SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
กระบวนการเทคโนโลยี ขั้นตอนการเลือกวิธีการ
ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งด้านเทคโนโลยีและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การสอนยุค
สมัยใหม่จึงต้องเปลี่ยนแปลงไป วิธีการเรียนการสอนเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบที่เน้นพัฒนาทักษะมากกว่าความรู้
การเรียนแบบโครงงานเป็นรูปแบบการเรียนหนึ่งที่เหมาะสมสาหรับการเรียนในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากเป็น
กิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติตามความสนใจของนักเรียน มีการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
อย่างแพร่หลาย เครื่องมือตัวหนึ่งที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานได้เป็นอย่างดีคือ
“โซเชียลมีเดีย” การเรียนแบบโครงงานร่วมกับโซเชียลมีเดียจะเริ่มจากการเตรียมความพร้อมของครู นักเรียน
วัสดุอุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐานของโรงเรียน จากนั้นนักเรียนเลือกปัญหาที่จะศึกษา โดยมีครูเป็นผู้จุด
ประกายและให้คาปรึกษา นักเรียนและครูร่วมกันวางแผนการทาโครงงานในรูปแบบของแผนปฏิบัติการหรือ
เค้าโครงโครงงาน โดยกาหนดวัตถุประสงค์ สมมติฐาน ขอบเขตการศึกษา และวิธีการศึกษา ศึกษาหลักการ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ลงมือปฏิบัติตามแผน โดยเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม เขียน
รายงาน เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ และประเมินโครงงาน ซึ่งในแต่ละขั้นตอนนักเรียนสามารถเลือกใช้โซเชียล
มีเดียที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของนักเรียนในยุคใหม่ นอกจากช่วยพัฒนา
สมรรถนะและทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 แล้ว จากผลการวิจัยยังพบว่าการเรียนแบบโครงงานจะทาให้
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการเรียนแบบเดิม หากครูออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างรัดกุมและ
ครอบคลุมทุกมาตรฐานของหลักสูตร (Boaler, 2002; Geier et al., 2008; Stepien et al, 1992; Strobel
& Barnveld, 2008 cited in Bender, 2012)
การเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการเทคโนโลยี ที่มีความสาคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่ง
ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับกรอบแนวความคิด สมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการ
วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งหมายรวมทั้ง การเก็บข้อมูล ( Data Collection) คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการ
รวบรวมข้อมูล ( Data Compilation) ซึ่งหมายถึง การนาเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บไว้แล้ว หรือรายงาน
ไว้ในเอกสารต่างๆ มาทาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวแปรที่สารวจโดยใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยทั่วไปจาแนก
ตามลักษณะของข้อมูลได้เป็น 2 ประเภท คือ
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนามาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่ง
สามารถนาไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้
2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะ
นาไปวิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความหรือข้อสนเทศ
แหล่งที่มาของข้อมูล
แหล่งข้อมูลที่สาคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้กรอกแบบสอบถาม บุคคลที่ถูกสังเกต เอกสาร
ทุกประเภท และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที่ แผนภูมิ หรือแม้แต่วัตถุ สิ่งของ ก็ถือเป็น
แหล่งข้อมูลได้ทั้งสิ้น โดยทั่วไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาได้ 2 ประเภท คือ
1) ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์
การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้ข้อมูลแบบปฐมภูมิ ผู้วิจัยจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตาม
ความต้องการและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตลอดจนเทคนิคการวิเคราะห์ แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา
ค่าใช้จ่าย และอาจมีคุณภาพไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม
2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่
นักวิจัยนาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสามะโนประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุก
ประเภท ช่วยให้ผู้วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลัง
ได้ ทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ศึกษา แต่จะมีข้อจากัดใน
เรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่มีอยู่แล้วไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ผู้วิจัย
ศึกษา และปัญหาเรื่องความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ก่อนจะนาไปใช้จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล และเก็บ
ข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นในบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจแบ่งเป็นวิธีการใหญ่ๆ ได้ 3 วิธี คือ
1) การสังเกตการณ์ (Observation) ทั้งการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ( Participant
Observation) และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ( Non-participant Observation) หรืออาจจะ
แบ่งเป็น การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง ( Structured Observation) และการสังเกตการณ์แบบไม่มี
โครงสร้าง ( Unstructured Observation)
2) การสัมภาษณ์ ( Interview) นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการสัมภาษณ์โดยใช้
แบบสอบถาม ( Questionnaire) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) หรืออาจจะจาแนกเป็น
การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม เช่น เทคนิคการสนทนากลุ่ม ( Focus Group
Discussion) ซึ่งนิยมใช้กันมาก
3) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ สิ่งพิมพ์ต่างๆ
เป็นต้น
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) กาหนดข้อมูลและตัวชี้วัด
2) กาหนดแหล่งข้อมูล
3) เลือกกลุ่มตัวอย่าง
4) เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
5) นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้
6) ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ประเภทของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
ตัวอย่างเช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินค่าและมาตรวัดเจตคติ และ
แบบวัดอื่นๆ
เอกสารอ้างอิง
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ์. เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสาหรับการวิจัย . กรุงเทพฯ: B&B
Publishing, 2542.
การเลือกใช้โปรแกรมและอุปกรณ์สร้างชิ้นงาน
ในขั้นตอนนี้มีการเตรียมคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ให้ครบถ้วน ซึ่งใน
การจัดเตรียมต้องคานึงถึงความประหยัด ความคุ้มค่า และมีจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคม เช่น ถ้าใช้ซอฟแวร์
ฟรีต้องศึกษาถึงข้อกาหนดในการใช้ซอฟแวร์นั้นแล้วปฏิบัติตามให้ถูกต้อง แต่ถ้าใช้ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ก็
จัดหาให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียกับตนเองและผู้อื่น
หลังจากจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้แล้วให้ดาเนินการจัดทาโครงงานตามตารางเวลาการ
ทางานอย่างเคร่งครัด ระหว่างการทาโครงงานต้องมีการบันทึกผลการทางานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา
อุปสรรค รวมถึงวิธีแก้ไข และควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด มีการตรวจสอบความ
ถูกต้องของโครงงานตามแผนการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ
การเลือกวิธีการประเมินผลงาน
โครงงานเมื่อทาการศึกษา และปฏิบัติเรียบร้อยแล้วต้องมีการวัดและประเมินผล โดยต้องวัดให้
ครอบคลุมกิจกรรมการทางาน ตั้งแต่การเตรียมก่อนลงมือทากิจกรรม กระบวนการทางานตามแผนที่วางไว้
และผลสาเร็จของผลงานที่อาจอยู่ในรูปชิ้นงาน หรือทฤษฎีก็ได้ เพื่อหาข้อบกพร่อง ปัญหาและอุปสรรคที่
เกิดขึ้นในระหว่างทางาน จนถึงสิ้นสุดการปฏิบัติงาน การประเมินผลมักจะประเมินตามจุดประสงค์และการ
ปฏิบัติงาน จะต้องทาอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอและมีผลย้อนกลับต่อผู้ปฏิบัติงานคือ นาผลประเมินไปปรับปรุง
และพัฒนาต่อไป ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ถือเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลง คือ
พฤติกรรมการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน คือ
1. พุทธพิสัย คือ การเปลี่ยนแปลงด้านความคิด
2. จิตพิสัย คือ การเปลี่ยนแปลงด้านเจตคติหรือจิตใจ
3. ทักษะพิสัย คือ การเปลี่ยนแปลงทางด้านการทางาน
การเรียนแบบโครงงานเป็นวิธีการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21 เน้นความเข้าใจที่ลึกซึ้ง กระบวนการ
แก้ปัญหา และการลงมือปฏิบัติจริง ดังนั้นกรอบการประเมินในการเรียนแบบโครงงานจึงมีความแตกต่างจาก
การประเมินการเรียนแบบเก่า และต้องใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายเพิ่มเข้ามา เช่น การประเมินตนเอง การ
ประเมินผลงาน การประเมินตามสภาพจริง และการประเมินโดยเพื่อนในกลุ่มหรือในชั้นเรียน ทั้งนี้การ
เลือกใช้การประเมินรูปแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงานที่ทา เช่น โครงงานคณิตศาสตร์ใน
ชีวิตประจาวัน ครูอาจประเมินจากเว็บสะสมผลงานอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Portfolios) ซึ่งอาจอยู่ในรูป
ของบล็อกอย่าง WordPress.com, Pathbrite.comหรือ Edublogs.org ร่วมกับแบบประเมินแบบรูบริค
(Rubric) เพื่อประเมินทักษะการวิจัย ทักษะการนาเสนอ และทักษะการใช้เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเกณฑ์การ
ประเมินแบบรูบริคเป็นเครื่องมือสาหรับให้คะแนนซึ่งสามารถใช้ประเมินได้ทั้งนักเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้องอื่น
ๆ โดยเฉพาะใช้ประเมินทักษะที่สาคัญ มีเว็บไซต์ที่ให้บริการสร้าง แก้ไขและดาวน์โหลดเกณฑ์ประเมินแบบ
รูบริคอยู่หลายเว็บไซต์ เช่น Rubistar.4teachers.org, Rcampus.com, Rubrics4teachers.com เป็นต้น
(Greenstein, 2012; Bender, 2012; Moutsund, 2009)
จะเห็นได้ว่าการประเมินการเรียนแบบโครงงานจะเน้นประเมินจากสมรรถนะการปฏิบัติงาน มีความความ
ยืดหยุ่น มักไม่เป็นทางการ ใช้วิธีการที่หลากหลาย ใช้การสื่อสารเป็นส่วนหนึ่งของการประเมิน เช่น ผล
ย้อนกลับจากเพื่อน ครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการประเมินการเรียนแบบโครงงานจาเป็นต้องวัด
ทั้งความรู้ความเข้าใจมาตรฐานตามหลักสูตรและทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 (Greenstein, 2012)
ประโยชน์การประเมินโครงงาน
1. ทาให้ทราบข้อบกพร่องและความสาเร็จของงาน
2. ทาให้มีการปรับปรุงแก้ไขตลอดเวลาที่กาลังปฏิบัติงาน
3. ผู้ปฏิบัติงานมีความกระตือรือร้นที่จะทางานด้วยความตั้งใจ เสียสละ และจริงใจ
4. ทาให้บุคคลอื่นทราบว่าโครงงานได้รับความสาเร็จหรือล้มเหลว ถ้าสาเร็จก็จะนาไปเป็น
แบบอย่างต่อไป ถ้าล้มเหลวก็จะทราบว่าเป็นเพราะเหตุใด และหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงต่อไป
องค์ประกอบของเกณฑ์การประเมินผลงาน
1. การวางแผนการทาโครงงาน
2. วิธีการดาเนินงานโครงงาน
3. สรุปผลการดาเนินโครงงาน
4. การนาเสนอโครงงาน
แนวทางประเมินโครงงาน
1. ประเมินในหัวข้อต่างๆเช่น การแสดงออก ความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะ
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางาน ผลผลิต แฟ้มสะสมงาน ผลงานการ
ทดสอบ
2. ประเมินผลโดยให้ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง เพื่อน ฯลฯ เป็นผู้ประเมิน
3. ระยะเวลาในการประเมิน อาจประเมินเป็นระยะๆ เช่น ก่อนการทาโครงงาน(ขั้นเตรียมการ)
ระหว่างทาโครงงาน หลังทาโครงงาน โดยใช้วิธีการต่างๆประเมิน เช่น การสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจ
รายงาน ตรวจผลงาน ทดสอบ จัดนิทรรศการแสดงผลงานฯลฯ
คาชี้แนะก่อนการประเมินผลการทาโครงงาน
ครูเป็นผู้ประเมินการทาโครงงานนักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยใช้แบบประเมินแผนผังโครงงานพิจารณา
ตามรายละเอียดดังนี้
1. ชื่อเรื่อง แสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. ชื่อเรื่อง มีความสัมพันธ์กับเนื้อหาคาถาม มีการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิด
3. สมมุติฐาน มีการแสดงถึงพื้นฐานความรู้เดิม
4. วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
5. แหล่งศึกษา สามารถค้นคว้าคาตอบได้
6. วิธีการนาเสนอ ชัดเจน เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลา
7. การวัดและประเมินผลโครงงาน ครูควรกาหนดเกณฑ์และตารางการวัดผลให้ครอบคลุมทุก
ขั้นตอนของการทากิจกรรม และชัดเจนก่อนลงมือทา เพื่อกระตุ้นการทางาน ดังตัวอย่างแบบต่างๆ
การเลือกวิธีการในการนาเสนอและแสดงผลโครงงาน
โดยทั่วไปเมื่อโครงงานเสร็จสิ้นแล้วต้องมีการนาเสนอโครงงานให้กับผู้ที่ต้องการใช้งาน ผู้สนใจหรือครูที่
ปรึกษาโครงงาน ดังนั้นจึงควรเตรียมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจจะปรับย่อข้อความที่สาคัญมาจาก
รายงานก็ได้ การนาสนอในรูปแบบใดนั้นต้องเลือกให้เหมาะสมโดยพิจารณาวัตถุประสงค์ของงานนาเสนอ เช่น
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ป้ายนิทรรศการ เอกสารรายงาน แผ่นพับ นอกจากนี้ยังจะต้องวางแผนในการนาเสนอและ
การสาธิตโครงงาน และควรฝึกตอบคาถามที่เกี่ยวข้องไว้ด้วย
นอกเหนือจากการนาเสนอผลจาการทาโครงงานให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องได้รับฟังแล้ว ในยุคดิจิตอลนี้
นักเรียนสามารถบันทึกงานนาเสนอในรูปแบบดิจิตอล และเผยแพร่ทางโซเชียลมีเดียได้ทั่วโลก ตัวอย่างเช่น
เว็บไซต์ Prezi.com ที่ให้บริการสร้างและเผยแพร่งานนาเสนอ
เว็บไซต์ Flipbooksoft.com และ Slideshare.net ให้บริการแปลงไฟล์เอกสารให้อยู่ในรูปแบบงานสาหรับ
การนาเสนอ เว็บไซต์ Youtube และ Vimeo ให้บริการจัดเก็บและแบ่งปันวิดีโอที่สามารถรับชมได้ทั่วโลก
ขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้ใช้ทักษะการนาเสนอเพื่อให้การนาเสนอเป็นไปอย่างน่าสนใจ รวมถึงการใช้
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนาเสนอและสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพใน
สภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทักษะการสื่อสาร (The Partnership for 21st Century
Skills, 2009)
ตัวอย่างหัวข้อสาหรับนาเสนอและแสดงผลโครงงาน มีดังต่อไปนี้
1) ชื่อเรื่องโครงงาน
2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3) ชื่อที่ปรึกษา
4) อธิบายถึงที่มา ความสาคัญและจุดประสงค์ของโครงงาน
5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6) การสาธิตผลงาน
7) ผลการศึกษาและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
เกร็ดน่ารู้
การนาเสนอด้วยคาพูดต่อที่ประชุม
1. จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่
ชัดเจนและเข้าใจง่าย
2. ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดีรวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจต้องใช้ในการตอบคาถาม
3. หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน
4. ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน
5. ตอบคาถามให้ตรงประเด็น
6. รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7. ควรใส่สื่อประกอบรายงาน เช่น สไลด์ ป้ายนิเทศ แผ่นใส ชิ้นงาน วิดีทัศน์
จากสถานการณ์ต่อไปนี้ ให้นักเรียนเลือกรูปแบบการนาเสนอ พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ แล้วบอก
อุปกรณ์เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้าง
ลาดับ สถานการณ์ รูปแบบ เหตุผล
อุปกรณ์
เทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์
1 แก้วประชาสัมพันธ์งาน
โรงเรียน
2 โชติรณรงค์การเลือกตั้ง
3 ธงชัยประกาศรับสมัคงาน
4 กวินนารายงานผลการทา
โครงงาน
5 สิงโตขอรับบริจาคเงินเพื่อ
สร้างโรงเรียน
6 อานนท์นาเสนอประวัติ
หน้าชั้นเรียน
7 กัญญาแสดงผลงานการทา
โครงงานในงานวัน
วิทยาศาสตร์
8 ธีระทาโฆษณาละคร
วิทยาศาสตร์ผ่านเว็บของ
โรงเรียน
การเลือกวิธีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ
เมื่อนักเรียนดาเนินการจนกระทั่งได้รับคาตอบตามวัตถุประสงค์ของโครงงานแล้วจะต้องเผยแพร่ผล
การศึกษาให้กับครู เพื่อน และผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยสร้างชิ้นงานเพื่อนาเสนอผลการดาเนินงานที่เป็น
รูปธรรมให้ผู้อื่นเข้าใจผลสาเร็จของโครงงาน โดยสามารถทาได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน
เช่น หากเป็นชิ้นงานโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ลักษณะของชิ้นงานที่จะนาเสนออาจประกอบด้วยตัว
สิ่งประดิษฐ์ร่วมกับสไลด์นาเสนอหรือแผงโครงงาน หากเป็นโครงงานประเภทสารวจหรือโครงงานที่เป็นเชิง
คุณภาพอาจนาเสนอด้วยแผนภาพหรือสไลด์หรือวิดีโอนาเสนอ เป็นต้น (ปรียา บุญญสิริ,2553)
มีโซเชียลมีเดียจานวนมากที่นักเรียนสามารถนามาใช้ในการสร้างชิ้นงานนาเสนอได้ เช่น สร้างสไลด์
สาหรับนาเสนออย่าง Prezi.com หรือSlideshare.net ที่สามารถสร้างและแปลงงานนาเสนอที่สร้างไว้แล้ว
จากโปรแกรมไมโครซอฟท์เพาเวอร์พอยท์ให้สามารถนาเสนอออนไลน์ได้ สร้างอัลบัมรูปด้วยเว็บไซต์ประเภท
แบ่งปันที่นักเรียนสามารถอัพโหลด เก็บรักษา แก้ไข และจัดการรูปภาพบนอินเตอร์เน็ตได้ เช่นบริการ
ของ Flickr.com และ Photobucket.com รวมถึงโซเชียลเน็ตเวิร์คอย่าง Facebook และ Google+ ที่
อนุญาตให้อัพโหลดรูปภาพเก็บไว้ได้ โดยครูอาจให้นักเรียนสร้างผลงาน (Portfolios) หรือสร้างเรื่องราว
(Creative Story) โดยใช้รูปภาพ สร้างอัลบัมของกลุ่ม ให้นักเรียนนาเสนอรูปประจาสัปดาห์ สร้างสไลด์โชว์
รูปภาพ สร้างและแบ่งปันงานนาเสนอประเภทวิดีโอด้วยโซเชียลมีเดียประเภทที่ให้บริการอัพโหลด แบ่งปัน
และตัดต่อวิดีโอ เช่น YouTube.com, Metacafe.com, Vimeo.com, Blip.tv เป็นต้น สร้างงานนาเสนอ
แผนภาพความคิดด้วยCoggle.it, Mindmeister.com, Mind42.com สร้างสรรค์การ์ตูนเพื่อเล่าเรื่องราว
ด้วย Makebeliefscomix.com,Readwritethink.org, Learnenglishkids.britishcouncil.org สร้างวิดีโอแอ
นิเมชั่นด้วย Wideo.com, Powtoon.com,Goanimate.com สร้างไทม์ไลน์ (Time Line) นาเสนอลาดับ
เหตุการณ์การดาเนินโครงงานตามลาดับเวลาด้วย Dipity.com สร้างโปสเตอร์มัลติมีเดีย
ด้วย Glogster.com ซึ่งโซเชียลมีเดียเหล่านี้เป็นสื่อที่เข้าใจได้ง่าย และยังจะช่วยดึงดูความสนใจของผู้ชมได้
เป็นอย่างดี (Poore, 2013)
นักเรียนจะต้องระดมสมองเพื่อหาแนวคิดในการผลิตชิ้นงานนาเสนอ ออกแบบชิ้นงาน วิเคราะห์และ
ประเมินความคิดของสมาชิกแต่ละคน ปรับแต่งเพื่อให้ได้ความคิดใหม่ ๆ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่เป็น
รูปธรรมและใช้ประโยชน์ได้ การสร้างชิ้นงานเหล่านี้จะช่วยพัฒนาทักษะการรับรู้สื่อร่วมกับทักษะความคิด
สร้างสรรค์และนวัตกรรม ในการคิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน และใช้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารในการพัฒนาเป็นชิ้นงานให้เป็นรูปธรรม โดยก่อนจะถึงขั้นตอนการนาเสนอ สมาชิกในกลุ่มจะต้อง
ช่วยกันประเมินความสมบูรณ์และความถูกต้องของชิ้นงานนาเสนออีกครั้ง (Peer Evaluation) (The
Partnership for 21st Century Skills, 2009; Bender, 2012)
หลังจากการสร้างชิ้นงานนาเสนอ นักเรียนจะนาชิ้นงานเหล่านั้นไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่นได้รับทราบครู
ต้องไม่ลืมว่าการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะเป็นองค์ประกอบที่สาคัญสาหรับการทาโครงงานของนักเรียน ถ้า
นักเรียนเชื่อว่าพวกเขากาลังแก้ปัญหาในโลกความจริงและเป็นสิ่งที่ชุมชนให้ความสาคัญ จะทาให้พวกเขามี
ความตั้งใจและกระตือรือร้นทางานมากขึ้น ในการนาเสนอผลงานอาจมีการจัดนิทรรศการร่วมด้วย โดยเชิญ
นักเรียนห้องอื่น ๆ ครู และผู้ปกครองมาชมนิทรรศการ โดยนักเรียนแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการนาเสนอการ
ดาเนินโครงงานให้ผู้มาชมนิทรรศการฟัง (วัฒนา มัคคสมัน,2554; Bender, 2012)

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)Nothern Eez
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PeeEllse
 

What's hot (19)

โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Com
ComCom
Com
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 

Viewers also liked

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู patmalya
 
4 1-ประเภทโครงงาน
4 1-ประเภทโครงงาน4 1-ประเภทโครงงาน
4 1-ประเภทโครงงานpatmalya
 
2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง
2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง
2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเองpatmalya
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดียpatmalya
 

Viewers also liked (6)

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
4 1-ประเภทโครงงาน
4 1-ประเภทโครงงาน4 1-ประเภทโครงงาน
4 1-ประเภทโครงงาน
 
2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง
2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง
2 2-ปัจจัย-สำรวจตนเอง
 
ไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงานไวนิลโครงงาน
ไวนิลโครงงาน
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 

Similar to 7 การเลือกวิธีการ

การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้าRamkhamhaeng University
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2mewlamun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)rapekung
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ana Thasnapanth
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Opp Phurinat
 

Similar to 7 การเลือกวิธีการ (20)

การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
นำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้านำเสนอความก้าวหน้า
นำเสนอความก้าวหน้า
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
Presentation Computer Project
Presentation Computer ProjectPresentation Computer Project
Presentation Computer Project
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Commmmm
CommmmmCommmmm
Commmmm
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 

More from patmalya

9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียนpatmalya
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการpatmalya
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊คpatmalya
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a daypatmalya
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผลpatmalya
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตูpatmalya
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครูpatmalya
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคตpatmalya
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจังpatmalya
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดีpatmalya
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุงpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัขpatmalya
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 tpatmalya
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้าpatmalya
 
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้าpatmalya
 
7 1-1-i know you know asean
7 1-1-i know you know asean7 1-1-i know you know asean
7 1-1-i know you know aseanpatmalya
 

More from patmalya (20)

9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
 
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
 
7 1-1-i know you know asean
7 1-1-i know you know asean7 1-1-i know you know asean
7 1-1-i know you know asean
 

7 การเลือกวิธีการ

  • 1. กระบวนการเทคโนโลยี ขั้นตอนการเลือกวิธีการ ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งด้านเทคโนโลยีและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การสอนยุค สมัยใหม่จึงต้องเปลี่ยนแปลงไป วิธีการเรียนการสอนเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบที่เน้นพัฒนาทักษะมากกว่าความรู้ การเรียนแบบโครงงานเป็นรูปแบบการเรียนหนึ่งที่เหมาะสมสาหรับการเรียนในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากเป็น กิจกรรมที่เน้นการปฏิบัติตามความสนใจของนักเรียน มีการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน อย่างแพร่หลาย เครื่องมือตัวหนึ่งที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานได้เป็นอย่างดีคือ “โซเชียลมีเดีย” การเรียนแบบโครงงานร่วมกับโซเชียลมีเดียจะเริ่มจากการเตรียมความพร้อมของครู นักเรียน วัสดุอุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐานของโรงเรียน จากนั้นนักเรียนเลือกปัญหาที่จะศึกษา โดยมีครูเป็นผู้จุด ประกายและให้คาปรึกษา นักเรียนและครูร่วมกันวางแผนการทาโครงงานในรูปแบบของแผนปฏิบัติการหรือ เค้าโครงโครงงาน โดยกาหนดวัตถุประสงค์ สมมติฐาน ขอบเขตการศึกษา และวิธีการศึกษา ศึกษาหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ลงมือปฏิบัติตามแผน โดยเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม เขียน รายงาน เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ และประเมินโครงงาน ซึ่งในแต่ละขั้นตอนนักเรียนสามารถเลือกใช้โซเชียล มีเดียที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของนักเรียนในยุคใหม่ นอกจากช่วยพัฒนา สมรรถนะและทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 แล้ว จากผลการวิจัยยังพบว่าการเรียนแบบโครงงานจะทาให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการเรียนแบบเดิม หากครูออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างรัดกุมและ ครอบคลุมทุกมาตรฐานของหลักสูตร (Boaler, 2002; Geier et al., 2008; Stepien et al, 1992; Strobel & Barnveld, 2008 cited in Bender, 2012) การเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการเทคโนโลยี ที่มีความสาคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่ง ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับกรอบแนวความคิด สมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการ วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งหมายรวมทั้ง การเก็บข้อมูล ( Data Collection) คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการ รวบรวมข้อมูล ( Data Compilation) ซึ่งหมายถึง การนาเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บไว้แล้ว หรือรายงาน ไว้ในเอกสารต่างๆ มาทาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ ประเภทของข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวแปรที่สารวจโดยใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยทั่วไปจาแนก ตามลักษณะของข้อมูลได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนามาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่ง สามารถนาไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้ 2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะ นาไปวิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความหรือข้อสนเทศ แหล่งที่มาของข้อมูล
  • 2. แหล่งข้อมูลที่สาคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้กรอกแบบสอบถาม บุคคลที่ถูกสังเกต เอกสาร ทุกประเภท และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที่ แผนภูมิ หรือแม้แต่วัตถุ สิ่งของ ก็ถือเป็น แหล่งข้อมูลได้ทั้งสิ้น โดยทั่วไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาได้ 2 ประเภท คือ 1) ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data) คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์ การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้ข้อมูลแบบปฐมภูมิ ผู้วิจัยจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตาม ความต้องการและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตลอดจนเทคนิคการวิเคราะห์ แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย และอาจมีคุณภาพไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม 2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่ นักวิจัยนาข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสามะโนประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุก ประเภท ช่วยให้ผู้วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลัง ได้ ทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ศึกษา แต่จะมีข้อจากัดใน เรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่มีอยู่แล้วไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ผู้วิจัย ศึกษา และปัญหาเรื่องความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ก่อนจะนาไปใช้จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล และเก็บ ข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นในบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจแบ่งเป็นวิธีการใหญ่ๆ ได้ 3 วิธี คือ 1) การสังเกตการณ์ (Observation) ทั้งการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม ( Participant Observation) และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ( Non-participant Observation) หรืออาจจะ แบ่งเป็น การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง ( Structured Observation) และการสังเกตการณ์แบบไม่มี โครงสร้าง ( Unstructured Observation) 2) การสัมภาษณ์ ( Interview) นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการสัมภาษณ์โดยใช้ แบบสอบถาม ( Questionnaire) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) หรืออาจจะจาแนกเป็น การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม เช่น เทคนิคการสนทนากลุ่ม ( Focus Group Discussion) ซึ่งนิยมใช้กันมาก 3) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 1) กาหนดข้อมูลและตัวชี้วัด 2) กาหนดแหล่งข้อมูล 3) เลือกกลุ่มตัวอย่าง 4) เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 5) นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ 6) ลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประเภทของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างเช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินค่าและมาตรวัดเจตคติ และ แบบวัดอื่นๆ
  • 4. การเลือกใช้โปรแกรมและอุปกรณ์สร้างชิ้นงาน ในขั้นตอนนี้มีการเตรียมคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ให้ครบถ้วน ซึ่งใน การจัดเตรียมต้องคานึงถึงความประหยัด ความคุ้มค่า และมีจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคม เช่น ถ้าใช้ซอฟแวร์ ฟรีต้องศึกษาถึงข้อกาหนดในการใช้ซอฟแวร์นั้นแล้วปฏิบัติตามให้ถูกต้อง แต่ถ้าใช้ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ก็ จัดหาให้ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียกับตนเองและผู้อื่น หลังจากจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้แล้วให้ดาเนินการจัดทาโครงงานตามตารางเวลาการ ทางานอย่างเคร่งครัด ระหว่างการทาโครงงานต้องมีการบันทึกผลการทางานเพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค รวมถึงวิธีแก้ไข และควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด มีการตรวจสอบความ ถูกต้องของโครงงานตามแผนการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ
  • 5. การเลือกวิธีการประเมินผลงาน โครงงานเมื่อทาการศึกษา และปฏิบัติเรียบร้อยแล้วต้องมีการวัดและประเมินผล โดยต้องวัดให้ ครอบคลุมกิจกรรมการทางาน ตั้งแต่การเตรียมก่อนลงมือทากิจกรรม กระบวนการทางานตามแผนที่วางไว้ และผลสาเร็จของผลงานที่อาจอยู่ในรูปชิ้นงาน หรือทฤษฎีก็ได้ เพื่อหาข้อบกพร่อง ปัญหาและอุปสรรคที่ เกิดขึ้นในระหว่างทางาน จนถึงสิ้นสุดการปฏิบัติงาน การประเมินผลมักจะประเมินตามจุดประสงค์และการ ปฏิบัติงาน จะต้องทาอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอและมีผลย้อนกลับต่อผู้ปฏิบัติงานคือ นาผลประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาต่อไป ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ถือเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลง คือ พฤติกรรมการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน คือ 1. พุทธพิสัย คือ การเปลี่ยนแปลงด้านความคิด 2. จิตพิสัย คือ การเปลี่ยนแปลงด้านเจตคติหรือจิตใจ 3. ทักษะพิสัย คือ การเปลี่ยนแปลงทางด้านการทางาน การเรียนแบบโครงงานเป็นวิธีการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21 เน้นความเข้าใจที่ลึกซึ้ง กระบวนการ แก้ปัญหา และการลงมือปฏิบัติจริง ดังนั้นกรอบการประเมินในการเรียนแบบโครงงานจึงมีความแตกต่างจาก การประเมินการเรียนแบบเก่า และต้องใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายเพิ่มเข้ามา เช่น การประเมินตนเอง การ ประเมินผลงาน การประเมินตามสภาพจริง และการประเมินโดยเพื่อนในกลุ่มหรือในชั้นเรียน ทั้งนี้การ เลือกใช้การประเมินรูปแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงานที่ทา เช่น โครงงานคณิตศาสตร์ใน ชีวิตประจาวัน ครูอาจประเมินจากเว็บสะสมผลงานอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Portfolios) ซึ่งอาจอยู่ในรูป ของบล็อกอย่าง WordPress.com, Pathbrite.comหรือ Edublogs.org ร่วมกับแบบประเมินแบบรูบริค (Rubric) เพื่อประเมินทักษะการวิจัย ทักษะการนาเสนอ และทักษะการใช้เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเกณฑ์การ ประเมินแบบรูบริคเป็นเครื่องมือสาหรับให้คะแนนซึ่งสามารถใช้ประเมินได้ทั้งนักเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ โดยเฉพาะใช้ประเมินทักษะที่สาคัญ มีเว็บไซต์ที่ให้บริการสร้าง แก้ไขและดาวน์โหลดเกณฑ์ประเมินแบบ รูบริคอยู่หลายเว็บไซต์ เช่น Rubistar.4teachers.org, Rcampus.com, Rubrics4teachers.com เป็นต้น (Greenstein, 2012; Bender, 2012; Moutsund, 2009) จะเห็นได้ว่าการประเมินการเรียนแบบโครงงานจะเน้นประเมินจากสมรรถนะการปฏิบัติงาน มีความความ ยืดหยุ่น มักไม่เป็นทางการ ใช้วิธีการที่หลากหลาย ใช้การสื่อสารเป็นส่วนหนึ่งของการประเมิน เช่น ผล ย้อนกลับจากเพื่อน ครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการประเมินการเรียนแบบโครงงานจาเป็นต้องวัด ทั้งความรู้ความเข้าใจมาตรฐานตามหลักสูตรและทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่ 21 (Greenstein, 2012) ประโยชน์การประเมินโครงงาน 1. ทาให้ทราบข้อบกพร่องและความสาเร็จของงาน 2. ทาให้มีการปรับปรุงแก้ไขตลอดเวลาที่กาลังปฏิบัติงาน 3. ผู้ปฏิบัติงานมีความกระตือรือร้นที่จะทางานด้วยความตั้งใจ เสียสละ และจริงใจ
  • 6. 4. ทาให้บุคคลอื่นทราบว่าโครงงานได้รับความสาเร็จหรือล้มเหลว ถ้าสาเร็จก็จะนาไปเป็น แบบอย่างต่อไป ถ้าล้มเหลวก็จะทราบว่าเป็นเพราะเหตุใด และหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงต่อไป องค์ประกอบของเกณฑ์การประเมินผลงาน 1. การวางแผนการทาโครงงาน 2. วิธีการดาเนินงานโครงงาน 3. สรุปผลการดาเนินโครงงาน 4. การนาเสนอโครงงาน แนวทางประเมินโครงงาน 1. ประเมินในหัวข้อต่างๆเช่น การแสดงออก ความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางาน ผลผลิต แฟ้มสะสมงาน ผลงานการ ทดสอบ 2. ประเมินผลโดยให้ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง เพื่อน ฯลฯ เป็นผู้ประเมิน 3. ระยะเวลาในการประเมิน อาจประเมินเป็นระยะๆ เช่น ก่อนการทาโครงงาน(ขั้นเตรียมการ) ระหว่างทาโครงงาน หลังทาโครงงาน โดยใช้วิธีการต่างๆประเมิน เช่น การสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจ รายงาน ตรวจผลงาน ทดสอบ จัดนิทรรศการแสดงผลงานฯลฯ คาชี้แนะก่อนการประเมินผลการทาโครงงาน ครูเป็นผู้ประเมินการทาโครงงานนักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยใช้แบบประเมินแผนผังโครงงานพิจารณา ตามรายละเอียดดังนี้ 1. ชื่อเรื่อง แสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. ชื่อเรื่อง มีความสัมพันธ์กับเนื้อหาคาถาม มีการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิด 3. สมมุติฐาน มีการแสดงถึงพื้นฐานความรู้เดิม 4. วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา 5. แหล่งศึกษา สามารถค้นคว้าคาตอบได้ 6. วิธีการนาเสนอ ชัดเจน เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลา
  • 8. การเลือกวิธีการในการนาเสนอและแสดงผลโครงงาน โดยทั่วไปเมื่อโครงงานเสร็จสิ้นแล้วต้องมีการนาเสนอโครงงานให้กับผู้ที่ต้องการใช้งาน ผู้สนใจหรือครูที่ ปรึกษาโครงงาน ดังนั้นจึงควรเตรียมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจจะปรับย่อข้อความที่สาคัญมาจาก รายงานก็ได้ การนาสนอในรูปแบบใดนั้นต้องเลือกให้เหมาะสมโดยพิจารณาวัตถุประสงค์ของงานนาเสนอ เช่น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ป้ายนิทรรศการ เอกสารรายงาน แผ่นพับ นอกจากนี้ยังจะต้องวางแผนในการนาเสนอและ การสาธิตโครงงาน และควรฝึกตอบคาถามที่เกี่ยวข้องไว้ด้วย นอกเหนือจากการนาเสนอผลจาการทาโครงงานให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องได้รับฟังแล้ว ในยุคดิจิตอลนี้ นักเรียนสามารถบันทึกงานนาเสนอในรูปแบบดิจิตอล และเผยแพร่ทางโซเชียลมีเดียได้ทั่วโลก ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์ Prezi.com ที่ให้บริการสร้างและเผยแพร่งานนาเสนอ เว็บไซต์ Flipbooksoft.com และ Slideshare.net ให้บริการแปลงไฟล์เอกสารให้อยู่ในรูปแบบงานสาหรับ การนาเสนอ เว็บไซต์ Youtube และ Vimeo ให้บริการจัดเก็บและแบ่งปันวิดีโอที่สามารถรับชมได้ทั่วโลก ขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้ใช้ทักษะการนาเสนอเพื่อให้การนาเสนอเป็นไปอย่างน่าสนใจ รวมถึงการใช้ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนาเสนอและสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพใน สภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทักษะการสื่อสาร (The Partnership for 21st Century Skills, 2009) ตัวอย่างหัวข้อสาหรับนาเสนอและแสดงผลโครงงาน มีดังต่อไปนี้ 1) ชื่อเรื่องโครงงาน 2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3) ชื่อที่ปรึกษา 4) อธิบายถึงที่มา ความสาคัญและจุดประสงค์ของโครงงาน 5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6) การสาธิตผลงาน 7) ผลการศึกษาและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน เกร็ดน่ารู้ การนาเสนอด้วยคาพูดต่อที่ประชุม 1. จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ ชัดเจนและเข้าใจง่าย
  • 9. 2. ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดีรวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจต้องใช้ในการตอบคาถาม 3. หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน 4. ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน 5. ตอบคาถามให้ตรงประเด็น 6. รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7. ควรใส่สื่อประกอบรายงาน เช่น สไลด์ ป้ายนิเทศ แผ่นใส ชิ้นงาน วิดีทัศน์ จากสถานการณ์ต่อไปนี้ ให้นักเรียนเลือกรูปแบบการนาเสนอ พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ แล้วบอก อุปกรณ์เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้าง ลาดับ สถานการณ์ รูปแบบ เหตุผล อุปกรณ์ เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ 1 แก้วประชาสัมพันธ์งาน โรงเรียน 2 โชติรณรงค์การเลือกตั้ง 3 ธงชัยประกาศรับสมัคงาน 4 กวินนารายงานผลการทา โครงงาน 5 สิงโตขอรับบริจาคเงินเพื่อ สร้างโรงเรียน 6 อานนท์นาเสนอประวัติ หน้าชั้นเรียน 7 กัญญาแสดงผลงานการทา โครงงานในงานวัน วิทยาศาสตร์
  • 11. การเลือกวิธีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เมื่อนักเรียนดาเนินการจนกระทั่งได้รับคาตอบตามวัตถุประสงค์ของโครงงานแล้วจะต้องเผยแพร่ผล การศึกษาให้กับครู เพื่อน และผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ โดยสร้างชิ้นงานเพื่อนาเสนอผลการดาเนินงานที่เป็น รูปธรรมให้ผู้อื่นเข้าใจผลสาเร็จของโครงงาน โดยสามารถทาได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน เช่น หากเป็นชิ้นงานโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ลักษณะของชิ้นงานที่จะนาเสนออาจประกอบด้วยตัว สิ่งประดิษฐ์ร่วมกับสไลด์นาเสนอหรือแผงโครงงาน หากเป็นโครงงานประเภทสารวจหรือโครงงานที่เป็นเชิง คุณภาพอาจนาเสนอด้วยแผนภาพหรือสไลด์หรือวิดีโอนาเสนอ เป็นต้น (ปรียา บุญญสิริ,2553) มีโซเชียลมีเดียจานวนมากที่นักเรียนสามารถนามาใช้ในการสร้างชิ้นงานนาเสนอได้ เช่น สร้างสไลด์ สาหรับนาเสนออย่าง Prezi.com หรือSlideshare.net ที่สามารถสร้างและแปลงงานนาเสนอที่สร้างไว้แล้ว จากโปรแกรมไมโครซอฟท์เพาเวอร์พอยท์ให้สามารถนาเสนอออนไลน์ได้ สร้างอัลบัมรูปด้วยเว็บไซต์ประเภท แบ่งปันที่นักเรียนสามารถอัพโหลด เก็บรักษา แก้ไข และจัดการรูปภาพบนอินเตอร์เน็ตได้ เช่นบริการ ของ Flickr.com และ Photobucket.com รวมถึงโซเชียลเน็ตเวิร์คอย่าง Facebook และ Google+ ที่ อนุญาตให้อัพโหลดรูปภาพเก็บไว้ได้ โดยครูอาจให้นักเรียนสร้างผลงาน (Portfolios) หรือสร้างเรื่องราว (Creative Story) โดยใช้รูปภาพ สร้างอัลบัมของกลุ่ม ให้นักเรียนนาเสนอรูปประจาสัปดาห์ สร้างสไลด์โชว์ รูปภาพ สร้างและแบ่งปันงานนาเสนอประเภทวิดีโอด้วยโซเชียลมีเดียประเภทที่ให้บริการอัพโหลด แบ่งปัน และตัดต่อวิดีโอ เช่น YouTube.com, Metacafe.com, Vimeo.com, Blip.tv เป็นต้น สร้างงานนาเสนอ แผนภาพความคิดด้วยCoggle.it, Mindmeister.com, Mind42.com สร้างสรรค์การ์ตูนเพื่อเล่าเรื่องราว ด้วย Makebeliefscomix.com,Readwritethink.org, Learnenglishkids.britishcouncil.org สร้างวิดีโอแอ นิเมชั่นด้วย Wideo.com, Powtoon.com,Goanimate.com สร้างไทม์ไลน์ (Time Line) นาเสนอลาดับ เหตุการณ์การดาเนินโครงงานตามลาดับเวลาด้วย Dipity.com สร้างโปสเตอร์มัลติมีเดีย ด้วย Glogster.com ซึ่งโซเชียลมีเดียเหล่านี้เป็นสื่อที่เข้าใจได้ง่าย และยังจะช่วยดึงดูความสนใจของผู้ชมได้ เป็นอย่างดี (Poore, 2013) นักเรียนจะต้องระดมสมองเพื่อหาแนวคิดในการผลิตชิ้นงานนาเสนอ ออกแบบชิ้นงาน วิเคราะห์และ ประเมินความคิดของสมาชิกแต่ละคน ปรับแต่งเพื่อให้ได้ความคิดใหม่ ๆ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่เป็น รูปธรรมและใช้ประโยชน์ได้ การสร้างชิ้นงานเหล่านี้จะช่วยพัฒนาทักษะการรับรู้สื่อร่วมกับทักษะความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรม ในการคิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน และใช้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการพัฒนาเป็นชิ้นงานให้เป็นรูปธรรม โดยก่อนจะถึงขั้นตอนการนาเสนอ สมาชิกในกลุ่มจะต้อง ช่วยกันประเมินความสมบูรณ์และความถูกต้องของชิ้นงานนาเสนออีกครั้ง (Peer Evaluation) (The Partnership for 21st Century Skills, 2009; Bender, 2012) หลังจากการสร้างชิ้นงานนาเสนอ นักเรียนจะนาชิ้นงานเหล่านั้นไปเผยแพร่ให้บุคคลอื่นได้รับทราบครู ต้องไม่ลืมว่าการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะเป็นองค์ประกอบที่สาคัญสาหรับการทาโครงงานของนักเรียน ถ้า นักเรียนเชื่อว่าพวกเขากาลังแก้ปัญหาในโลกความจริงและเป็นสิ่งที่ชุมชนให้ความสาคัญ จะทาให้พวกเขามี ความตั้งใจและกระตือรือร้นทางานมากขึ้น ในการนาเสนอผลงานอาจมีการจัดนิทรรศการร่วมด้วย โดยเชิญ นักเรียนห้องอื่น ๆ ครู และผู้ปกครองมาชมนิทรรศการ โดยนักเรียนแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการนาเสนอการ ดาเนินโครงงานให้ผู้มาชมนิทรรศการฟัง (วัฒนา มัคคสมัน,2554; Bender, 2012)