SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
การประกันภัย
วินาศภัย
การประกันวินาศภัย
(Non-life Insurance)
การประกันวินาศภัย หมายถึง
การประกันความเสียหายใดๆ อันพึง
จะประเมินเป็นเงินได้รวมทั้งความ
เสียหายจากการสูญเสียในสิทธิผล
ประโยชน์หรือรายได้
ประวัติความเป็น
มาจุดกำาเนิดของการประกันภัย สมัยเริ่มแรก
ของการประกันภัยจะมีลักษณะไปในการ
แสวงหาหลักประกันความคุ้มครอง หรือวิธีดาร
ป้องกันภัยอันเกิดจากทรัพย์สินอันเนื่องมาจาก
ภัยธรรมชาติและโจรผู้ร้าย ในประเทศจีน
ประมาณ 3,000 ปี ก่อนคริสตกาล พ่อค้าชาวจีน
ซึ่งอาศัยแม่นำ้าแยงซีเกียง ได้พัฒนาวิธีการเพื่อ
แบ่งเบาและบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับ
สินค้าของตน การกระจายสินค้าของตนแยก
บรรทุกไว้ในเรือหลายๆลำาแทนที่จะบรรทุกสินค้า
ทั้งหมดไว้ในเรือลำาเดียวกัน เรือแต่ละลำาก็จะ
บรรทุกสินค้า ซึ่งเป็นส่วนของพ่อค้าหลายๆคน
วัตถุประส
งค์
เพื่อให้สถาบันการเงิน
ประเภทบริษัทประกันวินาศภัยสามารถ
รายงานธุรกรรมต่อสำานักงานป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน และ
สามารถจัดให้ลูกค้าแสดงตนได้อย่าง
ถูกต้องตามหลักการแห่งกฎกระทรวง
และประกาศสำานักนายกรัฐมนตรี ซึ่ง
ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ความแตกต่างระหว่างการประกันชีวิต
กับการประกันวินาศภัย
1. ความเสียหาย
2. การชดเชย
3. การเรียกร้องค่าเสียหาย
4. สถิติที่ใช้
5. ค่าใช้จ่าย
6. เบี้ยประกันภัย
7. กำาไรขาดทุนของบริษัท
8. การเลือกภัย เบี้ยประกันชีวิต
9. ตามกฎกระทรวงว่าด้วยการลงทุน
10. ด้านภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาเบี้ยประกันชีวิต
การประกันวินาศภัย ( Non-life
Insurance )
แบ่งออกเป็น 4 ประเภทหลักดังนี้
1.การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance)
คือการประกันภัยเพื่อคุ้มครองความ
เสียหายของทรัพย์สินที่เกิดจากไฟมาเผา
ผลาญ ซึ่งเมื่อเกิดภัยขึ้นแล้ว บริษัท
ประกันภัยชดใช้ค่าเสียหายให้ ซึ่งภัยที่
คุ้มครอง ได้แก่
- ไฟไหม้
- ฟ้าผ่า
- การระเบิดของแก๊สที่ใช้ครัวเรือน
- ความสูญเสียหรือเสียหายจากสาเหตุ
ความเป็นมาการ
ประกันอัคคีภัยการประกันอัคคีภัย มีประวัติเริ่ม
มาจากไฟไหม้ครั้งใหญ่ในกรุงลอนดอน
เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2209
โดยเพลิงได้เริ่มขึ้นจากห้องทำาขนมปัง
ของพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษที่กรุงลอนดอน
เพลิงได้ไหม้อยู่เป็นเวลา 6 วัน จึงได้สงบลง
ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2209 มีอาคาร
บ้านเรือนได้รับความเสียหายจากเพลิงไหม้
คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 373 เคอร์ ซึ่งเท่ากับ
85% ของเนื้อที่ทั้งหมดของกรุงลอนดอน ใน
ปีถัดไปคือในปี พ.ศ 2210 จึงได้มีผู้เริ่มจัดตั้ง
บริษัทประกันภัยขึ้นเป็นครั้งแรก ณ กรุง
การประกันอัคคีภัยมีประโยชน์ดังนี้
1. ประโยชน์ต่อผู้เอาประกันภัย เป็นการ
ประกันความสูญเสียจากอัคคีภัยอันมิได้คาด
หมายไว้ด้วยเบี้ยประกันภัยจำานวนน้อยกว่า
ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นมากหากความเสีย
หายเกิดขึ้นก็จะได้รับการชดใช้การประกัน
อัคคีภัยยังสร้างความอุ่นใจให้กับผู้เอาประกัน
ภัยว่าทรัพย์สินของตนได้รับความคุ้มครอง
2. ประโยชน์ต่อธุรกิจ การประกันอัคคีภัย
เป็นการสร้างความมั่นคงซึ่งก่อให้เกิดความ
เสถียรภาพในการประกอบธุรกิจ
3. ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม การ
ประโยชน์ของการประกัน
อัคคีภัย
2. การประกันภัย
รถยนต์
(Automobile
Insurance)ความเป็นมาของการประกันรถยนต์
อุตสาหกรรมรถยนต์ได้เริ่มขึ้นจากการ
สร้างรถเบนซ์และเดมเลอร์ ในปี ค.ศ.
1883-1884 และได้เจริญรุ่งเรืองใน
ทศวรรษต่อมา ในปี ค.ศ. 1894 ได้มี
รถยนต์วิ่งบนถนนของประเทศอังกฤษและ
ในปี 1898 ได้มีการก่อตั้งบริษัท Law
Accident Insurance Society Ltd. ขึ้นรับ
ประกันภัยรถยนต์เป็นบริษัทแรกในประเทศ
การประกันเพื่อคุ้มครองความเสียหายอัน
เกิดจากการใช้รถยนต์ ได้แก่
- ความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดแก่
รถยนต์ ได้แก่ ความเสียหาย บุบสลาย
หรือสูญหายของตัวรถยนต์
- ความสูญเสียหรือเสียหายที่รถยนต์
ก่อให้เกิดขึ้นแก่ชีวิต ร่างกายและและ
ทรัพย์สินของบุคคลภายนอก รวมทั้งบุคคล
ที่โดยสารอยู่ในรถยนต์นั้นด้วย
ประเภทของการประกันภัย
รถยนต์
1. แบบที่ให้ความคุ้มครองเฉพาะความรับผิด
ตามกฎหมาย ต่อบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่
“สาม หรือเรียกกันทั่วไปว่า การประกันภัย
”ประเภทสาม ซึ่งกำาหนดข้อคุ้มครองดังนี้
1.1 ความรับผิดต่อความบาดเจ็บหรือ
มรณะ
1.2 ความรับผิดชอบต่อผู้โดยสารที่เกิด
จากการบาดเจ็บหรือมรณะขณะโดยสารอยู่ใน
รถยนต์
1.3 ความรับผิดชอบต่อทรัพย์สินของ
บุคคลภายนอก
2. แบบที่ให้ความคุ้มครองเพิ่มเติมสำาหรับ
ความเสียหายต่อรถยนต์คันที่เอาประกันภัย
เนื่องจากรถยนต์ถูกโจรกรรมและภัยอื่นๆ
จำาแนกได้เป็น 6 ภัยคือ
2.1 ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก
2.2 การลักทรัพย์ทั้งคัน
2.3 การลักทรัพย์ทั้งคันโดยลูกจ้าง
ของผู้เอาประกัน
2.4 การลักทรัพย์อุปกรณ์ของรถยนต์
2.5 จลาจล เช่น การก่อการร้าย
การนัดหยุดงาน
2.6 ภัยอื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว
3.แบบที่ให้ความคุ้มครองรวม เรียกกันทั่วไปว่า
“ ”ประกันประเภทหนึ่ง คือคุ้มครองทั้งความ
รับผิดต่อบุคคลและความเสียหายต่อตัว
รถยนต์
 หลักการพิจารณาประกันภัยรถยนต์
ในการพิจารณาการรับประกันภัยรถยนต์นั้น
บริษัทประกันภัยจะถือหลักต่อไปนี้คือ
1. อายุของผู้เอาประกันภัย หรือผู้ขับขี่
ประจำาต้องมีอายุ ไม่ตำ่ากว่า 25 ปี
2. ผู้เอาประกันหรือผู้ขับขี่ประจำามีใบ
อนุญาตขับขี่ไม่ตำ่ากว่า 1 ปี
3. รถสปอร์ตไม่รับประกันภัย
4. รถกระบะที่ใช้บรรทุกวัตถุไวไฟและเชื้อ
5. บริษัทจะพิจารณารับประกันภัยรถที่
มีอายุการใช้งานไม่เกิน 6 ปี สำาหรับรถญี่ปุ่น
และ 5 ปี สำาหรับรถอื่นๆ สำาหรับความ
คุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด รวมถึงการชน
หรือพ่วงด้วย
6. บริษัทจะพิจารณารับประกันภัยรถที่
มีอายุการใช้งานเกิน 6 ปี สำาหรับความ
คุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด แต่ยกเว้นการ
ชน หรือการพ่วงต่อ
รถ
ทำาประกันและการรับทำาประกันดังนี้
1. ผู้เอาประกันควรแจ้งความประสงค์ใน
การทำาประกันต่อตัวแทนนายหน้าบริษัท
ประกันหรือแจ้งโดยตรงต่อบริษัทรับประกัน
2. การให้ถ้อยแถลงโดยผู้เอาประกัน
เกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือตัวของผู้เอาประกันให้
บริษัทประกันทราบเพื่อจะได้เป็นข้อมูลในการ
พิจารณาว่าสมควรจะรับประกันหรือไม่ โดยผู้
เอาประกันเป็นผู้กรองข้อมูลต่างๆ ในใบคำาขอ
3. การสำารวจโดยบริษัทประกันเพื่อนำามา
เปรียบเทียบ ถ้อยแถลงที่ผู้เอาประกันทำาไว้ว่า
ถูกต้องหรือสิ่งใดคาดเคลื่อนไปบ้าง
4. การออกกรมธรรม์ เมื่อบริษัทตกลงรับ
ประกันเรียบร้อยแร้วจะออกกรมธรรม์เพื่อเป็น
การชดใช้ค่าเสียหาย
( Indemnity)
เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น โดยปกติผู้เอา
ประกันภัยจะทำาการตกลงกับคู่กรณีไม่ได้
จะต้องแจ้งให้บริษัททราบเนื่องจาก บริษัท
จะได้ทำาการสำารวจความเสียหายนั้นๆ ดัง
นั้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้น
1. ผู้เอาประกันภัยต้องทำาการแจ้งให้
บริษัททราบทันที ซึ่งโดยปกติจะให้ผู้เอา
ประกันเขียนแผนผังและแจ้งการเกิด
อุบัติเหตุในใบแจ้งอุบัติเหตุที่ทางบริษัท
กำาหนดไว้
2. หลังจากนั้นบริษัทจะทำาการสำารวจ
และจ่ายชดใช้ความเสียหายให้ตามความ
ในการชดใช้ความเสียหายยังคงใช้หลัก
การประกันภัย เกี่ยวกับ
1. Subrogation (การสวมสิทธิ) ใน
กรณีที่ผู้เอาประกันภัยเป็นฝ่ายถูกและคู่
กรณีต้องจ่ายค่าชดใช้ความเสียหาย ใน
กรณีนี้บริษัทจะจ่ายเงินให้ผู้เอาประกันภัย
ก่อน และบริษัทสวมสิทธิของผู้เอาประกัน
เรียกร้องความเสียหายกับคู่กรณี
2. Contribution (การเฉลี่ย) ถ้ารถ
คันดังกล่าวประกันไว้หลายบริษัท และเมื่อ
เกิดความเสียหายขึ้นบริษัทผู้รับประกันจะ
ร่วมกันเฉลี่ยชดใช้ค่าเสียหายให้
3. Indemnity (การชดใช้ตามความ
ประโยชน์ของการประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์มีประโยชน์ดังนี้ คือ
1. ในกรณีของผู้เอาประกันภัย เมื่อ
ความเสียหายเกิดขึ้น ผู้เอาประกันภัยจะได้
รับค่าเสียหายจากผู้รับประกันภัย
2. รถยนต์เป็นพาหนะจำาเป็นสำาหรับผู้
ประกอบธุรกิจ เมื่อมีการประกันรถยนต์แล้ว
ทำาให้ผู้ประกอบธุรกิจใช้รถยนต์ด้วยความ
มั่นใจยิ่งขึ้น และทำาให้ธุรกิจดำาเนินไปด้วย
ความรวดเร็วทันใจ
3. ทำาให้ผู้ที่มีเงินน้อยสามารถซื้อ
รถยนต์ใช้ โดยการผ่อนส่ง และ
บริษัทขายรถยนต์จะใช้วิธีประกันรถยนต์
4. ในทางสังคม การประกันภัย
รถยนต์เป็นหลักประกันสังคมอย่างหนึ่ง
เพราะการประกันรถยนต์ป้องกันสวัสดิภาพ
และทรัพย์สินของประชาชน
5. ทำาให้มีธุรกิจอีกประเภทหนึ่งเกิด
ขึ้นอย่างกว้างขว้าง เป็นทางหนึ่งที่ช่วย
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพราะช่วยให้
คนมีงานทำามากขึ้น มีเงินไปลงทุนมากขึ้น
3. การประกันภัยทางทะเล (Marine
Insurance)
การประกันภัยความเสียหายของ
ตัวเรือ สินค้าและทรัพย์สินที่อยู่ระหว่าง
การขนส่งภายในประเทศและระหว่าง
ประเทศ รวมทั้งพาหนะและสิ่งอื่นๆ ที่ใช้
ในการขนส่งด้วยและยังขยายขอบเขต
ความคุ้มครองรวมไปถึงภัยทางบกและ
ความสูญเสียในขณะขนส่ง
ความเป็นมาของประกันภัยทางทะเล
การประกันภัยการขนส่งทางทะเลได้
เจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็วในประเทศ
อังกฤษ เมื่อศตวรรษที่ 17 ทั้งนี้เนื่องจาก
ประเทศอังกฤษในสมัยนั้น มีการค้าขายทาง
ทะเลมากกว่าประเทศใดในยุโรปพ่อค้าจึงมี
โอกาสพบปะพูดคุยกิจการค้ากันที่ร้านกาแฟ
ต่างๆ ในกรุงลอนดอน และใช้เป็นสถานที่
เจรจาต่อรองของผู้เอาประกันภัยและผู้รับ
ประกันด้วย ร้านกาแฟร้านหนึ่งก็มีพ่อค้า
พบปะเจรจากันมากก็คือ ร้านของนายเอ็ด
เวิด ลอยด์ (Edward Lloyd) โดยเขา
ผู้มีส่วนได้เสียที่อาจเอาประกันได้ (Insurable
Interest)
ความมุ่งหมายของการประกันภัยทาง
ทะเล ก็เพื่อให้ความคุ้มครองแก่ทรัพย์สินที่
ต้องสูญหายหรือเสียหาย เพื่อให้ผู้เอาประกัน
ซึ่งมีส่วนได้เสียในทรัพย์ที่เอาประกันภัยขณะ
เกิดความเสียหายหรือสูญหายได้ กลับคืน สู่
สถานะเดิมเหมือนก่อนเกิดภัย ผู้รับประกันภัย
จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกัน
ภัย หรือ ผู้มีส่วนได้เสียในสินค้าหรือทรัพย์สิน
ในขณะเกิดความเสียหายตามขอบเขต และ
เงื่อนไขที่กำาหนดไว้ในกรรมธรรม์ประกันภัย
สำาหรับความสูญเสีย หรือ
ผู้มีส่วนได้เสียที่อาจเอาประกันภัยได้ ได้แก่
1. เจ้าของ (Owner) ผู้เป็นเจ้าของ
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินไม่ว่าจะเป็นสินค้า
หรือเรือที่ใช้ในการขนส่ง ย่อมจะเอา
ประกันภัยได้เท่ากับราคาของทรัพย์สินนั้น
สำาหรับผู้เป็นเจ้าของหรือยังอาจเอาประกัน
ภัยได้ถึงค่าระวางที่ตนได้รับด้วย ส่วนผู้เป็น
เจ้าของสินค้าก็อาจเอาประกันภัยกำาไรที่จะ
ได้รับจากการขายสินค้านั้นด้วย (โดยปกติ
บวกกำาไรอีก 10% ของราคาที่ขาย)
2. ผู้ครอบครอง (Procession) คือ ผู้ที่
ได้รับมอบหมายให้ควบคุมดูแลทรัพย์ ซึ่ง
ได้แก่ ผู้เช่าเรือ ผู้รับมอบหมายให้ทำาการ
3. ผู้รับจำานองและผู้รับจำานำา
(Morgagee) ผู้รับจำานองเรือ เจ้าหนี้ของผู้
เป็นเจ้าของเรือหรือสินค้าที่อยู่ในระหว่าง
การขนส่ง ย่อมมีส่วนได้เสียที่อาจเอาประกัน
ภัยได้เท่ากับจำานวนหนี้
4. ผู้ขนส่ง (Carrier) ผู้ขนส่งมีความรับ
ชอบในความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดขึ้น
แก่ทรัพย์สินหรือสินค้าที่ผู้ขนส่งทำาการขนส่ง
จึงมีส่วนได้เสียที่อาจเอาประกันได้เท่ากับ
ราคาทรัพย์สินนั้นและอาจเอาประกันค่า
ระวาง ค่าขนส่ง และนายหน้าที่พึงได้รับใน
การขนส่งได้ด้วย
5. ผู้รักษาผลประโยชน์ของเจ้าหนี้
6. ตัวแทน (Agent) ตัวแทนย่อมเข้าทำา
สัญญาประกันภัยในนามของตัวการผู้มีส่วน
ได้เสียในทรัพย์สินนั้นได้ แต่ต้องระบุว่า
ทำาการแทนตัวการตามอำานาจที่ได้รับมอบไว้
7. ผู้รับตราส่ง (Consignee) ในกรณีที่ผู้
ซื้อสินค้าหรือผู้รับตราส่งต้องรับผิดชอบเอง
ในความเสียหาย หรือสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นแก่
ทรัพย์สินที่ถูกส่งมาให้ จึงมีส่วนได้เสียเท่ากับ
จำานวนเงินที่ได้จ่ายไปล่วงหน้าแก่ผู้ซื้อหรือ
เท่าราคาสิทธิ แล้วแต่กรณี
ประเภทของการประกันภัยทางทะเล
1. การประกันภัยตัวเล็กเรือเป็นการประกัน
ตัวเรือที่ใช้ขนส่งรวมถึงผลประโยชน์ของ
เจ้าของเรือ ซึ่งบริษัทรับประกันให้ความ
คุ้มครองดังนี้
- ความสูญเสียหรือความเสียหายแก่ตัว
เรือ และเครื่องยนต์ประจำาเรือ
- ความสูญเสียรายได้ทั้งที่ประจำาอยู่หรือ
รายได้ที่คาดว่าจะได้ในอนาคต
- การรับผิดชอบต่อบุคคลที่สาม
2. การประกันสินค้า เป็นการประกันสินค้าหรือ
ทรัพย์สินอันได้แก่ สินค้าที่ได้ทำาการขนส่งทางทะเล
หรือทางนำ้าจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง ซึ่งมีการ
คุ้มครองดังนี้
- T.L.O. (Total Loss Onty) รับผิดชอบสินค้าที่
ได้รับความเสียหายโดยสิ้นเชิง อันเนื่องมาจาก
เรือเกยหาด จมทั้งลำา ไฟไหม้
- F.P.A. (Free of Particular Average)
คุ้มครองความเสียหายที่เกิดจากเรือที่ใช้ขน
สินค้าประสบอุบัติเหตุจากไฟไหม้ ระเบิด ชนกัน
- W.A. (With Average) ความเสียหายเกิดจาก
ภัยธรรมชาติ เช่น พายุ คลื่นลม ฯลฯ
- A.R. (All Risk) คุ้มครองความเสียหายจาก
สินค้าทุกประเภทที่มีสาเหตุจากภายนอกและเป็น
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดหมายระหว่าง
หลักในการพิจารณารับประกัน
เพื่อช่วยให้ผู้พิจารณารับประกัน (Under-Writer)
ได้คิดเบี้ยประกันได้ถูกต้องและเหมาะสมตัวแทนหรือ
นายควรสอบถามข้อมูลต่าง ๆ ดังต่อไปนี้จากลูกค้า
หรือผู้เอาประกัน เพื่อใช้ประกอบการขอเอาประกัน
ทุกครั้ง
1. ชื่อและที่อยู่ของผู้เอาประกัน
2. จำานวนทุนประกัน และระบุราคาสินค้าด้วย
ว่าเป็นราคา หรือ
3. รายละเอียดของสินค้า เครื่องหมาย ประเภท
และจำานวนหีบห่อ
4. ลักษณะการบรรจุหีบห่อ ซึ่งอาจเป็นลัง เป็น
ชิ้น หรือเป็นกระสอบ
5. ชื่อเรือที่จะระบรรทุกสินค้า วันที่กำาหนดออก
เดินทางจากเมืองท่าต้นทางวันที่ถึงเมืองท่าปลายทาง
การชดใช้ค่าเสียหาย (Indemnity)
เมื่อสินค้าหรือทรัพย์สินที่เอาประกัน
เกิดความเสียหายขึ้นและความเสียหายเป็น
ความเสียหายที่อยู่ในความคุ้มครองของ
กรมธรรม์ ผู้เอาประกันจะต้องแจ้งให้ตัวแทน
ของบริษัทประกันหรือตัวแทน ณ เมืองที่ขน
สินค้าลงทราบทันที เพื่อทำาการสำารวจตรวจ
สอบความเสียหายที่เกิดขึ้นและควรยื่นพร้อม
ทั้งสำารวจการเสียหาย (Survey Report)
 
ประโยชน์ของการประกันภัยทางทะเล
การประกันภัยทางทะเลมีประโยชน์
คือ
1. เป็นการช่วยนะดมทุน ซึ่งเป็นปัจจัย
สำาคัญในการพัฒนาประเทศ เบี้ยประกันได้
จากผู้เอาประกัน บริษัทก็เอาไปลงทุนหา
ประโยชน์ ทำาให้มีเงินตราที่จะพัฒนา
ประเทศได้ดีขึ้น
2. มีการค้าขายติดต่อกับทั่วโลกมากขึ้น
เพราะว่า พ่อค้าเห็นว่ามีความเสี่ยงภัยใน
การขนส่งน้อยลง
3. การเสียหายของสินค้าเนื่องจากภัยทาง
ทะเล เป็นไปโดยเปล่าประโยชน์เป็นการ
4. การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
(Miscellaneous Insurance)
คือ การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง
ต่อความสูญเสียหรือความหายอันเนื่องมา
จากภัยอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนือจากการ
คุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์
ประกันภัยทางทะเล ประกันภัยอัคคีภัยและ
ประกันชีวิต
ความเป็นมาของประกันภัยเบ็ดเตล็ด
การประกันภัยเบ็ดเตล็ด หรือที่เรียกกัน
“อีกชื่อหนึ่งว่า การ
ประกันภัยอุบัติเหตุ ” (Accident Insurance)
ซึ่งได้มีการทดลองหลักเกณฑ์ในลักษณะที่
แตกต่างกันมาตั้งแต่ก่อนศตวรรษที่ 19 ซึ่ง
เริ่มต้นด้วยการประกันภัยปศุสัตว์
(Livestock Insurance) แต่การประกันภัย
ประเภทนี้ไม่ประสบความสำาเร็จเท่าที่ควร
ทั้งนี้เนื่องจากว่าผู้เอาประกันภัยส่วนใหญ่
เป็นกสิกร และให้กระทำาโดยสัญญาของผล
ประโยชน์ร่วมกันในระหว่างกสิกรด้วยกัน
ต่อมาใน ค.ศ. 1787 นายวิลเลี่ยม เวลเลอร์
ประโยชน์ของการประกันภัยเบ็ดเตล็ด
ประโยชน์ของการประกันภัยเบ็ดเตล็ดแตก
ต่างจากการประกันภัยประเทศอื่นๆ อยู่ที่
ขอบข่ายครอบคลุมของการประกันภัย
เบ็ดเตล็ดนั้นกว้างขวางมาก ซึ่งเปิดโอกาส
ให้แก่ผู้รับประกันภัยในการที่จะคิดค้น
กรมธรรม์แบบใหม่ๆ เพื่อนำามาเสนอความ
ต้องการของผู้เอาประกันภัยที่เปลี่ยนแปลง
ไป ตามสภาพเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การประกันภัยเบ็ดเตล็ดมีประโยชน์ เช่น
เดียวกับการประกันภัย
ประเภทอื่น ๆ คือ
1. ช่วยสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม
2. ช่วยส่งเสริมระบบเครดิต
3 .สนับสนุนให้เกิดการลงทุน
4. ทำาให้การแข่งขันทางด้านการ
ตลาดการประกันภัยมี ความ
เสมอภาคยิ่งขึ้น
5. ช่วยให้มีการะดมทุน
6. ช่วยส่งเสริมการป้องกันภัย
7. ทำาให้ผู้เอาประกันภัยมีความมั่นคง
มั่นใจในการดำาเนินธุรกิจ พ้นจากความ
ประเภทของการประกันภัยเบ็ดเตล็ด
การประกันภัยเบ็ดเตล็ดที่ดำาเนินการรับ
ประกันอยู่มีมาก สุดแต่ความประสงค์ขิงผู้
เอาประกัน แต่อย่างไรก็ตามประเภทของ
การประกันภัยเบ็ดเตล็ดแบ่งเป็น 5 กลุ่ม
1. การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง
เกี่ยวกับบุคคล
2. การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง
เกี่ยวกับทรัพย์สิน
3. การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง
เกี่ยวกับงานวิศวกรรม
4. การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครอง
เกี่ยวกับความรับผิดชอบ ตามกฎหมาย

More Related Content

What's hot

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1Napatrapee Puttarat
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าDuangsuwun Lasadang
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
สไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีที
สไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีทีสไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีที
สไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีทีPHASINA KHWAN-ON
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535somdet mahasamithi
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทยi_cavalry
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้tonsocial
 
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาPeera Chumintharajak
 
Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...
Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...
Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...Square75
 

What's hot (20)

สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้าใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
ใบความรู้ เรื่องการรีดผ้า
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
สไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีที
สไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีทีสไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีที
สไปรอลซีทีมัลติสไลซ์ซีที
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
มารยาทไทย
มารยาทไทยมารยาทไทย
มารยาทไทย
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ภาคใต้
ภาคใต้ภาคใต้
ภาคใต้
 
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
 
Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...
Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...
Condamnation dans l'affaire Thierry Lacoste contre Robert Eringer. Ordonnance...
 

Viewers also liked

บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งchakaew4524
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งchakaew4524
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตchakaew4524
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยonchuda
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ chakaew4524
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แchakaew4524
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61Manow Butnow
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยาchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศExim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศWannarat Wattananimitkul
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ดchakaew4524
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย Saharat Yimpakdee
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 

Viewers also liked (20)

บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิต
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัย
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แ
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศExim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
Exim11การประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
 
SlideBus226
SlideBus226SlideBus226
SlideBus226
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 

Similar to บทที่ 5 วินาศภัย

ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553tiffany14021975
 
ทำอย่างไร
ทำอย่างไรทำอย่างไร
ทำอย่างไรtanutta
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยคิง เกอร์
 
คปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยคปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยChanakan Sukha
 
การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์KruPor Sirirat Namthai
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )Maneerat Amrapal
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยRungnapa Rungnapa
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance KnowledgePao Nanu
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 

Similar to บทที่ 5 วินาศภัย (13)

ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
 
ทำอย่างไร
ทำอย่างไรทำอย่างไร
ทำอย่างไร
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
 
คปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยคปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัย
 
Doc2
Doc2Doc2
Doc2
 
การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance Knowledge
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 

More from chakaew4524

หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตchakaew4524
 

More from chakaew4524 (8)

หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิต
 

บทที่ 5 วินาศภัย