิตย์สะท้อนจากโลก ทาให้เรามองเห็นส่วนมืดของดวงจันทร์
  • 19.
  • 20. • คนไทยแบ่งเดือนทางจันทรคติออกเป็น 30 วัน คือ วันขึ้น 1 ค่า - วันขึ้น 15 ค่า และ วันแรม 1 ค่า - วันแรม 15 ค่า โดยถือให้วันขึ้น 15 ค่า (ดวง จันทร์สว่างเต็มดวง), วันแรม 1 ค่า (ดวงจันทร์มืดทั้งดวง), วันแรม 8 ค่า และวันขึ้น 8 ค่า (ดวงจันทร์สว่างครึ่งดวง) เป็นวันพระ
  • 21. • วันแรม 15 ค่า (รูป ก) เมื่อดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ดวง จันทร์จะหันแต่ทางด้านมืดให้โลก ดวงจันทร์ปรากฏบนท้องฟ้าใน ตาแหน่งใกล้กับดวงอาทิตย์ ทาให้เราไม่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้ เลย • วันขึ้น 8 ค่า (รูป ข) เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนมาอยู่ในตาแหน่งทามุมฉากกับ โลก และดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้านสว่างและด้านมืดของ ดวงจันทร์มีขนาดเท่าๆ กัน
  • 22. • วันขึ้น 15 ค่า หรือ วันเพ็ญ (รูป ค) ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ด้านตรงข้ามกับ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์หันด้านที่ได้รับแสงอาทิตย์เข้าหาโลก ทาให้ เรามองเห็นดวงจันทร์เต็มดวง • วันแรม 8 ค่า (รูป ง) ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในตาแหน่งทามุมฉากกับโลก และดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นด้านสว่างและด้านมืดของดวง จันทร์มีขนาดเท่าๆ กัน
  • 23. เกร็ดความรู้ • วันเพ็ญขึ้น 15 ค่า ดวงจันทร์อยู่ด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ดังนั้นเราจึงเห็น ดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันออก ขณะที่ดวงอาทิตย์ตกทางทิศตะวันตก • ดวงจันทร์ขึ้นช้า วันละ 50 นาที • ข้างขึ้น: เราจะเห็นดวงจันทร์ในช่วงหัวค่า • ข้างแรม: เราจะเห็นดวงจันทร์ในช่วงรุ่งเช้า • ในช่วงเวลาที่ดวงจันทร์ปรากฏเป็นเสี้ยวบาง แต่เราก็สามารถมองเห็นด้าน มืดของดวงจันทร์ได้ เป็นเพราะแสงอาทิตย์ส่องกระทบพื้นผิวโลก แล้ว สะท้อนไปยังดวงจันทร์ เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า “เอิร์ธไชน์” (Earth Shine)
  • 24. • a Sidereal Month (a lunar orbit of 360 degrees around the earth, 27.32158 days) and a Synodic Month (a single lunation or full cycle of lunar phases, 29.53059 days on average)
  • 25. การกาเนิดระบบสุริยะและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ • ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และบริวาร ซึ่งโคจรอยู่รอบดวงอา ทิตย ์์ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ น้อย และดาวหาง ดาวเคราะห์ 4 ดวงที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย ์์เรียกว่า "ดาวเคราะห์ชั้นใน" ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ขนาดเล็ก และมีพื้นผิวเป็น ของแข็ง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลกและดาวอังคาร ดาวเคราะห์ 4 ดวง ที่อยู่ถัดออกไปเรียกว่า "ดาวเคราะห์ชั้นนอก" ซึ่งมีขนาดใหญ่ และมี องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซ ถัดจากนั้น คือ ดาวพลูโตที่มีขนาดเล็ก และมีพื้นผิวเป็นของแข็ง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์แคระ
  • 26. Planet • ดาวเคราะห์ (Planet) เป็นวัตถุที่ 1. โคจรรอบดวงอาทิตย์ 2. มีมวลสูมมากพอ จนแรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุดังกล่าวมีรูปร่างทรงกลม หรือเกือบกลม 3. วัตถุดังกล่าว ได้ทาให้บริเวณที่ใกล้เคียงกับวงโคจรของมันปราศจาก วัตถุอื่น ๆ
  • 27. Dwarf Planet • ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planer) เป็นวัตถุที่ 1. โคจรรอบดวงอาทิตย์ 2. มีมวลสูงมากพอจนแรงโน้มถ่วงทาให้วัตถุดังกล่าวมีรูปทรงกลมหรือ เกือบกลม 3. วัตถุดังกล่าวจะต้องไม่ทาให้บริเวณใกล้เคียงกับวงโคจรของมัน ปราศจากวัตถุอื่น ๆ 4. ไม่เป็นดาวบริวารของดาวเคราะห์อื่น
  • 28. • วัตถุอื่น ๆ ที่ไม่เป็นไปตามข้อ คานิยามของ Planet และ Dawrf Planet ให้เรียกรวม ๆ ว่าเป็น วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ (Small Solar System Bodies) • ระบบสุริยะของเรา
  • 31. ความสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์ • ดวงดาวบนท้องฟ้ามีความสว่าง (brightness) ไม่เท่ากัน ความ สว่างของดาวจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ขนาด และระยะทางของดาวที่อยู่ ห่างจากโลก ในทางดาราศาสตร์สามารถบอกระดับความสว่างของดาว ได้ด้วยค่าโชติมาตร (magnitude) โดยกาหนดไว้ว่า “ดาวที่มีค่า โชติมาตรเท่ากับ 1 จะมีความสว่างมากกว่าดาวที่มีโชติมาตรเท่ากับ 6 อยู่ 100 เท่า” นั่นคือ
  • 36. • นิยาม ค่าโชติมาตรสัมบูรณ์ (M) คือ ค่าโชติมาตรของดาวเมื่อดาวดวง นั้นอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 10 พาร์เซก
  • 37. Color temperature • ถ้าสังเกตดาวฤกษ์บนท้องฟ้าจะพบว่ามีสีแตกต่างกันไป • ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) ในกลุ่มดาวนายพราน (Orion) • ดาวแอนทารีส (Antares) ในกลุ่มดาวแมงป่อง จะมีสีแดงออกส้ม • ดาวซีริอุสในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่มีสีขาว • ดาวไรเจลในกลุ่มดาวนายพรานมีสีน้าเงินแกมขาว
  • 38. Color temperature • เนื่องจากว่าแสงแต่ละสีจะมีความยาวคลื่นไม่เท่ากันและมีช่วงตั้งแต่ ประมาณ 400-700 nm โดยแสงสีแดงสีความยาวคลื่นมากที่สุด จากนั้นจึงเป็นแสงสีส้ม, เหลือง, เขียว, น้าเงิน, ฟ้า และแสงสีม่วงจะมี ความยาวคลื่นสั้นที่สุด
  • 40. Spectral types of stars • O B A F G K M • Oh Be A Fine Girl Kiss Me
  • 41. ลักษณะสาคัญของดาวที่มีชั้นสเปกตรัมชนิดต่างๆ มีดังนี • ชนิด O : เป็นดาวที่มีอุณหภูมิสูงมาก ประมาณ 30,000 – 60,000 K จน ทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมของธาตุต่างๆ เกิดการไอออไนซ์ ขึ้น เส้นมืดที่ปรากฏชัดบนสเปกตรัมได้แก่ ไอออไนซ์ของฮีเลียม, ออกซิเจน, ไนโตรเจน รวมทั้งไฮโดรเจนด้วย ดาวชนิดดังกล่าวนี้มีอยู่ กลุ่มหนึ่งเรียกว่า Wolf-Rayet star ที่แสดงเส้นสว่างของธาตุบางชนิดมี ขนาดกว้างหลายอังสตรอม คาดว่าเส้นสว่างเหล่านี้เกิดจากกลุ่มก๊าซที่ ห่อหุ้มดาวถูกดันให้พุ่งออกมา
  • 42. • ชนิด B : เส้นมืดที่มีความเข้มมากที่สุด ได้แก่ ฮีเลียมที่ไม่ถูกไอออไนซ์ (neutral Helium)โดยเฉพาะดาวชนิด B2 มีอุณหภูมิประมาณ 10,000 – 30,000 K เส้นของไฮโดรเจนเข้มกว่าดาวชนิดO ตัวอย่างเช่น ดาวไรเจลในกลุ่มดาวนายพราน, ดาวสไปกาในกลุ่มดาว หญิงสาว เป็นต้น
  • 43. • ชนิด A : มีอุณหภูมิประมาณ 7,500 – 10,000 K เส้นของ ไฮโดรเจนเข้มที่สุด โดยเริ่มปรากฏเส้นของแคลเซียมและ แมกนีเซียมที่ถูกไอออไนซ์เป็นครั้งแรก (Singly ionized) ตัวอย่าง ได้แก่ ดาวซิริอุสในกลุ่มดาวสุนัขใหญ่, ดาวเดเนบในกลุ่มดาวหงส์ และ ดาววีกาในกลุ่มดาวพิณ
  • 44. • ชนิด F : มีอุณหภูมิประมาณ 6,000 – 7,500 K เส้นของ ไฮโดรเจนเริ่มจางลงแต่เส้นของแคลเซียมซึ่งถูกไอออไนซ์เป็นครั้ง แรกเริ่มปรากฏชัดขึ้น โดยเส้นดังกล่าวมีอยู่ 2 เส้น เรียกว่าเส้น Hและ เส้น K ตัวอย่างเช่น ดาวคาโนปุส (Canopus) ในกลุ่มดาวกระดูกงู เรือ และดาวเหนือ (Polaris) ในกลุ่มดาวหมีเล็ก
  • 45. • ชนิด G : มีอุณหภูมิประมาณ 5,000 – 6,000 K ดาวชนิดนี้มี เส้น H และ K ของแคลเซียมชัดที่สุดส่วนเส้นไฮโดรเจนพอมองเห็น ได้ ตัวอย่างเช่น ดวงอาทิตย์
  • 46. • ชนิด K : เป็นดาวเย็นมีอุณหภูมิประมาณ 3,500 – 5,000 K มี เส้นสเปกตรัมของโลหะเป็นกลางมากมาย เช่นดาวอาร์คตุรุส (Arcturus) ในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ และดาวอัลดีบาแรน (Aldebaran) ในกลุ่มดาววัว
  • 47. • ชนิด M : เป็นดาวที่มีอุณหภูมิน้อยกว่า 3,500 K มีบรรยากาศที่ โมเลกุลของก๊าซสามารถดารงสภาพอยู่ได้ มีแถบสเปกตรัมของไททา เนียมออกไซด์ (Titanium Oxide) ชัดมาก โดยเฉพาะชนิด M7 ตัวอย่างเช่นดาวบีเทลจุส ในกลุ่มดาวนายพราน และดาวแอนทารีส ใน กลุ่มดาวแมงป่อง