SlideShare a Scribd company logo
ใบความรูเรื่องแรงลอยตัว

1. แรงลอยตัว(buoyant force)
   “เมื่อวัตถุอยูในของไหล จะมีแรงลอยตัวกระทําตอวัตถุ แรงลอยตัวดังกลาวเกิดจากความแตกตางของความดัน
   ของวัตถุ ณ ตําแหนงที่มีความลึกแตกตางกัน แรงลอยตัวดังกลาวจะพยายามยกวัตถุขนสูผิวหนาของของไหล”
                                                                                ึ้
                                                                  F1 = P1A =ρgh1A
                                                                  F2 = P2A =ρgh2A
                                                                  ผลตางของแรงดันขึ้นกับแรงดันลงคือแรง
                                                                  ลอยตัว FB
                                                                    FB = F2 – F1 =ρg (h2-h1) A =ρgV

2. เปรียบเทียบการชั่งวัตถุในอากาศกับในของเหลว
F1,F2 = แรงดึงของตาชั่งสปริง (น้ําหนักที่อานไดจากตาชั่งสปริงหรือแรงยกวัตถุ)
     mg = น้ําหนักของวัตถุ , FB = แรงลอยตัวในของเหลว

                                                              2.1 กรณีชั่งในอากาศ
                                                           แรงดึงขึ้นจะเทากับน้ําหนักของวัตถุ
                                                                                 F1 = mg

                                                                2.2 กรณีชั่งในของเหลว
                                                             แรงในทิศขึ้นคือแรงดึงกับแรงลอยตัว เทากับน้ําหนัก
                                                                              F2 + FB = mg
                                                                              F2 = mg - FB
ดังนั้น เมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ยกจะนอยกวา แรงที่ยกในอากาศเสมอ
3. หลักของอารคมีดีส(Archimedes’ Principle)
                    ิ
          “วัตถุท่จมอยูในของเหลวหมดทั้งกอนหรือจมเพียงบางสวน จะถูกแรงลอยตัวกระทํา และแรงลอยตัวจะ
                  ี
เทากับน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่”
                                                       อาจเขียน “ขนาดของแรงลอยตัว” ไดเปน
                                                       แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
                                                       แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ
                                                       วัตถุในสวนทีจม
                                                                    ่
4. สูตรคํานวณน้าหนักของวัตถุและแรงลอยตัว
               ํ
                              น้ําหนักของวัตถุ W = mg = ρ1gV1
                              แรงลอยตัว        FB = ρ2gV2
                              จากหลักของสมดุล
                                                       แรงลง = แรงขึ้น
                                                          mg = FB
                                                       ρ1gV1 = ρ2gV2
                                         ρ1V1 = ρ2V2
หมายเหตุ
      1) แรงลอยตัวในของเหลวที่กระทําตอวัตถุ มีคาแปรผันตรงกับปริมาตรของของเหลวทีถูกแทนที่
                                                                                   ่
      2) ถาทําใหวัตถุแทนที่ในของเหลวโดยมีปริมาตรการแทนที่เพิ่มขึ้น แรงลอยตัวที่กระทําตอวัตถุจะมีคา
         เพิ่มขึ้นดวย    (หลักการนี้ สามารถทําใหวตถุที่มความหนาแนนมากกวาของเหลวสามารถลอยบน
                                                    ั     ี
         ของเหลวไดโดยการออกแบบวัตถุใหมีปริมาตรมากขึ้น โดยการทําวัตถุใหกลวง หรือเวาตรงกลาง เชน
         กรณีเรือที่ลอยบนน้ํา เปนตน)
5. เปรียบเทียบความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของของเหลว
   5.1 วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของของเหลว
                            …..วัตถุจะลอย โดยมีบางสวนจมอยูในของเหลว ….
                            จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว
                                                       ρ1gV1 = ρ2gV2
                                                        ρ1V1 = ρ2V2

                                             5.2 วัตถุมีความหนาแนนเทากับความหนาแนนของของเหลว
                                          …..วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว หรือลอยในของเหลว…..
                                          จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว
                                                               ρ1gV1 = ρ2gV2
                                                                  ρ1 = ρ2

                                   5.3 วัตถุมีความหนาแนนมากกวาความหนาแนนของของเหลว
                                …..วัตถุจะจมอยูในของเหลว…..
                                จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว + แรง N
                                                        ρ1gV1 = ρ2gV2 + N
                                                   แต V1 = V2 ดังนั้น ρ1 > ρ2
6. สมดุลของวัตถุในของเหลว
   6.1 กรณีวตถุลอยอยูบนของเหลว หรือลอยในของเหลว
            ั
                                               จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                                    
                                                                 FB = W




   6.2 กรณีวตถุจมในของเหลว
            ั
                       จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                       N + FB = W




   6.3 กรณีวัตถุลอยอยูในของเหลว โดยมีเชือกดึงไว
                    จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                     T + FB = W




   6.4 กรณีวัตถุลอยทับกันในของเหลว
                           จากหลักของสมดุลจะไดวา
                                                     FB1 + FB2 = W1 + W2




   6.5 กรณีช่งวัตถุในของเหลว
             ั
                                                          พิจารณาทีวัตถุ
                                                                   ่
                                                                           T +FB = W
                                                          พิจารณาที่ตาชัง
                                                                        ่
                                                                      N + T = W + W1
                                                          จะไดวา
                                                                          N = FB + W1

More Related Content

What's hot

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
Wijitta DevilTeacher
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
Chanthawan Suwanhitathorn
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
Phanuwat Somvongs
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
Thepsatri Rajabhat University
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 

แรงลอยตัว1

  • 1. ใบความรูเรื่องแรงลอยตัว 1. แรงลอยตัว(buoyant force) “เมื่อวัตถุอยูในของไหล จะมีแรงลอยตัวกระทําตอวัตถุ แรงลอยตัวดังกลาวเกิดจากความแตกตางของความดัน ของวัตถุ ณ ตําแหนงที่มีความลึกแตกตางกัน แรงลอยตัวดังกลาวจะพยายามยกวัตถุขนสูผิวหนาของของไหล” ึ้ F1 = P1A =ρgh1A F2 = P2A =ρgh2A ผลตางของแรงดันขึ้นกับแรงดันลงคือแรง ลอยตัว FB FB = F2 – F1 =ρg (h2-h1) A =ρgV 2. เปรียบเทียบการชั่งวัตถุในอากาศกับในของเหลว F1,F2 = แรงดึงของตาชั่งสปริง (น้ําหนักที่อานไดจากตาชั่งสปริงหรือแรงยกวัตถุ) mg = น้ําหนักของวัตถุ , FB = แรงลอยตัวในของเหลว 2.1 กรณีชั่งในอากาศ แรงดึงขึ้นจะเทากับน้ําหนักของวัตถุ F1 = mg 2.2 กรณีชั่งในของเหลว แรงในทิศขึ้นคือแรงดึงกับแรงลอยตัว เทากับน้ําหนัก F2 + FB = mg F2 = mg - FB ดังนั้น เมื่อชั่งวัตถุในของเหลว แรงที่ยกจะนอยกวา แรงที่ยกในอากาศเสมอ 3. หลักของอารคมีดีส(Archimedes’ Principle) ิ “วัตถุท่จมอยูในของเหลวหมดทั้งกอนหรือจมเพียงบางสวน จะถูกแรงลอยตัวกระทํา และแรงลอยตัวจะ ี เทากับน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่” อาจเขียน “ขนาดของแรงลอยตัว” ไดเปน แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่ แรงลอยตัว = น้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ วัตถุในสวนทีจม ่
  • 2. 4. สูตรคํานวณน้าหนักของวัตถุและแรงลอยตัว ํ น้ําหนักของวัตถุ W = mg = ρ1gV1 แรงลอยตัว FB = ρ2gV2 จากหลักของสมดุล แรงลง = แรงขึ้น mg = FB ρ1gV1 = ρ2gV2 ρ1V1 = ρ2V2 หมายเหตุ 1) แรงลอยตัวในของเหลวที่กระทําตอวัตถุ มีคาแปรผันตรงกับปริมาตรของของเหลวทีถูกแทนที่ ่ 2) ถาทําใหวัตถุแทนที่ในของเหลวโดยมีปริมาตรการแทนที่เพิ่มขึ้น แรงลอยตัวที่กระทําตอวัตถุจะมีคา เพิ่มขึ้นดวย (หลักการนี้ สามารถทําใหวตถุที่มความหนาแนนมากกวาของเหลวสามารถลอยบน ั ี ของเหลวไดโดยการออกแบบวัตถุใหมีปริมาตรมากขึ้น โดยการทําวัตถุใหกลวง หรือเวาตรงกลาง เชน กรณีเรือที่ลอยบนน้ํา เปนตน) 5. เปรียบเทียบความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของของเหลว 5.1 วัตถุมีความหนาแนนนอยกวาความหนาแนนของของเหลว …..วัตถุจะลอย โดยมีบางสวนจมอยูในของเหลว …. จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว ρ1gV1 = ρ2gV2 ρ1V1 = ρ2V2 5.2 วัตถุมีความหนาแนนเทากับความหนาแนนของของเหลว …..วัตถุจะลอยปริ่มของเหลว หรือลอยในของเหลว….. จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว ρ1gV1 = ρ2gV2 ρ1 = ρ2 5.3 วัตถุมีความหนาแนนมากกวาความหนาแนนของของเหลว …..วัตถุจะจมอยูในของเหลว….. จากหลักของสมดุลจะไดวา น้ําหนักของวัตถุ = แรงลอยตัว + แรง N ρ1gV1 = ρ2gV2 + N แต V1 = V2 ดังนั้น ρ1 > ρ2
  • 3. 6. สมดุลของวัตถุในของเหลว 6.1 กรณีวตถุลอยอยูบนของเหลว หรือลอยในของเหลว ั จากหลักของสมดุลจะไดวา  FB = W 6.2 กรณีวตถุจมในของเหลว ั จากหลักของสมดุลจะไดวา N + FB = W 6.3 กรณีวัตถุลอยอยูในของเหลว โดยมีเชือกดึงไว จากหลักของสมดุลจะไดวา T + FB = W 6.4 กรณีวัตถุลอยทับกันในของเหลว จากหลักของสมดุลจะไดวา FB1 + FB2 = W1 + W2 6.5 กรณีช่งวัตถุในของเหลว ั พิจารณาทีวัตถุ ่ T +FB = W พิจารณาที่ตาชัง ่ N + T = W + W1 จะไดวา N = FB + W1