SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน คอมพิวเตอร
เรื่อง ASEAN Languages Electronic book
for smart phone
โดย
1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขที่ 17
2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขที่ 22
3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขที่ 23
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2
ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท.
โรงเรียน สตรีนนทบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556
โครงงาน คอมพิวเตอร
เรื่อง ASEAN Languages Electronic book
for smart phone
โดย
1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขที่ 17
2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขที่ 22
3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขที่ 23
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2
ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท.
โรงเรียน สตรีนนทบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556
ก
ชื่อโครงงาน ASEAN Languages Electronic book for smart phone
ชื่อผูทําโครงงาน 1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล
2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ
3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล
โรงเรียนสตรีนนทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
โทรศัพท 02-5253171 หรือ 02-5251506
ชื่ออาจารยที่ปรึกษา 1.อาจารยประพจน หมนพันธ
2.อาจารยพัชรี ศรีสุวรรณ
ชื่ออาจารยที่ปรึกษาพิเศษ อาจารยกนกวรรณ ชนะถาวร
ผูเชี่ยวชาญพิเศษ คุณวันชนะ พลอยสีขํา
ระยะเวลาในการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555– ภาเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556
บทคัดยอ
ในปพุทธศักราช 2558 สมาคมอาเซียนจะกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยถือเปนหนึ่งในประเทศ
สมาชิกอาเซียน ดังนั้นประเทศไทยเราจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองเตรียมตัวใหพรอมและปรับตัวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เพื่อสงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางประเทศในภูมิภาค ธํารงไวเพื่อสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงทางการเมือง
สรางสรรคความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในอนาคตทุกประเทศจะเปดเสรีมีการ
เขาออกประเทศอยางสะดวกสบาย แตคนไทยเรานั้นยังไมมีความพรอม การกระตือรือรน และยังมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ
อาเซียนไมมากพอ ถึงแมจะมีสื่อที่ใหความรูเกี่ยวกับสมาคมอาเซียน แตสื่อเหลานั้นยังขาดความนาสนใจ ซึ่งสื่อเหลานี้ โดยสวน
ใหญแลวมักจะเปนสื่อที่ใหผูสนใจศึกษาดวยตนเอง คณะผูจัดทําจึงเกิดแนวคิดวาการใชสื่อมัลติมีเดีย จะทําใหผูศึกษาสามารถ
เรียนรูเนื้อหาขอมูลของอาเซียนไดดี เพราะสื่อมัลติมีเดียเปนสื่อประสมที่นําสื่อหลายๆชนิดมาใชรวมกัน ทําใหการศึกษามี
ความนาสนใจมากขึ้น นอกจากนี้ สื่อมัลติมีเดียจะชวยใหเกิดความหลากหลาย ไมนาเบื่อ และเพิ่มความสนุกสนานในการ
เรียนรูมากขึ้นดวย
โดยการใชโปรแกรม Adobe Indesign เปนโปรแกรมหลักในการสรางสรรคสื่อ แตตัวโปรแกรมนั้นไมสามารถใช
โปรแกรมเดียวไดตองมีการเตรียมรูปภาพมาจากโปรแกรม Adobe Photoshop และเตรียมคลิปอารต หรือ กราฟฟกตางๆ
มาจากโปรแกรม Adobe illustrator สวนขอความสามารถเตรียมไดจาก โปรแกรมประเภท Word Prospering แลวจึงนํามา
ประกอบรวมกันเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส นําไฟลผลงานไปอัพโหลดใน www.issuu.com เพื่อสะดวกในการศึกษา อีก
ทางเลือกหนึ่งจะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสนี้ไปโพส ลงในแอพพลิเคชัน i love library เพื่อเปดเปนไฟลสาธารณะและใหบุคคล
ที่ใช smart phone ดาวโหลดไปทดลองใชและประเมินความพึงพอใจของกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50
คน จากแบบสอบถามไดในระดับดีมากและดี
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงาน ASEAN Languages Electronic book for smartphone นี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดระยะเวลา
ดังกลาว คณะผูจัดทําตองขอขอบพระคุณผูอํานวยการทรงวิทย นิลเทียน ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี ที่ใหความ
อนุเคราะห สนับสนุนในดานตางๆตลอดโครงงาน ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษาทั้ง 2 ทาน คือคุณครูประพจน หมนพันธุ และ
คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ สําหรับการใหคําแนะนํา ติชม และแกไขขอบกพรองตางๆตลอดจนใหการสนับสนุนเรื่อยมา
ขอขอบพระคุณ คุณครูแสงระวี ศรีไพรบูลย คุณครูพัทจารี ซื่อศรีพิทักษ และคุณครูบุณฑริก ศรีบุญเรือง คุณครูที่ปรึกษา
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ที่คอยตรวจทาน ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําโครงงานตลอดมา ขอบคุณบริษัทเอไอ
เอสที่สรางเว็บไซตสาธารณะเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับภาษาอาเซียน
สุดทายนี้ คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณครอบครัว และทุกทานที่ใหกําลังใจและการสนับสนุนการทําโครงงานครั้งนี้
รวมถึงเจาของบทความ ขอมูลทั้งหลายที่ไมสามารถเอยนามไดทั้งหมด ที่ทําใหโครงงานนี้เสร็จอยางสมบูรณ ตองขอขอบคุณ
ทุกทานที่ใหการสนับสนุนตลอดมา หากตกบุคคลทานใดไปที่ไมไดเอยถึง ตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย
นางสาว ชลธิชา บุญกูล
นางสาว พัชรพร อุนจิตติ
นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล
ค
สารบัญ
หนา
บทคัดยอ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญรูปภาพ ง
บทที่ 1 บทนํา
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงคของการศึกษา 1
ขอบเขตของการศึกษา 1
นิยามศัพทเฉพาะ 2
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3
บทที่ 2 เอกสารอางอิง
ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4
ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4
งานวิจัยที่เกี่ยวของกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส 7
งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู 8
บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน
วัสดุอุปกรณ 11
ขั้นตอนการดําเนินงาน 11
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน
ผลการประเมินผลงาน 12
แผนภูมิประเมินความพึงพอใจ 13
ง
บทที่ 5 อภิปรายผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ
อภิปรายผลการศึกษา 14
สรุปผลการศึกษา 14
ขอเสนอแนะ 14
ภาคผนวก 15
บรรณานุกรม 37
จ
สารบัญภาพ
หนา
วัสดุอุปกรณและโปรแกรม 15
ขั้นตอนการดําเนินงาน 16
1
บทที่ 1
บทนํา
ที่มาและความสําคัญ
ยุคสมัยนี้เปนยุคโลกาภิวัฒน มีเทคโนโลยีเกิดขึ้นใหมมากมายเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย เชน การ
ผลิตคอมพิวเตอร การผลิตเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อใชในการติดตอสื่อสารและอํานวยความสะดวกตอการทํางานมากมาย แต
ประโยชนไมไดมีเพียงแคนั้น ยังมีการประยุกตในวงการอุตสาหกรรมและธุรกิจอยางแพรหลายณ ขณะนี้มีทั้งความ
สะดวกสบาย มีทั้งเทคโนโลยีที่เขามามีผลตอการดํารงชีวิต เชน การทําอาหาร การผลิตเสื้อผา หรือแมกระทั่งผลิตสื่อการเรียน
การสอน เนื่องจากผูคนสวนใหญตองการความสะดวกและรวดเร็ว ถาคนตองการอานหนังสือก็คงจะไมไปหองสมุดเพื่อไปหยิบ
ยืมหนังสือมาเนื่องจากคงเสียเวลามาก
ในปพ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะมีสวนรวมในการเปดประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนความรวมมือของ 10 ประเทศ เพื่อ
สงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางประเทศในภูมิภาค ธํารงไวเพื่อสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงทางการเมือง
สรางสรรคความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในอนาคตทุกประเทศจะเปดเสรีมีการ
เขาออกประเทศอยางสะดวกสบาย และสิ่งสําคัญที่สุดคือ ภาษา เพราะไมวาคุณจะทําอะไรตัวกลางของการสื่อสารก็คือ ภาษา
กลุมของขาพเจาจึงตองการเผยแพรความรูที่เปนคําศัพท แบงออกเปนหมวดหมูของสิ่งที่จําเปนในชีวิตประจําวัน เชน หมวด
การทักทาย อาหาร การนับเลข และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งจะนําเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรประยุกตรูปแบบการนําเสนอเปน
แบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส เพื่อความสะดวกสบายในการศึกษาและเพิ่มความนาสนใจของโครงงานนี้ดวย
วัตถุประสงคของโครงงาน
โครงงานของเรามีจุดประสงคเพื่อสงเสริมการใชภาษาของ 10 ประเทศอาเซียน ในชีวิตประจําวันโดยใชเทคโนโลยี
เขามาเปนสวนหนึ่งในการนําเสนอโดยจะแบงแยกเปนขอยอยไดดังนี้
1. เพื่อประยุกตใชเทคโนโลยีใหมๆมาทําเปนสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบที่นาสนใจกวาหนังสือ
2. เพื่อศึกษาการทําสื่อสรางสรรคของหนังสืออิเล็กทรอนิกส
3. เพื่อประเมินคามพึงพอใจของสื่อที่จัดทําขึ้นกับนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50คน
ขอบเขตของโครงงาน
1. ใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยสรางจากโปรแกรม adobe indesign
2. เนื้อหาครอบคลุม คําศัพทในหมวด ทักทาย อาหาร การนับเลข ช็อปปง สิ่งอํานวยความสะดวก สกุลเงิน การ
เดินทาง และสุขภาพ
3. กลุมตัวอยาง คือผูใชสมารทโฟนทั่วไป (ไมจํากัดอายุ)
2
นิยามศัพทเฉพาะ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส หมายถึง หนังสือที่จัดทําดวยระบบคอมพิวเตอร โดยไมตองพิมพเนื้อหาสาระของหนังสือบน
กระดาษหรือจัดพิมพเปนรูปเลม หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเปดอานไดจากเครื่องคอมพิวเตอร เหมือนกับเปดอานจาก
หนังสือโดยตรง ทั้งนี้สามารถนําเสนอขอมูลไดทั้งตัวอักษรหรือตัวเลข เรียกวา ไฮเปอรเท็กซ (hypertext) และถาหากขอมูล
นั้นรวมถึงภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวจะเรียกวา ไฮเปอรมีเดีย (hypermedia) โดยการประสานเชื่อมโยงสัมพันธของ
เนื้อหาที่อยูในแฟมเดียวกัน หรืออยูคนละแฟม เขาดวยกัน ทําใหผูใชสามารถคนหาขอมูลที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพซึ่งผูเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนไดตามความตองการไมจํากัดเวลาและสถานที่
( http://www.gotoknow.org/posts/446337 , 2 ธันวาคม 2555)
โปรแกรมIllustrator หมายถึง โปรแกรมสําหรับสรางภาพลายเสนที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงาน
กราฟกแบบ 2 มิติตางๆ สามารถแบงไดเปน 2 แบบคือ
1.ภาพแบบพิกเซล (pixel) คือ ภาพที่เกิดจากจุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเปนภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะ
ประกอบไปดวยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย และเเตละภาพที่สรางขึ้นจะมีความหนาเเนนของจุดภาพ
2.ภาพกราฟกเวกเตอร (vector graphics) คือ ภาพที่เกิดจากการกําหนดพิกัดและการคํานวณคาบน
ระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอรในทางคณิตศาสตร ในการกอใหเกิดเปน เสน หรือรูปภาพ ขอดีคือ
ทําใหสามารถยอขยายได โดยคุณภาพไมเปลี่ยนแปลง ขอเสียคือภาพไมเหมือนภาพจริงเปนไดเพียงภาพวาด หรือใกลเคียง
ภาพถายเทานั้น
( http://www.hellomyweb.com/index.php/main/content/41 , 2 ธันวาคม 2555)
ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian
Nations : ASEAN) เปนองคกรระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีจุดเริ่มตนโดยประเทศไทย มาเลเซีย
และฟลิปปนส ไดรวมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เพื่อการรวมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม แตดําเนินการไปไดเพียง 2 ป ก็ตองหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหวางประเทศ
อินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟนฟูสัมพันธทางการทูตระหวางสองประเทศ จึงไดมีการแสวงหาหนทางความ
รวมมือกันอีกครั้ง มี10ประเทศไดแก ไทย สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส บรูไน เวียดนาม ลาว พมาและกัมพูชา
( http://th.wikipedia.org/wiki/สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต , 2 ธันวาคม 2555)
smartphone คือ โทรศัพทที่รองรับระบบปฏิบัติการ ตางๆได เสมือนยกเอาคุณสมบัติทางคอมพิวเตอรมาไวใน
โทรศัพท คุณสมบัติเดนๆ คือ การเชื่อมตออุปกรณไรสายและ สามารถรองรับไฟล Multimedia ไดหลากหลายรูปแบบ
( http://www.mindphp.com/คูมือ/73-คืออะไร/2389-smartphone-คืออะไร.html , 2 ธันวาคม 2555)
3
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.ผูจัดทําสามารถนําโปรแกรมตางๆมาใชในเบื้องลึกเพื่อสรางผลงานไดดีกวาเดิม
2. ผูจัดทํามีความรูความเขาใจขั้นตอนการทําโครงงานมากขึ้น
3. สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานคอมพิวเตอร
4. เปนการนําคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตมาใชใหเกิดประโยชน
5. เปนแนวทางสําหรับบุคคลที่สนใจในการศึกษาคนควาเพิ่มเติม
6.บุคคลที่ไดศึกษาผลงานนี้มีความรูเกี่ยวกับภาษาทางอาเซียนมากขึ้น
4
บทที่ 2
เอกสารอางอิง
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
เอกสารเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book )
1. ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book )
มีนักวิชาการใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book ) ไวดังตอไปนี้
• เบเกอร ( Baker. 1992 : 139 ) ไดกลาววา E – Book เปนการนําเอาสวนที่เปนขอเดนที่มีอยูใน
หนังสือแบบเดิม มาผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร ซึ่งมีความสามารถในการนําเสนอเนื้อหา หรือ
องคความรูในรูปแบบสื่อประสม เนื้อหาหลายมิติสามารถเชื่อมโยงทั้งแหลงขอมูลจากภายในและจาก
เครือขาย หรือแบบเชื่อมโยง และการปฏิสัมพันธรูปแบบอื่นๆ
• กิดานันท มลิทอง ( 2539 : 12 ) ไดกลาววา E – Book หมายถึง สิ่งพิมพที่ไดรับการแปลงลงบนสื่อ
บันทึกดวยระบบดิจิตอล เชน ซีดี – รอม หรือหนังสือที่พิมพลงบนสื่อบันทึกดวยระบบดิจิตอลแทนที่
จะพิมพลงบนกระดาษเหมือนสิ่งพิมพธรรมดา
• ปญญา เปรมปรีดิ์ ( 2544 : 45 ) ไดกลาววา E – Book คือเอกสารที่พิมพเขาเครื่องคอมพิวเตอรเอาไว
มีลักษณะทั่วไปเปนแฟมขอมูลอยางหนึ่งที่จะจัดรูปใหเปนเอกสาร HTML หรือ คือ เปนเวบเพจที่
เรียกดูโดยเบราเซอรของระบบอินเตอรเน็ต
• จิระพันธ เดมะ ( 2545 : 1 ) ไดกลาววา หนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือ E – Book เปนจะเปนพัสดุ
หองสมุดยุคใหม ที่เปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมซึ่งเปนหนังสือที่ผลิตจากการเขียนหรือพิมพตัวอักษรหรือ
ภาพกราฟกลงในแผนกระดาษ หรือวัสดุชนิดอื่นๆ เพื่อบันทึกเนื้อหาสาระในรูปตัวหนังสือ รูปภาพหรือ
สัญลักษณตางๆ เชนที่ใชกันปกติทั่วไปจากอดีตถึงปจจุบันเปลี่ยนมาบันทึกและนําเสนอ เนื้อหาสาระ
ทั้งหมดเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกสในรูปสัญญาณดิจิตอลลงในสื่ออิเล็กทรอนิกสประเภทตงๆ เชน
แผนซีดีรอม ปาลมบุก
• ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ ( 2545 : 43 – 44 ) ไดกลาววา E – Book เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ซึ่งตองอาศัยเครื่องมือในการอานหนังสือประเภทนี้คือ ฮารดแวร อาจเปนเครื่องคอมพิวเตอรหรือ
อุปกรณอิเล็กทรอนิกสพกพาอื่นๆ พรอมติดตั้งระบบปฏิวัติการหรือซอฟตแวรที่สามารถอานขอความ
ตางๆได สําหรับการดึงขอมูล E – Book ที่อยูบนเว็บไซตที่ใหบริการทางดานนี้มาอาน และนอกจากนี้
ยังไดกลาวถึงพัฒนาการของ E – Book ไวดังตอไปนี้
• ในป 1938 H.G.Wells ไดตีพิมพลงในหนังสือสารานุกรมที่ชื่อวา World Beain ซึ่งเปนแหลงความรูที่
สมบูรณและมีวิสัยทัศนที่กวางไกล โดยไดรวบรวมองคความรูทุกอยางที่เกิดขึ้นจากมันสมองของมนุษย
มาไวที่นี่ จากหนังสือชุดนี้ไดนําแนวความคิดตางๆ มาเรียบเรียงใหมและกอใหเกิดปรากฎการณที่พลิก
โฉมหนาไปสูการเปนหองสมุดดิจิตอลขึ้น
5
• ในป 1945 Vannevar Bush ไดตีพิมพบทความที่ชื่อวา As We May Think ลงในวารสาร The
Atlantic Monthly ซึ่งไดประมวลความคิดเกี่ยวกับ The Memory Extender หรือที่
เรียกวา Memex ซึ่งใชเครื่องมือเรียกวา Electro – mechanical Device ซึ่งสามารถบรรจุองค
ความรูที่เกิดขึ้นในโลกโดยใชเทคนิค Micro Reduction
• ในป 1968 Alan Kay จากบริษัท KayPro frame ซึ่งเปนผูประดิษฐในยุคแรกๆของ Portable PCs ได
ประดิษฐ cardboardจําลองใหแก the Dynabook ซึ่งเปนคอมพิวเตอรที่มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง
มากในการดูขอความ ซึ่งเคยไดเรียกมันวา“ซุปเปอรกระดาษเสมือน” และยังแนะนําวาหนังสือ
อิเล็กทรอนิกสนี้จะถูกเขามาแทนที่กระดาษในอนาคต
• ในป 1971 Michael Hart ไดทําการบันทึกเอกสารเปนครั้งแรกในรูปแบบของเอกสารฉบับเต็ม (Full
text) โดยเก็บลงในฐานขอมูลและสามารถเขาถึงขอมูลเหลานั้นจากเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรมของ
มหาวิทยาลัยอิลินอยส ตอมาไดเกิดโครงการกลูเตนเบิรก ( Project Glutenburg) ขึ้นเพื่อพัฒนาไปสู
การจัดเก็บวรรณกรรมคลาสสิกไวในหองสมุดและสามารถสืบคนไดทางอินเทอรเน็ต
• ในป 1981 ไดจัดทําศัพทสัมพันธขึ้นคือ The Random House Electronic Thesaurus ซึ่งไดกลาย
มาเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสเลมแรกในโบกที่ใชประโยชนในเชิงพาณิชย
• ยืน ภูวรวรรณ และสมชาย นําประเสริฐชัย (2546:51) ไดกลาววา E-Book หมายถึง การสรางหนังสือ
หรือเอกสารในรูปแบบสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชประโยชนกับระบบการเรียนการสอนบนเครือขาย
• ศักดา ศักดิ์ศรีพาณิชย (2549: ออนไลน) ไดใหความหมายของ E-Book ไวคือ E-Book หรือหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส เปนคําเฉพาะที่ใชสําหรับผลิตภัณฑที่เปนสิ่งพิมพดานอิเล็กทรอนิกสและมัลติมีเดีย
โดยเฉพาะอยางยิ่งผลิตภัณฑที่เปนแผนจานขอมูล (Optical disc)เชน ซีดีรอม และซีดีไอ และเปน
ซอฟแวรที่อยูมนรูปของดิสกขนาด 8 ซม.
จากความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ดังกลาวสรุปไดวา E- Book ( Electronic Book) หรือ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส เปนการสรางหนังสือใหอยูในรูปสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส โดยใชคอมพิวเตอรในการนําเสนอ ซึ่งสามารถนําเสนอ
เนื้อหาไดทั้งที่เปนแบบตัวอักษร และภาพ
2. ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส
• เบเกอร และ คิลเลอร ( Baker and Giller. 1991 : 281 – 290 ) ไดแบงประเภทของหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส ตามประเภทของสื่อที่ใชในการนําเสนอและองคประกอบของเครื่องอํานวยความสะดวก
ภายในเลม แบงออกเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุหรือบันทึกขอมูล เนื้อหาสาระเปนหมวดวิชา หรือรายวิชา
โดยเฉพาะเปนหลัก
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระเปนหัวเรื่องหรือเรื่องเฉพาะเรื่องเปนหลัก
หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้จะมีเนื้อหาใกลเคียงกับประเภทแรกแตขอบขายแคบกวาหรือจําเพาะ
เจาะจงมากกวา
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระ และเทคนิคการนําเสนอขั้นสูงที่มุงเนนเพื่อ
สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการฝกอบรม
6
4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระเนื้อเพื่อการทดสอบหรือสอบวัดผลเพื่อให
ผูอานไดศึกษาและตรวจสอบวัดระดับความรู หรือความสามารถของตนในเรื่องในเรื่อง
• เบเกอร (Baker. 1992 : 139 – 149 ) ไดแบงประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ออกเปน 10 ประเภท ดังตอไปนี้
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือ หรือแบบตํารา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้
เนนการจัดเก็บและนําเสนอขอมูลที่เปนตัวหนังสือ และภาพประกอบในรูปแบบหนังสือปกติที่พบเห็นทั่วไป
หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้สามารถกลาวไดวาเปนการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพปกติเปน
สัญญาณดิจิตอล เพิ่มศักยภาพเติมการนําเสนอ การปฏิสัมพันธระหวางผูอานกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสดวย
ศักยภาพของคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐาน เชน การเปดหนาหนังสือ การสืบคน การคัดลอก เปนตน
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือเสียงอาน เปนหนังสือมีเสียงคําอานเมื่อเปดหนังสือจะมีเสียงอาน
หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้เหมาะสําหรับหนังสือสําหรับเด็กเริ่มเรียนหรือสําหรับฝกออกเสียง หรือฝก
พูด เปนตน หนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้เปนการเนนคุณลักษณะดานการนําเสนอเนื้อหาที่เปนทั้งตัวอักษร
และเสียงเปนลักษณะหลัก นิยมใชกับกลุมผูอานที่มีระดับทักษะทางภาษาโดยเฉพาะดานการฟงหรือการ
อานคอนขางต่ํา เหมาะสําหรับการเริ่มตนเรียนภาษาของเด็กๆ หรือที่กําลังฝกภาษาที่สอง หรือฝกภาษาใหม
เปนตน
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพนิ่ง หรืออัมบั้นภาพ เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี
คุณลักษณะหลักเนนจัดเก็บขอมูล และนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพเปนหลัก เสริมดวย
การนําศักยภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เชน การเลือกภาพที่ตองการ การขยายหรือยอขนาด
ของภาพหรือตัวอักษร
4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพเคลื่อนไหว เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนน การนําเสนอ
ขอมูลในรูปภาพวีดีทัศน หรือภาพยนตรสั้นๆ ผนวกกับขอมูลสนเทศที่ในรูปตัวหนังสือ ผูอานสามารถเลือก
ชมศึกษาขอมูลได สวนใหญนิยมนําเสนอขอมูลเหตุการณประวัติศาสตร หรือเหตุการณสําคัญๆ เชน ภาพ
เหตุการณสงครามโลก เปนตน
5. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสม เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนนเสนอขอมูลเนื้อหา
สาระในลักษณะแบบสื่อผสมระหวางสื่อภาพ ที่เปนทั้งภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหวกับสื่อประเภทเสียง ใน
ลักษณะตางๆ ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอรอื่นเชนเดียวกันกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ ที่กลาวมา
6. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสมหลากหลาย เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มีลักษณะ
เชนเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อประสม แตมีความหลากหลายในคุณลักษณะดานความเชื่อมโยง
ระหวางขอมูลภายในเลมที่บันทึกในลักษณะตางๆ เชน ตัวหนังสือ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดนตรี เปน
ตน
7. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อเชื่อมโยง เปนหนังสือทีมีคุณลักษณะสามารถเชื่อมโยงเนื้อหา
สาระภายในเลม ซึ่งผูอานสามารถคลิ๊กเพื่อเชื่อมไปสูเนื้อหาสาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกันภายในเลม การ
เชื่อมโยงเชนนี้มีคุณลักษณะเชนเดียวกันกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยง
กับแหลงเอกสารภายนอกเมื่อเชื่อมตอเชื่อมระบบอินเตอรเน็ตหรืออินทราเน็ต
7
8. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสืออัจฉริยะ เปนหนังสือสื่อประสม แตมีการใชโปรแกรมขั้นสูงที่
สามารถมีปฎิกิริยา หรือปฏิสัมพันธกับผูอานเสมือนกับหนังสือมีสติปญญา ในการไตรตรอง หรือคาดคะเนใน
การโตตอบ หรือมีปฏิกิริยากับผูอาน
9. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อหนังสือทางไกล หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีคุณลักษณะหลักๆ
คลายกับHypermedia Electronic Book แตเนนการเชื่อมโยงกับแหลงขอมูลภายนอกผานระบบเครือขาย
ทั้งที่เปนเครือขายเปด และเครือขายเฉพาะสมาชิกของเครือขาย
10. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือไซเบอรสเปช หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีลักษณะ
เหมือนกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสหลายๆ แบบที่กลาวมาแลวมาผสมกัน สามารถเชื่อมโยงขอมูลทั้งจากแหลง
ภายในและภายนอก สามารถนําเสนอขอมูลในระบบสื่อที่หลากหลายสามารถปฏิสัมพันธกับผูอานได
หลากหลายมิติ
จากประเภท E-Book ดังกลาวสรุปไดวา E- Book หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการจัดทําหนังสือใหอยูใน
รูปแบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งสามารถจะเปดอานไดแบบหนังสือปกติทั่วไปโดยตองใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการอาน
3. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับ E-Book
3.1 งานวิจัยตางประเทศ
• โดเมน (Doman. 2001 : 74) ไดศึกษาเกี่ยวกับ E – Book จะมีอุปกรณที่ใชอานขอความ
อิเล็กทรอนิกสหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งในการพัฒนาเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่
ผลิตขึ้น ซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายเพื่อการใชหนังสือรวมกันโดยผานการสื่อสารทางอินเตอรเน็ต โดยเปน
อุปกรณพื้นฐานของไมโครโปรเซสเซอร โดยในงานวิจัยไดกลาวถึงประวัติของขอความอิเล็กทรอนิกส
แบบสั้นๆ และคําแนะนําเกี่ยวกับตลาดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งความสะดวก และชัดเจนในการใช
เปนปญหาที่พบในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส
• สทริพฟส (Striphas. 2002 : 348) ไดสํารวจความเชื่อมโยงของพัฒนาการของหนังสือ เกี่ยวกับ
โครงสรางอุปกรณทางเทคนิคของหนังสือ จากหนังสือในรูปเลมมาสูหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยหนังสือมี
การคมนาคมทางโทรศัพทผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งจากผลการวิจัย ทําใหทราบถึงการเชื่อมโยงของ
พัฒนาการของหนังสือจากอดีตที่ผานมาจนถึงปจจุบัน
• กริกก (Grigg. 2005 : 90) ไดศึกษาผลของการใชคอมพิวเตอรชวยสอน ( CAL) ในทางทันตกรรม ใน
การจัดฟนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งไดทดลองกับนักศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 48 คน โดย
ไดทําการทดลอง 2 รูปแบบ คือ การใช E – Book และกรณีการศึกษาจากระเบียนจริง ผลการวิจัย
พบวา นักศึกษาสวนมากไดรับความรูและมีการโตตอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งจะใชเปน
แนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบคอมพิวเตอรชวยสอนมาใชสําหรับทางทันตกรรม
• เฮจ ( Hage. 2006 : 97) ไดศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยี E- Book ซึ่งจะเปนการแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารที่อยูในรูปของเอกสารดิจิตอล ในการอานหนังสืออิเล็กทรอนิกสนั้นจะตองใชอุปกรณ
อิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอร ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกสมีการเติบโตอยางชาๆและผูวิจัยไดศึกษา
ความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพของระดับการใชงานกับอายุมีความแตกตางกันทางสถิติ และ
ประสิทธิภาพของระดับการใชงานกับเพศไมมีความแตกตางทางสถิติ
8
3.2 งานวิจัยในประเทศ
• สิทธิพร บุญญาวัตร ( 2540 : 23 – 37 ) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับการนําเอาหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใช
ในการฝกอบรม เรื่อง การใชโปรแกรมออโตแคด (AutoCAD R 13c4 ) ซึ่งไดตั้งประเด็นปญหา
ไว 2 ประการ คือ ขาดสื่อในการฝกอบรมที่เหมาะสม และเอกสาร ตําราสวนใหญจะแปลมาจาก
ตางประเทศไมเหมาะกับผูเรียนระดับเริ่มตน ซึ่งผูเรียนควรจะศึกษาจากหนังสือที่ผานการวิเคราะห
เนื้อหามาแลวจึงไดนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใช โดยใหขอดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส คือ ลดการ
สิ้นเปลืองวัสดุและพลังงานในการจัดทําสื่อ ชวยใหการใชสื่อมีความสะดวกยิ่งขึ้น และชวยใหการ
อบรมนอกสถานที่มีความคลองตัวขึ้น เนื่องจากสามารถจัดเก็บในแผนซีดีได และจะชวยใหผูเรียนมี
การพัฒนาการเรียนรู เขาใจในเนื้อหาวิชานั้นๆ มากขึ้น และควรจะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใชใน
การเรียนการสอน
• เพ็ญนภา พัทรชนม ( 2544 : บทคัดยอ ) ไดทําการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง กราฟก
เบื้องตน โดยทดลองกับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี
จํานวน 30 คน ซึ่งผลการวิจัยพบวา คะแนนของการทดลองหลังเรียนสูงกวาคะแนนจากการทดลอง
กอนเรียน
• พิเชษฐ เพียรเจริญ (2546 :67) ไดทําการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน โดยได
ทดลองกับนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี
จํานวน 55 คน ผลการวิจัยพบวา หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน มี
ประสิทธิภาพ 82.0/82.5 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา
หลังจากที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01
จากการวิจัยที่เกี่ยวของกับ E-Book สรุปไดวา การพัฒนารูปแบบของหนังสือใหมีความทันสมัย โดยการนําไป
ประยุกตใชกับคอมพิวเตอร ซึ่งนอกจากจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของหนังสือใหมีกาสื่อสารไดรวดเร็วยิ่งขึ้นแลว เมื่อ
นํามาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยังสามารถทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของผูเรียนสูงขึ้นดวย
4. งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู
4.1ทฤษฎีการเรียนรู
• Vollam (1972) ไดศึกษาผลของภาพตางสีที่มีตอการเรียนรูเนื้อหาจากภาพของนักเรียนระดับ 6
จํานวน 90 คน โดยใชภาพขาว – ดํา ภาพสีธรรมชาติ และภาพประดิษฐ ปรากฏวา ผลการเรียนรู
เนื้อหาจากภาพสีใหผลสูงสุด รองลงมาเปนภาพขาว–ดํา ซึ่งใหผลสูงกวาภาพประดิษฐ
• Sloan (1972) ไดศึกษาความชอบแบบภาพของนักเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาระดับ 2 และ
ระดับ 5 แบงกลุมตัวอยางเปนนักเรียนในเมืองและนอกเมือง โดยใชภาพ 4 แบบคือ ภาพถาย
ภาพวาดเหมือนจริง ภาพประดิษฐ และภาพการตูน โดยใหกลุมตัวอยางเลือกภาพที่ชอบมากที่สุด
ผลการทดลองพบวา นักเรียนทั้งในเมืองและนอกเมืองชอบภาพถายมากที่สุด รองลงมาคือ
ภาพวาดเหมือนจริง ภาพประดิษฐ และภาพการตูน
9
• Kieiyer (1975) ไดศึกษาผลของระดับสติปญญาที่มีประสิทธิผลของอุปกรณการสอนประเภท
ภาพประกอบ (illustration) โดยใชภาพขาว–ดําและภาพสีประกอบการสอนเรื่องหัวใจดังนี้คือ
ภาพลายเสนสีดําบนพื้นขาว ภาพลายเสนสีน้ําเงินบนพื้นชมพู ภาพวาดแสดงรายละเอียดแรเงา
ขาว–ดํา ภาพวาดแสดงรายละเอียดสีตามความเปนจริง หุนรูปหัวใจขาว–ดํา หุนรูปหัวใจสี
ภาพถายตามความเปนจริงขาว–ดํา ภาพถายตามความเปนจริงสีเหมือนจริง ผลการทําวิจัยปรากฏ
วา ภาพสีทุกประเภทใหประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียนสูงสุด
4.2 งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรูอิเล็กทรอนิกส
• สุจิตรา กุลพันธ (2544) ไดคนควาแบบอิสระเรื่องการสรางบทเรียนไฮเปอรบุคสําหรับกระบวน
วิชา คอมพิวเตอรกับการศึกษาผลการศึกษาปรากฏวาเรียนไฮเปอรบุคมีประสิทธิภาพตาม ที่กําหนด
ไวและสามารถนําไปใชในการประกอบการเรียนการสอนสําหรับกระบวนวิชา คอมพิวเตอรกับ
การศึกษาไดผูเรียนสามารถเรียนจากบทเรียนไฮเปอรบุคดวยตน เองที่ไหนเมื่อไรก็ได อีกทั้งยัง
สามารถพิมพเนื้อหาไดเปนอยางดี
• นพดล กําทอน (2545) ไดคนควาแบบอิสระเรื่องการพัฒนาระบบการเรียนแบบระบบ
อิเล็กทรอนิกสวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตสถาบันราชภัฎเชียงราย ผลการศึกษาและวิจัยพบวา
การพัฒนาระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสสารสนเทศเพื่อชีวิตสถาบันราชภัฎเชียงราย สามารถ
ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตทําให นักศึกษาสะดวกใน
การศึกษาทบทวนเนื้อหาบทเรียนไดตลอดเวลาและผูเรียนมีความ พึงพอใจในการใชงานระบบ
• Bond and Nigel (1994) ไดรวมมือกับ ดร.ชาลส วิจัยหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่จะชวยใหผูเรียน
เกิดการเรียนรูไดงายขึ้น และสามารถใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนได สาเหตุที่พวกเขาสนใจ
ทําเรื่องที่เกิดจากเหตุผล 2 ประการ คือ มีความเชื่อวาวิธีการที่ใชในการศึกษาอยูในปจจุบันนี้ไมใช
วิธีที่ดีที่สุด และเชื่อวาคอมพิวเตอรเปนสื่อที่มีเสนห สมควรที่จะนํามาใชเพื่อการเรียนรู ดวยเหตุนี้
จึงไดสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสขึ้นมาโดยเริ่มจากวิชาวาดวยพฤติกรรมสัตว 10 บท ขั้นตอนแรกใน
การทําคือการเปลี่ยนสคริปตและอัดเสียง สิ่งสําคัญสําหรับการเขียนสคริปต คือ ตองมีการชวย
ผูเรียนในการสรุปบทเรียนและเตรียมตัวชี้ (Cue) ใหกับผูเรียนสิ่งสําคัญที่ขาดไมไดคือ ผูเรียนตอง
สามารถทําเครื่องหมายลงในหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่สรางขึ้นไดดวย ทรัพยากรที่ใชประกอบดวย
ภาพถาย รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอและฟลม ซึ่งปจจุบันอยูในรูปวีดีโอคลิป (Video
clips) นอกจากวิชาวาดวยพฤติกรรมสัตวแลว ยังไดจัดทําหนังสืออิเล็กทรอนิกสสําหรับวิชา
คณิตศาสตรโดยใชโปรแกรมควิกไทม (Quick Time) ในการสรางภาพเคลื่อนไหวไดงายๆเชน จาก
สมการสรางเปนกราฟ เพื่อใหกราฟที่ไดมีความเปนพลวัตไมหยุดนิ่ง ซึ่งจะทําใหผูอานจําไดมากขึ้น
จากรูปภาพและวีดีโอ
10
• Kelly(1996) ศึกษาเรื่องกรณีตัวอยาง การพิมพวารสารอิเล็กทรอนิกสบนเวิลดไวดเว็บ ซึ่งไดกลาว
วาเวิลดไวดเว็บเปนเครื่องมือที่ใชสื่อสารทั่วโลก ไฮเปอรมีเดียมีสมรรถภาพและความสามารถในการ
ถายทอดขอมูลไดไมจํากัด ดังนั้นจึงมีการใชเวิลดไวดเว็บในการผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกสออนไลน
ขึ้นมามากขึ้น ผลการวิจัยพบวานโยบายของวารสารไมสามารถที่จะนํามาประเมินไดจนกวาวารสาร
จะมีการออกเผยแพรอยางเปนทางการแลว และมีความเปนไปไดในการวางกลยุทธทางการตลาด
เพื่อที่จะผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกสบนอินเตอรเน็ตเพื่อเผยแพรตอไป
จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับการเรียนรู สรุปไดวา สื่อมัลติมีเดียที่มีทั้งสีสัน รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว
ตางๆ ซึ่งเปนสื่อที่มีความนาสนใจจะทําใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของผูเรียนไดดีกวาสื่อที่เปนรูปภาพขาวดํา ไมมี
เสียง หรือไมมีภาพเคลื่อนไหวตางๆ
11
บทที่ 3
วิธีดําเนินการทดลอง
วัสดุอุปกรณ
คอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมดังนี้
- Adobe illustrator ใชเพื่อ สรางลายเสนที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงานกราฟก
- Adobe Photoshop ใชเพื่อ สรางและแกไขรูปภาพ
- Adobe in design ใชเพื่อ ทํางานดานการจัดหนากระดาษ
ขั้นตอนการดําเนินงาน
1. ตั้งปญหาที่ศึกษา
2. รวบรวมขอมูลที่จะศึกษา รวมถึงรวบรวมและทดลองใชโปรแกรมตางๆ
3. คัดเลือกขอมูลที่นาสนใจและสําคัญ และเลือกโปรแกรมหรือซอฟทแวรที่จะใช
4. ศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมที่ตองการใชงาน
5. เขียนราง story board เพื่อแสดงถึงสวนประกอบภายในของหนังสืออิเล็กทรอนิกส
6. สรางกราฟกจากโปรแกรม Adobe Photoshop และโปรแกรม Adobe Illustrator
7. สรางภาพ Animation จากโปรแกรม Adobe flash
8. นําภาพกราฟกที่ไดไปประกอบรวมกันใหเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยใชโปรแกรม Adobe indesign
9. ตรวจสอบความผิดพลาดและทดลองใชงานชิ้นงานที่สรางขึ้น
10. นําผลงานที่ไดมาเสนออาจารยที่ปรึกษา เพื่อระบุขอดีขอเสียที่พบ และนําขอเสียไปปรับปรุงแกไข
11. นําไฟลผลงานไปอัพโหลดเว็บสาธารณะ เพื่อสะดวกในการศึกษา อีกทางเลือกหนึ่งจะนําหนังสือ
อิเล็กทรอนิกสนี้ไปโพส ลงในแอพพลิเคชัน i love library เพื่อเปดเปนไฟลสาธารณะและใหบุคคลที่ใช smart
phone ดาวโหลดไปทดลองใช
12. ออกแบบใบประเมินความพึงพอใจ
13. ใหกลุมตัวอยางทดลองใชงานจากสื่อที่สรางขึ้น และทําแบบสอบถาม
14. รวบรวมเลมโครงงานและนําเสนออาจารยที่ปรึกษา
12
บทที่ 4
ผลการดําเนินงาน
ผลการประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ
กลุมตัวอยางคือนักเรียนในโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน 50 คน ไดผลการดําเนินงานดังนี้
หัวขอ ดีมาก
(คน)
ดี
(คน)
พอใช
(คน)
ควรปรับปรุง
1.ความรูที่ไดรับหลังการใช
electronic book
1.1 ความเหมาะสมของเนื้อหา 34 15 1 -
1.2 ความครอบคลุมของเนื้อหา 33 17 - -
1.3 การแบงเนื้อหาเปนสวน เนน
ประเด็นสําคัญ
42 4 4
1.4 นําความรูที่ไดรับไปประยุกตใช
ไดจริง
37 13 - -
2.สื่อประกอบการนําเสนอ
2.1 สื่อที่เลือกใชมีความนาสนใจ
และชวยใหเขาใจเรื่องไดดีขึ้น
36 14 - -
2.2 รูปแบบ สี ขนาดและพิสูจน
อักษร
28 21 1 -
2.3 ความนาสนใจของสื่อ 35 13 2 -
3. ความพึงพอใจ
3.1 สวนของ Animation 22 25 3 -
3.2 สวนของเนื้อหา 31 14 5 -
4.การเขาถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส
4.1ความสะดวกตอการเขาถึง 22 28 -
-
4.2 การประชาสัมพันธแพรหลาย 19 21 10 -
13
แผนภูมิประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอนASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ
กลุมตัวอยางคือนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50คน
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
ดีมาก
ดี
พอใช้
14
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ
สรุปผล
จากการสํารวจความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ
กลุมตัวอยางคือนักเรียนในโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน 50 คนมี 11 รายการ คือ
1. ความเหมาะสมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 68
2. ความครอบคลุมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 66
3. การแบงเนื้อหาเปนสวน เนนประเด็นสําคัญ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 84
4. นําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชไดจริง มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ74
5. สื่อที่เลือกใชมีความนาสนใจและชวยใหเขาใจเรื่องไดดีขึ้น มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 72
6. รูปแบบ สี ขนาดและพิสูจนอักษร มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 56
7. ความนาสนใจของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 70
8. ความพึงพอใจในสวนของ Animation มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 50
9. คามพึงพอใจในสวนของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 62
10. ความสะดวกตอการเขาถึง มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 56
11. การประชาสัมพันธแพรหลาย มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 42
อภิปรายผล
กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในสื่อสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smartphone อยู
ในระดับดีมากและดี เนื่องจากกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเนื้อหาและมีความสนใจในสื่อ ASEAN Languages Electronic
book แตในบางสวนซึ่งไดแกความพึงพอใจในสวนของ Animation การประชาสัมพันธ ซึ่งอาจทําใหกลุมตัวอยางรูสึกวา ทําให
นักเรียนมีความรูสึกสนใจลดลงหลังจากการใชสื่อ
ขอเสนอแนะ
1.ปรับปรุงการทํา Animation ใหมีความนาสนใจมากขึ้น
2.ทําการประชาสัมพันธใหแพรหลายมากขึ้น
15
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก.
วัสดุอุปกรณและโปรแกรม
คอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมดังนี้
1. Adobe illustrator
2. Adobe Photoshop
3. Adobe indesign
4. Adobe flash
16
ภาคผนวก ข.
ขั้นตอนการทํา
ตอนที่ 1 ทําภาพกราฟฟกจากโปรแกรม Adobe illustrator
17
18
19
20
21
22
ตอนที่ 2 ตัดตอภาพกราฟฟกจากโปรแกรม Adobe Photoshop
23
24
25
26
27
ตอนที่ 3 รวบรวมภาพกราฟฟกทําเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยใชโปรแกรม Adobe indesign
28
29
30
ตอนที่ 4 ทําอนิเมชั่นดวยโปรแกรม Adobe flash
31
32
33
34
35
36
37
บรรณานุกรม
• กนิฐกนาฏ. (2551). ทฤษฎีความพึงพอใจ (ออนไลน). สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/posts/492000
[23 พฤศจิกายน 2555]
• กรกช อําไพรพิศ. (2553). คอมพิวเตอรและเครือขาย (ออนไลน). สืบคนจาก : http://www.zoneza.com/ [26
พฤศจิกายน 2555 ]
• ธนะดี มงคชัย. (2551). ตัวอยางงานวิจัยหนังสืออิเล็กทรอนิกส. สืบคนจาก :
http://saiaom.blogspot.com/2012/02/3.html [9 ธันวาคม 2555]
• ธัญญนิชา.( 2554). ความหมายของศัพทเฉพาะ ประชาคมอาเซียน. สืบคนจาก : http://xn--
42cle0dg2bid7g0axd4b6k.net/ [25 พฤศจิกายน 2555]
• พัชรา แสงศรี. (2547). วิธีการสราง E-book จาก indesign. สืบคนจาก : http://berserk-
rabbit.exteen.com/20110603/e-book-indesign [17 พฤศจิกายน 2555 ]
• เอกนรินทร อิ่มรส. (2555). สอนการทําE-book. สืบคนจาก :
http://www.youtube.com/watch?v=imAU13RjVwo [15 ธันวาคม 2555]
• อัญรินทร. (2554). ความหมายของศัพทเฉพาะ ภาษา. สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/posts/322514
[22 พฤศจิกายน 2555 ]
• nuch. (2554). สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย. สืบคนจาก : http://hilight.kapook.com/view/67028
[25พฤศจิกายน 2555]
• พรนับพัน. (2549). เกี่ยวกับอาเซียน. สืบคนจาก: http://www.mfa.go.th/asean/ [27 พฤศจิกายน 2555]
• VirusT. (2554). การสรางE-bookอยางงาย. สืบคนจาก : http://www.getdd.net/techno/67-
ebookwizard.html [21 ธันวาคม 2555]
• VirusT. (2554). ความแตกตางของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook) กับหนังสือทั่วไป. สืบคนจาก :
http://www.getdd.net/techno/63-ebookbook.html [22 ธันวาคม 2555]
• VirusT. (2554). โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook Construction). สืบคนจาก :
http://www.getdd.net/techno/64-ebookconstruction.html [23 ธันวาคม 2555]
• สกรณ. (2553). ความรูเบื้องตนโปรแกรม Adobe Indesign. สืบคนจาก :
http://oit.cru.in.th/downloadmanual/InDesign1.pdf [24ธันวาคม 2555]
• มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (2554). แนะนําโปรแกรม Adobe Illustrator CS. สืบคนจาก :
http://www.pccl.ac.th/files/1012221616402461_11012512123509.pdf [24ธันวาคม 2555]
38
• Lindsey Frerking. (2554). แนะนําโปรแกรม Adobe Photoshop. สืบคนจาก :
http://dese.mo.gov/divcareered/Business/MBEA/MBEA_SumConf07_AdobePhotoshop_Frerking.pdf
[24 ธันวาคม 2555]

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
paveenada
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
Kantapon Knight
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
Orawan Meekhun
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
Kantapon Knight
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
Orawan Meekhun
 

What's hot (6)

โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
 
123pj
123pj123pj
123pj
 
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคตเทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
เทคโนโลยีที่กำลังมาในอนาคต
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
 

Similar to 9 9-2-ebook-อาเซียน

2557 project happy-easterday
2557 project happy-easterday2557 project happy-easterday
2557 project happy-easterday
Parn Patamaporn
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
กฤตพร สุดสงวน
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มMoomy Momay
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
Pimpaka Khampin
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"S'kae Nfc
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
ketmanee Nakchamnan
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...chaiwat vichianchai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
chaimate
 

Similar to 9 9-2-ebook-อาเซียน (20)

2557 project happy-easterday
2557 project happy-easterday2557 project happy-easterday
2557 project happy-easterday
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
งานคอม2
งานคอม2งานคอม2
งานคอม2
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
งานคอม1.
งานคอม1.งานคอม1.
งานคอม1.
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง แคคตัส ม.5/1
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
 
ส่ง
ส่งส่ง
ส่ง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
 

More from patmalya

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
patmalya
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
patmalya
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
patmalya
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
patmalya
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
patmalya
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
patmalya
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
patmalya
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
patmalya
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
patmalya
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
patmalya
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
patmalya
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
patmalya
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
patmalya
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
patmalya
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
patmalya
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
patmalya
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
patmalya
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
patmalya
 
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
patmalya
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ
patmalya
 

More from patmalya (20)

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
 
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
8 การบันทึกรายงานความก้าวหน้า
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

9 9-2-ebook-อาเซียน

  • 1. โครงงาน คอมพิวเตอร เรื่อง ASEAN Languages Electronic book for smart phone โดย 1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขที่ 17 2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขที่ 22 3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขที่ 23 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท. โรงเรียน สตรีนนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556
  • 2. โครงงาน คอมพิวเตอร เรื่อง ASEAN Languages Electronic book for smart phone โดย 1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขที่ 17 2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขที่ 22 3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขที่ 23 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท. โรงเรียน สตรีนนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556
  • 3. ก ชื่อโครงงาน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ชื่อผูทําโครงงาน 1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล โรงเรียนสตรีนนทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โทรศัพท 02-5253171 หรือ 02-5251506 ชื่ออาจารยที่ปรึกษา 1.อาจารยประพจน หมนพันธ 2.อาจารยพัชรี ศรีสุวรรณ ชื่ออาจารยที่ปรึกษาพิเศษ อาจารยกนกวรรณ ชนะถาวร ผูเชี่ยวชาญพิเศษ คุณวันชนะ พลอยสีขํา ระยะเวลาในการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555– ภาเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 บทคัดยอ ในปพุทธศักราช 2558 สมาคมอาเซียนจะกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยถือเปนหนึ่งในประเทศ สมาชิกอาเซียน ดังนั้นประเทศไทยเราจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองเตรียมตัวใหพรอมและปรับตัวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อสงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางประเทศในภูมิภาค ธํารงไวเพื่อสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงทางการเมือง สรางสรรคความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในอนาคตทุกประเทศจะเปดเสรีมีการ เขาออกประเทศอยางสะดวกสบาย แตคนไทยเรานั้นยังไมมีความพรอม การกระตือรือรน และยังมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ อาเซียนไมมากพอ ถึงแมจะมีสื่อที่ใหความรูเกี่ยวกับสมาคมอาเซียน แตสื่อเหลานั้นยังขาดความนาสนใจ ซึ่งสื่อเหลานี้ โดยสวน ใหญแลวมักจะเปนสื่อที่ใหผูสนใจศึกษาดวยตนเอง คณะผูจัดทําจึงเกิดแนวคิดวาการใชสื่อมัลติมีเดีย จะทําใหผูศึกษาสามารถ เรียนรูเนื้อหาขอมูลของอาเซียนไดดี เพราะสื่อมัลติมีเดียเปนสื่อประสมที่นําสื่อหลายๆชนิดมาใชรวมกัน ทําใหการศึกษามี ความนาสนใจมากขึ้น นอกจากนี้ สื่อมัลติมีเดียจะชวยใหเกิดความหลากหลาย ไมนาเบื่อ และเพิ่มความสนุกสนานในการ เรียนรูมากขึ้นดวย โดยการใชโปรแกรม Adobe Indesign เปนโปรแกรมหลักในการสรางสรรคสื่อ แตตัวโปรแกรมนั้นไมสามารถใช โปรแกรมเดียวไดตองมีการเตรียมรูปภาพมาจากโปรแกรม Adobe Photoshop และเตรียมคลิปอารต หรือ กราฟฟกตางๆ มาจากโปรแกรม Adobe illustrator สวนขอความสามารถเตรียมไดจาก โปรแกรมประเภท Word Prospering แลวจึงนํามา ประกอบรวมกันเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส นําไฟลผลงานไปอัพโหลดใน www.issuu.com เพื่อสะดวกในการศึกษา อีก ทางเลือกหนึ่งจะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสนี้ไปโพส ลงในแอพพลิเคชัน i love library เพื่อเปดเปนไฟลสาธารณะและใหบุคคล ที่ใช smart phone ดาวโหลดไปทดลองใชและประเมินความพึงพอใจของกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50 คน จากแบบสอบถามไดในระดับดีมากและดี
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงาน ASEAN Languages Electronic book for smartphone นี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดระยะเวลา ดังกลาว คณะผูจัดทําตองขอขอบพระคุณผูอํานวยการทรงวิทย นิลเทียน ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี ที่ใหความ อนุเคราะห สนับสนุนในดานตางๆตลอดโครงงาน ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษาทั้ง 2 ทาน คือคุณครูประพจน หมนพันธุ และ คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ สําหรับการใหคําแนะนํา ติชม และแกไขขอบกพรองตางๆตลอดจนใหการสนับสนุนเรื่อยมา ขอขอบพระคุณ คุณครูแสงระวี ศรีไพรบูลย คุณครูพัทจารี ซื่อศรีพิทักษ และคุณครูบุณฑริก ศรีบุญเรือง คุณครูที่ปรึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ที่คอยตรวจทาน ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําโครงงานตลอดมา ขอบคุณบริษัทเอไอ เอสที่สรางเว็บไซตสาธารณะเปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับภาษาอาเซียน สุดทายนี้ คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณครอบครัว และทุกทานที่ใหกําลังใจและการสนับสนุนการทําโครงงานครั้งนี้ รวมถึงเจาของบทความ ขอมูลทั้งหลายที่ไมสามารถเอยนามไดทั้งหมด ที่ทําใหโครงงานนี้เสร็จอยางสมบูรณ ตองขอขอบคุณ ทุกทานที่ใหการสนับสนุนตลอดมา หากตกบุคคลทานใดไปที่ไมไดเอยถึง ตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย นางสาว ชลธิชา บุญกูล นางสาว พัชรพร อุนจิตติ นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล
  • 5. ค สารบัญ หนา บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญรูปภาพ ง บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1 วัตถุประสงคของการศึกษา 1 ขอบเขตของการศึกษา 1 นิยามศัพทเฉพาะ 2 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3 บทที่ 2 เอกสารอางอิง ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4 ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส 7 งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู 8 บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน วัสดุอุปกรณ 11 ขั้นตอนการดําเนินงาน 11 บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ผลการประเมินผลงาน 12 แผนภูมิประเมินความพึงพอใจ 13
  • 6. ง บทที่ 5 อภิปรายผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ อภิปรายผลการศึกษา 14 สรุปผลการศึกษา 14 ขอเสนอแนะ 14 ภาคผนวก 15 บรรณานุกรม 37
  • 8. 1 บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ ยุคสมัยนี้เปนยุคโลกาภิวัฒน มีเทคโนโลยีเกิดขึ้นใหมมากมายเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย เชน การ ผลิตคอมพิวเตอร การผลิตเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อใชในการติดตอสื่อสารและอํานวยความสะดวกตอการทํางานมากมาย แต ประโยชนไมไดมีเพียงแคนั้น ยังมีการประยุกตในวงการอุตสาหกรรมและธุรกิจอยางแพรหลายณ ขณะนี้มีทั้งความ สะดวกสบาย มีทั้งเทคโนโลยีที่เขามามีผลตอการดํารงชีวิต เชน การทําอาหาร การผลิตเสื้อผา หรือแมกระทั่งผลิตสื่อการเรียน การสอน เนื่องจากผูคนสวนใหญตองการความสะดวกและรวดเร็ว ถาคนตองการอานหนังสือก็คงจะไมไปหองสมุดเพื่อไปหยิบ ยืมหนังสือมาเนื่องจากคงเสียเวลามาก ในปพ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะมีสวนรวมในการเปดประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนความรวมมือของ 10 ประเทศ เพื่อ สงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางประเทศในภูมิภาค ธํารงไวเพื่อสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงทางการเมือง สรางสรรคความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในอนาคตทุกประเทศจะเปดเสรีมีการ เขาออกประเทศอยางสะดวกสบาย และสิ่งสําคัญที่สุดคือ ภาษา เพราะไมวาคุณจะทําอะไรตัวกลางของการสื่อสารก็คือ ภาษา กลุมของขาพเจาจึงตองการเผยแพรความรูที่เปนคําศัพท แบงออกเปนหมวดหมูของสิ่งที่จําเปนในชีวิตประจําวัน เชน หมวด การทักทาย อาหาร การนับเลข และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งจะนําเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรประยุกตรูปแบบการนําเสนอเปน แบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส เพื่อความสะดวกสบายในการศึกษาและเพิ่มความนาสนใจของโครงงานนี้ดวย วัตถุประสงคของโครงงาน โครงงานของเรามีจุดประสงคเพื่อสงเสริมการใชภาษาของ 10 ประเทศอาเซียน ในชีวิตประจําวันโดยใชเทคโนโลยี เขามาเปนสวนหนึ่งในการนําเสนอโดยจะแบงแยกเปนขอยอยไดดังนี้ 1. เพื่อประยุกตใชเทคโนโลยีใหมๆมาทําเปนสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบที่นาสนใจกวาหนังสือ 2. เพื่อศึกษาการทําสื่อสรางสรรคของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 3. เพื่อประเมินคามพึงพอใจของสื่อที่จัดทําขึ้นกับนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50คน ขอบเขตของโครงงาน 1. ใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยสรางจากโปรแกรม adobe indesign 2. เนื้อหาครอบคลุม คําศัพทในหมวด ทักทาย อาหาร การนับเลข ช็อปปง สิ่งอํานวยความสะดวก สกุลเงิน การ เดินทาง และสุขภาพ 3. กลุมตัวอยาง คือผูใชสมารทโฟนทั่วไป (ไมจํากัดอายุ)
  • 9. 2 นิยามศัพทเฉพาะ หนังสืออิเล็กทรอนิกส หมายถึง หนังสือที่จัดทําดวยระบบคอมพิวเตอร โดยไมตองพิมพเนื้อหาสาระของหนังสือบน กระดาษหรือจัดพิมพเปนรูปเลม หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเปดอานไดจากเครื่องคอมพิวเตอร เหมือนกับเปดอานจาก หนังสือโดยตรง ทั้งนี้สามารถนําเสนอขอมูลไดทั้งตัวอักษรหรือตัวเลข เรียกวา ไฮเปอรเท็กซ (hypertext) และถาหากขอมูล นั้นรวมถึงภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวจะเรียกวา ไฮเปอรมีเดีย (hypermedia) โดยการประสานเชื่อมโยงสัมพันธของ เนื้อหาที่อยูในแฟมเดียวกัน หรืออยูคนละแฟม เขาดวยกัน ทําใหผูใชสามารถคนหาขอมูลที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพซึ่งผูเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนไดตามความตองการไมจํากัดเวลาและสถานที่ ( http://www.gotoknow.org/posts/446337 , 2 ธันวาคม 2555) โปรแกรมIllustrator หมายถึง โปรแกรมสําหรับสรางภาพลายเสนที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงาน กราฟกแบบ 2 มิติตางๆ สามารถแบงไดเปน 2 แบบคือ 1.ภาพแบบพิกเซล (pixel) คือ ภาพที่เกิดจากจุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเปนภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะ ประกอบไปดวยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย และเเตละภาพที่สรางขึ้นจะมีความหนาเเนนของจุดภาพ 2.ภาพกราฟกเวกเตอร (vector graphics) คือ ภาพที่เกิดจากการกําหนดพิกัดและการคํานวณคาบน ระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอรในทางคณิตศาสตร ในการกอใหเกิดเปน เสน หรือรูปภาพ ขอดีคือ ทําใหสามารถยอขยายได โดยคุณภาพไมเปลี่ยนแปลง ขอเสียคือภาพไมเหมือนภาพจริงเปนไดเพียงภาพวาด หรือใกลเคียง ภาพถายเทานั้น ( http://www.hellomyweb.com/index.php/main/content/41 , 2 ธันวาคม 2555) ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations : ASEAN) เปนองคกรระหวางประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีจุดเริ่มตนโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟลิปปนส ไดรวมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เพื่อการรวมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แตดําเนินการไปไดเพียง 2 ป ก็ตองหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหวางประเทศ อินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟนฟูสัมพันธทางการทูตระหวางสองประเทศ จึงไดมีการแสวงหาหนทางความ รวมมือกันอีกครั้ง มี10ประเทศไดแก ไทย สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส บรูไน เวียดนาม ลาว พมาและกัมพูชา ( http://th.wikipedia.org/wiki/สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต , 2 ธันวาคม 2555) smartphone คือ โทรศัพทที่รองรับระบบปฏิบัติการ ตางๆได เสมือนยกเอาคุณสมบัติทางคอมพิวเตอรมาไวใน โทรศัพท คุณสมบัติเดนๆ คือ การเชื่อมตออุปกรณไรสายและ สามารถรองรับไฟล Multimedia ไดหลากหลายรูปแบบ ( http://www.mindphp.com/คูมือ/73-คืออะไร/2389-smartphone-คืออะไร.html , 2 ธันวาคม 2555)
  • 10. 3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.ผูจัดทําสามารถนําโปรแกรมตางๆมาใชในเบื้องลึกเพื่อสรางผลงานไดดีกวาเดิม 2. ผูจัดทํามีความรูความเขาใจขั้นตอนการทําโครงงานมากขึ้น 3. สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานคอมพิวเตอร 4. เปนการนําคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตมาใชใหเกิดประโยชน 5. เปนแนวทางสําหรับบุคคลที่สนใจในการศึกษาคนควาเพิ่มเติม 6.บุคคลที่ไดศึกษาผลงานนี้มีความรูเกี่ยวกับภาษาทางอาเซียนมากขึ้น
  • 11. 4 บทที่ 2 เอกสารอางอิง เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เอกสารเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book ) 1. ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book ) มีนักวิชาการใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book ) ไวดังตอไปนี้ • เบเกอร ( Baker. 1992 : 139 ) ไดกลาววา E – Book เปนการนําเอาสวนที่เปนขอเดนที่มีอยูใน หนังสือแบบเดิม มาผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร ซึ่งมีความสามารถในการนําเสนอเนื้อหา หรือ องคความรูในรูปแบบสื่อประสม เนื้อหาหลายมิติสามารถเชื่อมโยงทั้งแหลงขอมูลจากภายในและจาก เครือขาย หรือแบบเชื่อมโยง และการปฏิสัมพันธรูปแบบอื่นๆ • กิดานันท มลิทอง ( 2539 : 12 ) ไดกลาววา E – Book หมายถึง สิ่งพิมพที่ไดรับการแปลงลงบนสื่อ บันทึกดวยระบบดิจิตอล เชน ซีดี – รอม หรือหนังสือที่พิมพลงบนสื่อบันทึกดวยระบบดิจิตอลแทนที่ จะพิมพลงบนกระดาษเหมือนสิ่งพิมพธรรมดา • ปญญา เปรมปรีดิ์ ( 2544 : 45 ) ไดกลาววา E – Book คือเอกสารที่พิมพเขาเครื่องคอมพิวเตอรเอาไว มีลักษณะทั่วไปเปนแฟมขอมูลอยางหนึ่งที่จะจัดรูปใหเปนเอกสาร HTML หรือ คือ เปนเวบเพจที่ เรียกดูโดยเบราเซอรของระบบอินเตอรเน็ต • จิระพันธ เดมะ ( 2545 : 1 ) ไดกลาววา หนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือ E – Book เปนจะเปนพัสดุ หองสมุดยุคใหม ที่เปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมซึ่งเปนหนังสือที่ผลิตจากการเขียนหรือพิมพตัวอักษรหรือ ภาพกราฟกลงในแผนกระดาษ หรือวัสดุชนิดอื่นๆ เพื่อบันทึกเนื้อหาสาระในรูปตัวหนังสือ รูปภาพหรือ สัญลักษณตางๆ เชนที่ใชกันปกติทั่วไปจากอดีตถึงปจจุบันเปลี่ยนมาบันทึกและนําเสนอ เนื้อหาสาระ ทั้งหมดเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกสในรูปสัญญาณดิจิตอลลงในสื่ออิเล็กทรอนิกสประเภทตงๆ เชน แผนซีดีรอม ปาลมบุก • ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ ( 2545 : 43 – 44 ) ไดกลาววา E – Book เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งตองอาศัยเครื่องมือในการอานหนังสือประเภทนี้คือ ฮารดแวร อาจเปนเครื่องคอมพิวเตอรหรือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสพกพาอื่นๆ พรอมติดตั้งระบบปฏิวัติการหรือซอฟตแวรที่สามารถอานขอความ ตางๆได สําหรับการดึงขอมูล E – Book ที่อยูบนเว็บไซตที่ใหบริการทางดานนี้มาอาน และนอกจากนี้ ยังไดกลาวถึงพัฒนาการของ E – Book ไวดังตอไปนี้ • ในป 1938 H.G.Wells ไดตีพิมพลงในหนังสือสารานุกรมที่ชื่อวา World Beain ซึ่งเปนแหลงความรูที่ สมบูรณและมีวิสัยทัศนที่กวางไกล โดยไดรวบรวมองคความรูทุกอยางที่เกิดขึ้นจากมันสมองของมนุษย มาไวที่นี่ จากหนังสือชุดนี้ไดนําแนวความคิดตางๆ มาเรียบเรียงใหมและกอใหเกิดปรากฎการณที่พลิก โฉมหนาไปสูการเปนหองสมุดดิจิตอลขึ้น
  • 12. 5 • ในป 1945 Vannevar Bush ไดตีพิมพบทความที่ชื่อวา As We May Think ลงในวารสาร The Atlantic Monthly ซึ่งไดประมวลความคิดเกี่ยวกับ The Memory Extender หรือที่ เรียกวา Memex ซึ่งใชเครื่องมือเรียกวา Electro – mechanical Device ซึ่งสามารถบรรจุองค ความรูที่เกิดขึ้นในโลกโดยใชเทคนิค Micro Reduction • ในป 1968 Alan Kay จากบริษัท KayPro frame ซึ่งเปนผูประดิษฐในยุคแรกๆของ Portable PCs ได ประดิษฐ cardboardจําลองใหแก the Dynabook ซึ่งเปนคอมพิวเตอรที่มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง มากในการดูขอความ ซึ่งเคยไดเรียกมันวา“ซุปเปอรกระดาษเสมือน” และยังแนะนําวาหนังสือ อิเล็กทรอนิกสนี้จะถูกเขามาแทนที่กระดาษในอนาคต • ในป 1971 Michael Hart ไดทําการบันทึกเอกสารเปนครั้งแรกในรูปแบบของเอกสารฉบับเต็ม (Full text) โดยเก็บลงในฐานขอมูลและสามารถเขาถึงขอมูลเหลานั้นจากเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรมของ มหาวิทยาลัยอิลินอยส ตอมาไดเกิดโครงการกลูเตนเบิรก ( Project Glutenburg) ขึ้นเพื่อพัฒนาไปสู การจัดเก็บวรรณกรรมคลาสสิกไวในหองสมุดและสามารถสืบคนไดทางอินเทอรเน็ต • ในป 1981 ไดจัดทําศัพทสัมพันธขึ้นคือ The Random House Electronic Thesaurus ซึ่งไดกลาย มาเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสเลมแรกในโบกที่ใชประโยชนในเชิงพาณิชย • ยืน ภูวรวรรณ และสมชาย นําประเสริฐชัย (2546:51) ไดกลาววา E-Book หมายถึง การสรางหนังสือ หรือเอกสารในรูปแบบสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชประโยชนกับระบบการเรียนการสอนบนเครือขาย • ศักดา ศักดิ์ศรีพาณิชย (2549: ออนไลน) ไดใหความหมายของ E-Book ไวคือ E-Book หรือหนังสือ อิเล็กทรอนิกส เปนคําเฉพาะที่ใชสําหรับผลิตภัณฑที่เปนสิ่งพิมพดานอิเล็กทรอนิกสและมัลติมีเดีย โดยเฉพาะอยางยิ่งผลิตภัณฑที่เปนแผนจานขอมูล (Optical disc)เชน ซีดีรอม และซีดีไอ และเปน ซอฟแวรที่อยูมนรูปของดิสกขนาด 8 ซม. จากความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ดังกลาวสรุปไดวา E- Book ( Electronic Book) หรือ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส เปนการสรางหนังสือใหอยูในรูปสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส โดยใชคอมพิวเตอรในการนําเสนอ ซึ่งสามารถนําเสนอ เนื้อหาไดทั้งที่เปนแบบตัวอักษร และภาพ 2. ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส • เบเกอร และ คิลเลอร ( Baker and Giller. 1991 : 281 – 290 ) ไดแบงประเภทของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส ตามประเภทของสื่อที่ใชในการนําเสนอและองคประกอบของเครื่องอํานวยความสะดวก ภายในเลม แบงออกเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุหรือบันทึกขอมูล เนื้อหาสาระเปนหมวดวิชา หรือรายวิชา โดยเฉพาะเปนหลัก 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระเปนหัวเรื่องหรือเรื่องเฉพาะเรื่องเปนหลัก หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้จะมีเนื้อหาใกลเคียงกับประเภทแรกแตขอบขายแคบกวาหรือจําเพาะ เจาะจงมากกวา 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระ และเทคนิคการนําเสนอขั้นสูงที่มุงเนนเพื่อ สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการฝกอบรม
  • 13. 6 4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระเนื้อเพื่อการทดสอบหรือสอบวัดผลเพื่อให ผูอานไดศึกษาและตรวจสอบวัดระดับความรู หรือความสามารถของตนในเรื่องในเรื่อง • เบเกอร (Baker. 1992 : 139 – 149 ) ไดแบงประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ออกเปน 10 ประเภท ดังตอไปนี้ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือ หรือแบบตํารา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้ เนนการจัดเก็บและนําเสนอขอมูลที่เปนตัวหนังสือ และภาพประกอบในรูปแบบหนังสือปกติที่พบเห็นทั่วไป หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้สามารถกลาวไดวาเปนการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพปกติเปน สัญญาณดิจิตอล เพิ่มศักยภาพเติมการนําเสนอ การปฏิสัมพันธระหวางผูอานกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสดวย ศักยภาพของคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐาน เชน การเปดหนาหนังสือ การสืบคน การคัดลอก เปนตน 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือเสียงอาน เปนหนังสือมีเสียงคําอานเมื่อเปดหนังสือจะมีเสียงอาน หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้เหมาะสําหรับหนังสือสําหรับเด็กเริ่มเรียนหรือสําหรับฝกออกเสียง หรือฝก พูด เปนตน หนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้เปนการเนนคุณลักษณะดานการนําเสนอเนื้อหาที่เปนทั้งตัวอักษร และเสียงเปนลักษณะหลัก นิยมใชกับกลุมผูอานที่มีระดับทักษะทางภาษาโดยเฉพาะดานการฟงหรือการ อานคอนขางต่ํา เหมาะสําหรับการเริ่มตนเรียนภาษาของเด็กๆ หรือที่กําลังฝกภาษาที่สอง หรือฝกภาษาใหม เปนตน 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพนิ่ง หรืออัมบั้นภาพ เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี คุณลักษณะหลักเนนจัดเก็บขอมูล และนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพเปนหลัก เสริมดวย การนําศักยภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เชน การเลือกภาพที่ตองการ การขยายหรือยอขนาด ของภาพหรือตัวอักษร 4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพเคลื่อนไหว เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนน การนําเสนอ ขอมูลในรูปภาพวีดีทัศน หรือภาพยนตรสั้นๆ ผนวกกับขอมูลสนเทศที่ในรูปตัวหนังสือ ผูอานสามารถเลือก ชมศึกษาขอมูลได สวนใหญนิยมนําเสนอขอมูลเหตุการณประวัติศาสตร หรือเหตุการณสําคัญๆ เชน ภาพ เหตุการณสงครามโลก เปนตน 5. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสม เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนนเสนอขอมูลเนื้อหา สาระในลักษณะแบบสื่อผสมระหวางสื่อภาพ ที่เปนทั้งภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหวกับสื่อประเภทเสียง ใน ลักษณะตางๆ ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอรอื่นเชนเดียวกันกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ ที่กลาวมา 6. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสมหลากหลาย เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มีลักษณะ เชนเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อประสม แตมีความหลากหลายในคุณลักษณะดานความเชื่อมโยง ระหวางขอมูลภายในเลมที่บันทึกในลักษณะตางๆ เชน ตัวหนังสือ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ดนตรี เปน ตน 7. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อเชื่อมโยง เปนหนังสือทีมีคุณลักษณะสามารถเชื่อมโยงเนื้อหา สาระภายในเลม ซึ่งผูอานสามารถคลิ๊กเพื่อเชื่อมไปสูเนื้อหาสาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกันภายในเลม การ เชื่อมโยงเชนนี้มีคุณลักษณะเชนเดียวกันกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกกิ่ง นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยง กับแหลงเอกสารภายนอกเมื่อเชื่อมตอเชื่อมระบบอินเตอรเน็ตหรืออินทราเน็ต
  • 14. 7 8. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสืออัจฉริยะ เปนหนังสือสื่อประสม แตมีการใชโปรแกรมขั้นสูงที่ สามารถมีปฎิกิริยา หรือปฏิสัมพันธกับผูอานเสมือนกับหนังสือมีสติปญญา ในการไตรตรอง หรือคาดคะเนใน การโตตอบ หรือมีปฏิกิริยากับผูอาน 9. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อหนังสือทางไกล หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีคุณลักษณะหลักๆ คลายกับHypermedia Electronic Book แตเนนการเชื่อมโยงกับแหลงขอมูลภายนอกผานระบบเครือขาย ทั้งที่เปนเครือขายเปด และเครือขายเฉพาะสมาชิกของเครือขาย 10. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือไซเบอรสเปช หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีลักษณะ เหมือนกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสหลายๆ แบบที่กลาวมาแลวมาผสมกัน สามารถเชื่อมโยงขอมูลทั้งจากแหลง ภายในและภายนอก สามารถนําเสนอขอมูลในระบบสื่อที่หลากหลายสามารถปฏิสัมพันธกับผูอานได หลากหลายมิติ จากประเภท E-Book ดังกลาวสรุปไดวา E- Book หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการจัดทําหนังสือใหอยูใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งสามารถจะเปดอานไดแบบหนังสือปกติทั่วไปโดยตองใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการอาน 3. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับ E-Book 3.1 งานวิจัยตางประเทศ • โดเมน (Doman. 2001 : 74) ไดศึกษาเกี่ยวกับ E – Book จะมีอุปกรณที่ใชอานขอความ อิเล็กทรอนิกสหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งในการพัฒนาเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่ ผลิตขึ้น ซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายเพื่อการใชหนังสือรวมกันโดยผานการสื่อสารทางอินเตอรเน็ต โดยเปน อุปกรณพื้นฐานของไมโครโปรเซสเซอร โดยในงานวิจัยไดกลาวถึงประวัติของขอความอิเล็กทรอนิกส แบบสั้นๆ และคําแนะนําเกี่ยวกับตลาดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งความสะดวก และชัดเจนในการใช เปนปญหาที่พบในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส • สทริพฟส (Striphas. 2002 : 348) ไดสํารวจความเชื่อมโยงของพัฒนาการของหนังสือ เกี่ยวกับ โครงสรางอุปกรณทางเทคนิคของหนังสือ จากหนังสือในรูปเลมมาสูหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยหนังสือมี การคมนาคมทางโทรศัพทผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งจากผลการวิจัย ทําใหทราบถึงการเชื่อมโยงของ พัฒนาการของหนังสือจากอดีตที่ผานมาจนถึงปจจุบัน • กริกก (Grigg. 2005 : 90) ไดศึกษาผลของการใชคอมพิวเตอรชวยสอน ( CAL) ในทางทันตกรรม ใน การจัดฟนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งไดทดลองกับนักศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 48 คน โดย ไดทําการทดลอง 2 รูปแบบ คือ การใช E – Book และกรณีการศึกษาจากระเบียนจริง ผลการวิจัย พบวา นักศึกษาสวนมากไดรับความรูและมีการโตตอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งจะใชเปน แนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบคอมพิวเตอรชวยสอนมาใชสําหรับทางทันตกรรม • เฮจ ( Hage. 2006 : 97) ไดศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยี E- Book ซึ่งจะเปนการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารที่อยูในรูปของเอกสารดิจิตอล ในการอานหนังสืออิเล็กทรอนิกสนั้นจะตองใชอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอร ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกสมีการเติบโตอยางชาๆและผูวิจัยไดศึกษา ความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพของระดับการใชงานกับอายุมีความแตกตางกันทางสถิติ และ ประสิทธิภาพของระดับการใชงานกับเพศไมมีความแตกตางทางสถิติ
  • 15. 8 3.2 งานวิจัยในประเทศ • สิทธิพร บุญญาวัตร ( 2540 : 23 – 37 ) ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับการนําเอาหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใช ในการฝกอบรม เรื่อง การใชโปรแกรมออโตแคด (AutoCAD R 13c4 ) ซึ่งไดตั้งประเด็นปญหา ไว 2 ประการ คือ ขาดสื่อในการฝกอบรมที่เหมาะสม และเอกสาร ตําราสวนใหญจะแปลมาจาก ตางประเทศไมเหมาะกับผูเรียนระดับเริ่มตน ซึ่งผูเรียนควรจะศึกษาจากหนังสือที่ผานการวิเคราะห เนื้อหามาแลวจึงไดนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใช โดยใหขอดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส คือ ลดการ สิ้นเปลืองวัสดุและพลังงานในการจัดทําสื่อ ชวยใหการใชสื่อมีความสะดวกยิ่งขึ้น และชวยใหการ อบรมนอกสถานที่มีความคลองตัวขึ้น เนื่องจากสามารถจัดเก็บในแผนซีดีได และจะชวยใหผูเรียนมี การพัฒนาการเรียนรู เขาใจในเนื้อหาวิชานั้นๆ มากขึ้น และควรจะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใชใน การเรียนการสอน • เพ็ญนภา พัทรชนม ( 2544 : บทคัดยอ ) ไดทําการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง กราฟก เบื้องตน โดยทดลองกับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จํานวน 30 คน ซึ่งผลการวิจัยพบวา คะแนนของการทดลองหลังเรียนสูงกวาคะแนนจากการทดลอง กอนเรียน • พิเชษฐ เพียรเจริญ (2546 :67) ไดทําการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน โดยได ทดลองกับนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี จํานวน 55 คน ผลการวิจัยพบวา หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน มี ประสิทธิภาพ 82.0/82.5 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา หลังจากที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 จากการวิจัยที่เกี่ยวของกับ E-Book สรุปไดวา การพัฒนารูปแบบของหนังสือใหมีความทันสมัย โดยการนําไป ประยุกตใชกับคอมพิวเตอร ซึ่งนอกจากจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของหนังสือใหมีกาสื่อสารไดรวดเร็วยิ่งขึ้นแลว เมื่อ นํามาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยังสามารถทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของผูเรียนสูงขึ้นดวย 4. งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู 4.1ทฤษฎีการเรียนรู • Vollam (1972) ไดศึกษาผลของภาพตางสีที่มีตอการเรียนรูเนื้อหาจากภาพของนักเรียนระดับ 6 จํานวน 90 คน โดยใชภาพขาว – ดํา ภาพสีธรรมชาติ และภาพประดิษฐ ปรากฏวา ผลการเรียนรู เนื้อหาจากภาพสีใหผลสูงสุด รองลงมาเปนภาพขาว–ดํา ซึ่งใหผลสูงกวาภาพประดิษฐ • Sloan (1972) ไดศึกษาความชอบแบบภาพของนักเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาระดับ 2 และ ระดับ 5 แบงกลุมตัวอยางเปนนักเรียนในเมืองและนอกเมือง โดยใชภาพ 4 แบบคือ ภาพถาย ภาพวาดเหมือนจริง ภาพประดิษฐ และภาพการตูน โดยใหกลุมตัวอยางเลือกภาพที่ชอบมากที่สุด ผลการทดลองพบวา นักเรียนทั้งในเมืองและนอกเมืองชอบภาพถายมากที่สุด รองลงมาคือ ภาพวาดเหมือนจริง ภาพประดิษฐ และภาพการตูน
  • 16. 9 • Kieiyer (1975) ไดศึกษาผลของระดับสติปญญาที่มีประสิทธิผลของอุปกรณการสอนประเภท ภาพประกอบ (illustration) โดยใชภาพขาว–ดําและภาพสีประกอบการสอนเรื่องหัวใจดังนี้คือ ภาพลายเสนสีดําบนพื้นขาว ภาพลายเสนสีน้ําเงินบนพื้นชมพู ภาพวาดแสดงรายละเอียดแรเงา ขาว–ดํา ภาพวาดแสดงรายละเอียดสีตามความเปนจริง หุนรูปหัวใจขาว–ดํา หุนรูปหัวใจสี ภาพถายตามความเปนจริงขาว–ดํา ภาพถายตามความเปนจริงสีเหมือนจริง ผลการทําวิจัยปรากฏ วา ภาพสีทุกประเภทใหประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียนสูงสุด 4.2 งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรูอิเล็กทรอนิกส • สุจิตรา กุลพันธ (2544) ไดคนควาแบบอิสระเรื่องการสรางบทเรียนไฮเปอรบุคสําหรับกระบวน วิชา คอมพิวเตอรกับการศึกษาผลการศึกษาปรากฏวาเรียนไฮเปอรบุคมีประสิทธิภาพตาม ที่กําหนด ไวและสามารถนําไปใชในการประกอบการเรียนการสอนสําหรับกระบวนวิชา คอมพิวเตอรกับ การศึกษาไดผูเรียนสามารถเรียนจากบทเรียนไฮเปอรบุคดวยตน เองที่ไหนเมื่อไรก็ได อีกทั้งยัง สามารถพิมพเนื้อหาไดเปนอยางดี • นพดล กําทอน (2545) ไดคนควาแบบอิสระเรื่องการพัฒนาระบบการเรียนแบบระบบ อิเล็กทรอนิกสวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตสถาบันราชภัฎเชียงราย ผลการศึกษาและวิจัยพบวา การพัฒนาระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสสารสนเทศเพื่อชีวิตสถาบันราชภัฎเชียงราย สามารถ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตทําให นักศึกษาสะดวกใน การศึกษาทบทวนเนื้อหาบทเรียนไดตลอดเวลาและผูเรียนมีความ พึงพอใจในการใชงานระบบ • Bond and Nigel (1994) ไดรวมมือกับ ดร.ชาลส วิจัยหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่จะชวยใหผูเรียน เกิดการเรียนรูไดงายขึ้น และสามารถใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนได สาเหตุที่พวกเขาสนใจ ทําเรื่องที่เกิดจากเหตุผล 2 ประการ คือ มีความเชื่อวาวิธีการที่ใชในการศึกษาอยูในปจจุบันนี้ไมใช วิธีที่ดีที่สุด และเชื่อวาคอมพิวเตอรเปนสื่อที่มีเสนห สมควรที่จะนํามาใชเพื่อการเรียนรู ดวยเหตุนี้ จึงไดสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสขึ้นมาโดยเริ่มจากวิชาวาดวยพฤติกรรมสัตว 10 บท ขั้นตอนแรกใน การทําคือการเปลี่ยนสคริปตและอัดเสียง สิ่งสําคัญสําหรับการเขียนสคริปต คือ ตองมีการชวย ผูเรียนในการสรุปบทเรียนและเตรียมตัวชี้ (Cue) ใหกับผูเรียนสิ่งสําคัญที่ขาดไมไดคือ ผูเรียนตอง สามารถทําเครื่องหมายลงในหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่สรางขึ้นไดดวย ทรัพยากรที่ใชประกอบดวย ภาพถาย รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีโอและฟลม ซึ่งปจจุบันอยูในรูปวีดีโอคลิป (Video clips) นอกจากวิชาวาดวยพฤติกรรมสัตวแลว ยังไดจัดทําหนังสืออิเล็กทรอนิกสสําหรับวิชา คณิตศาสตรโดยใชโปรแกรมควิกไทม (Quick Time) ในการสรางภาพเคลื่อนไหวไดงายๆเชน จาก สมการสรางเปนกราฟ เพื่อใหกราฟที่ไดมีความเปนพลวัตไมหยุดนิ่ง ซึ่งจะทําใหผูอานจําไดมากขึ้น จากรูปภาพและวีดีโอ
  • 17. 10 • Kelly(1996) ศึกษาเรื่องกรณีตัวอยาง การพิมพวารสารอิเล็กทรอนิกสบนเวิลดไวดเว็บ ซึ่งไดกลาว วาเวิลดไวดเว็บเปนเครื่องมือที่ใชสื่อสารทั่วโลก ไฮเปอรมีเดียมีสมรรถภาพและความสามารถในการ ถายทอดขอมูลไดไมจํากัด ดังนั้นจึงมีการใชเวิลดไวดเว็บในการผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกสออนไลน ขึ้นมามากขึ้น ผลการวิจัยพบวานโยบายของวารสารไมสามารถที่จะนํามาประเมินไดจนกวาวารสาร จะมีการออกเผยแพรอยางเปนทางการแลว และมีความเปนไปไดในการวางกลยุทธทางการตลาด เพื่อที่จะผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกสบนอินเตอรเน็ตเพื่อเผยแพรตอไป จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับการเรียนรู สรุปไดวา สื่อมัลติมีเดียที่มีทั้งสีสัน รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ตางๆ ซึ่งเปนสื่อที่มีความนาสนใจจะทําใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของผูเรียนไดดีกวาสื่อที่เปนรูปภาพขาวดํา ไมมี เสียง หรือไมมีภาพเคลื่อนไหวตางๆ
  • 18. 11 บทที่ 3 วิธีดําเนินการทดลอง วัสดุอุปกรณ คอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมดังนี้ - Adobe illustrator ใชเพื่อ สรางลายเสนที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงานกราฟก - Adobe Photoshop ใชเพื่อ สรางและแกไขรูปภาพ - Adobe in design ใชเพื่อ ทํางานดานการจัดหนากระดาษ ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. ตั้งปญหาที่ศึกษา 2. รวบรวมขอมูลที่จะศึกษา รวมถึงรวบรวมและทดลองใชโปรแกรมตางๆ 3. คัดเลือกขอมูลที่นาสนใจและสําคัญ และเลือกโปรแกรมหรือซอฟทแวรที่จะใช 4. ศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมที่ตองการใชงาน 5. เขียนราง story board เพื่อแสดงถึงสวนประกอบภายในของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 6. สรางกราฟกจากโปรแกรม Adobe Photoshop และโปรแกรม Adobe Illustrator 7. สรางภาพ Animation จากโปรแกรม Adobe flash 8. นําภาพกราฟกที่ไดไปประกอบรวมกันใหเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยใชโปรแกรม Adobe indesign 9. ตรวจสอบความผิดพลาดและทดลองใชงานชิ้นงานที่สรางขึ้น 10. นําผลงานที่ไดมาเสนออาจารยที่ปรึกษา เพื่อระบุขอดีขอเสียที่พบ และนําขอเสียไปปรับปรุงแกไข 11. นําไฟลผลงานไปอัพโหลดเว็บสาธารณะ เพื่อสะดวกในการศึกษา อีกทางเลือกหนึ่งจะนําหนังสือ อิเล็กทรอนิกสนี้ไปโพส ลงในแอพพลิเคชัน i love library เพื่อเปดเปนไฟลสาธารณะและใหบุคคลที่ใช smart phone ดาวโหลดไปทดลองใช 12. ออกแบบใบประเมินความพึงพอใจ 13. ใหกลุมตัวอยางทดลองใชงานจากสื่อที่สรางขึ้น และทําแบบสอบถาม 14. รวบรวมเลมโครงงานและนําเสนออาจารยที่ปรึกษา
  • 19. 12 บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน ผลการประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ กลุมตัวอยางคือนักเรียนในโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน 50 คน ไดผลการดําเนินงานดังนี้ หัวขอ ดีมาก (คน) ดี (คน) พอใช (คน) ควรปรับปรุง 1.ความรูที่ไดรับหลังการใช electronic book 1.1 ความเหมาะสมของเนื้อหา 34 15 1 - 1.2 ความครอบคลุมของเนื้อหา 33 17 - - 1.3 การแบงเนื้อหาเปนสวน เนน ประเด็นสําคัญ 42 4 4 1.4 นําความรูที่ไดรับไปประยุกตใช ไดจริง 37 13 - - 2.สื่อประกอบการนําเสนอ 2.1 สื่อที่เลือกใชมีความนาสนใจ และชวยใหเขาใจเรื่องไดดีขึ้น 36 14 - - 2.2 รูปแบบ สี ขนาดและพิสูจน อักษร 28 21 1 - 2.3 ความนาสนใจของสื่อ 35 13 2 - 3. ความพึงพอใจ 3.1 สวนของ Animation 22 25 3 - 3.2 สวนของเนื้อหา 31 14 5 - 4.การเขาถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4.1ความสะดวกตอการเขาถึง 22 28 - - 4.2 การประชาสัมพันธแพรหลาย 19 21 10 -
  • 20. 13 แผนภูมิประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอนASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ กลุมตัวอยางคือนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50คน 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 ดีมาก ดี พอใช้
  • 21. 14 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผล จากการสํารวจความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ กลุมตัวอยางคือนักเรียนในโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน 50 คนมี 11 รายการ คือ 1. ความเหมาะสมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 68 2. ความครอบคลุมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 66 3. การแบงเนื้อหาเปนสวน เนนประเด็นสําคัญ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 84 4. นําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชไดจริง มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ74 5. สื่อที่เลือกใชมีความนาสนใจและชวยใหเขาใจเรื่องไดดีขึ้น มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 72 6. รูปแบบ สี ขนาดและพิสูจนอักษร มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 56 7. ความนาสนใจของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 70 8. ความพึงพอใจในสวนของ Animation มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 50 9. คามพึงพอใจในสวนของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 62 10. ความสะดวกตอการเขาถึง มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 56 11. การประชาสัมพันธแพรหลาย มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 42 อภิปรายผล กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในสื่อสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smartphone อยู ในระดับดีมากและดี เนื่องจากกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเนื้อหาและมีความสนใจในสื่อ ASEAN Languages Electronic book แตในบางสวนซึ่งไดแกความพึงพอใจในสวนของ Animation การประชาสัมพันธ ซึ่งอาจทําใหกลุมตัวอยางรูสึกวา ทําให นักเรียนมีความรูสึกสนใจลดลงหลังจากการใชสื่อ ขอเสนอแนะ 1.ปรับปรุงการทํา Animation ใหมีความนาสนใจมากขึ้น 2.ทําการประชาสัมพันธใหแพรหลายมากขึ้น
  • 23. 16 ภาคผนวก ข. ขั้นตอนการทํา ตอนที่ 1 ทําภาพกราฟฟกจากโปรแกรม Adobe illustrator
  • 24. 17
  • 25. 18
  • 26. 19
  • 27. 20
  • 28. 21
  • 30. 23
  • 31. 24
  • 32. 25
  • 33. 26
  • 35. 28
  • 36. 29
  • 38. 31
  • 39. 32
  • 40. 33
  • 41. 34
  • 42. 35
  • 43. 36
  • 44. 37 บรรณานุกรม • กนิฐกนาฏ. (2551). ทฤษฎีความพึงพอใจ (ออนไลน). สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/posts/492000 [23 พฤศจิกายน 2555] • กรกช อําไพรพิศ. (2553). คอมพิวเตอรและเครือขาย (ออนไลน). สืบคนจาก : http://www.zoneza.com/ [26 พฤศจิกายน 2555 ] • ธนะดี มงคชัย. (2551). ตัวอยางงานวิจัยหนังสืออิเล็กทรอนิกส. สืบคนจาก : http://saiaom.blogspot.com/2012/02/3.html [9 ธันวาคม 2555] • ธัญญนิชา.( 2554). ความหมายของศัพทเฉพาะ ประชาคมอาเซียน. สืบคนจาก : http://xn-- 42cle0dg2bid7g0axd4b6k.net/ [25 พฤศจิกายน 2555] • พัชรา แสงศรี. (2547). วิธีการสราง E-book จาก indesign. สืบคนจาก : http://berserk- rabbit.exteen.com/20110603/e-book-indesign [17 พฤศจิกายน 2555 ] • เอกนรินทร อิ่มรส. (2555). สอนการทําE-book. สืบคนจาก : http://www.youtube.com/watch?v=imAU13RjVwo [15 ธันวาคม 2555] • อัญรินทร. (2554). ความหมายของศัพทเฉพาะ ภาษา. สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/posts/322514 [22 พฤศจิกายน 2555 ] • nuch. (2554). สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย. สืบคนจาก : http://hilight.kapook.com/view/67028 [25พฤศจิกายน 2555] • พรนับพัน. (2549). เกี่ยวกับอาเซียน. สืบคนจาก: http://www.mfa.go.th/asean/ [27 พฤศจิกายน 2555] • VirusT. (2554). การสรางE-bookอยางงาย. สืบคนจาก : http://www.getdd.net/techno/67- ebookwizard.html [21 ธันวาคม 2555] • VirusT. (2554). ความแตกตางของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook) กับหนังสือทั่วไป. สืบคนจาก : http://www.getdd.net/techno/63-ebookbook.html [22 ธันวาคม 2555] • VirusT. (2554). โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook Construction). สืบคนจาก : http://www.getdd.net/techno/64-ebookconstruction.html [23 ธันวาคม 2555] • สกรณ. (2553). ความรูเบื้องตนโปรแกรม Adobe Indesign. สืบคนจาก : http://oit.cru.in.th/downloadmanual/InDesign1.pdf [24ธันวาคม 2555] • มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (2554). แนะนําโปรแกรม Adobe Illustrator CS. สืบคนจาก : http://www.pccl.ac.th/files/1012221616402461_11012512123509.pdf [24ธันวาคม 2555]
  • 45. 38 • Lindsey Frerking. (2554). แนะนําโปรแกรม Adobe Photoshop. สืบคนจาก : http://dese.mo.gov/divcareered/Business/MBEA/MBEA_SumConf07_AdobePhotoshop_Frerking.pdf [24 ธันวาคม 2555]