SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การประกันภัยตาม พ.ร.บ. จากผู้ประสบภัยจากรถ
การประกันชีวิต
จัดทาโดย
1. นางสาว สุชาดา ฉุนเฉียว เลขที่ 22
2. นางสาว นิรชา บุญยะรัตน์ เลขที่ 28
ชั้น ม.6/1
นาเสนอ
อาจารย์ ศิริลักษณ์ นาไทย
การประกันชีวิต คืออะไร
การประกันชีวิต เป็นวิธีการที่บุคคลกลุ่ม หนึ่ง ร่วมกันเฉลี่ยภัย
อันเนื่องจากการตาย การสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และการ
สูญเสียรายได้ในยามชรา โดยที่เมื่อบุคคลใดต้องประสบกับ
ภัยเหล่านั้น ก็ได้รับเงินเฉลี่ยช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความ
เดือดร้อนแก่ตนเองและครอบครัว
โดยบริษัทประกันชีวิตจะทาหน้าที่เป็นแกนกลาง
ในการนาเงินก้อนดังกล่าวไปจ่ายให้แก่ผู้ได้รับภัย
การประกันชีวิต แยกออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ
1. ประเภทสามัญ เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยค่อนข้างสูง ตั้งแต่
50,000 บาทขึ้นไป เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางขึ้นไป ในการพิจารณา
รับประกันชีวิตอาจจะมีการตรวจสุขภาพหรือไม่ตรวจสุขภาพ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ
ของบริษัท และมีการชาระเบี้ยประกันภัยเป็นรายปี, ราย 6 เดือน, ราย 3 เดือน หรือ
หรือรายเดือน
2. ประเภทอุตสาหกรรม เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยต่า
โดยทั่วไปตั้งแต่10,000 - 30,000 บาท เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางถึงราย
ได้ต่า การชาระเบี้ยประกันภัยจะชาระเป็นรายเดือน และไม่มีการตรวจ
สุขภาพ ฉะนั้นจึงมีระยะเวลารอคอย คือ ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต
ด้วยโรคภัยไข้เจ็บตามธรรมชาติ บริษัทจะไม่จ่ายจานวนเงินเอา
ประกันภัยให้ แต่จะคืนเบี้ยประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัย
ได้ชาระมาแล้วทั้งหมด
3. ประเภทกลุ่ม เป็นการประกันชีวิตที่กรมธรรม์หนึ่งจะมีผู้เอาประกันชีวิตร่วมกัน
ตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ส่วนมากจะเป็นกลุ่มของพนักงานบริษัท ในการพิจารณา
รับประกันอาจจะมีการตรวจสุขภาพหรือไม่ตรวจก็ได้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท
การประกันชีวิตกลุ่มนี้อัตราเบี้ยประกันชีวิตจะต่ากว่าประเภทสามัญและประเภท
อุตสาหกรรม
แบบของการประกันชีวิต
การประกันชีวิตมีมากมายหลายแบบ แต่ละแบบจะมีลักษณะความ
คุ้มครองและผลประโยชน์แตกต่างกันออกไป แบบการประกันชีวิต
พื้นฐานมีอยู่ 4 แบบคือ
1. แบบตลอดชีพ เป็น การประกันชีวิตที่ให้ความคุ้มครองตลอดชีพ
ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตเมื่อใดในขณะที่กรมธรรม์มีผลบังคับ
บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภัย ให้แก่ผู้รับประโยชน์
วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการประกันภัยแบบนี้เพื่อจัดหาเงินทุน
สาหรับจุนเจือ บุคคลที่อยู่ในความอุปการะเมื่อผู้เอาประกันภัย
เสียชีวิต หรือเพื่อเป็นเงินทุนสาหรับการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย
และค่าทาศพ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ตกเป็นภาระของคนอื่น
2. แบบสะสมทรัพย์เป็น การประกันชีวิตที่บริษัทจะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้
เอาประกันภัย เมื่อมีชีวิตอยู่ครบกาหนดสัญญา หรือจ่ายเงินเอาประกันภัย ให้แก่ผู้รับ
ประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตลงภายในระยะเวลาประกัน ภัย การประกันชีวิต
แบบสะสมทรัพย์เป็นส่วนผสมของการคุ้มครองชีวิตและการออมทรัพย์ ส่วนของการออม
ทรัพย์ คือส่วนที่ผู้เอาประกันภัยได้รับคืนเมื่อสัญญาครบกาหนด
3. แบบชั่วระยะเวลา เป็น การประกันชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงิน
ให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้ เอาประกันภัยเสียชีวิต
ในระยะเวลาประกันภัย วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครอง การเสียชีวิตก่อน
วัยอันสมควร การประกันชีวิตแบบนี้ไม่มีส่วนของการออมทรัพย์
เบี้ยประกันภัยจึงต่ากว่าแบบอื่น ๆ และไม่มีเงินเหลือคืนให้หากผู้
เอาประกันภัยอยู่จนครบกาหนดสัญญา
4. แบบเงินได้ประจา เป็น การประกันชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหนึ่ง
เท่ากันอย่างสม่า เสมอให้แก่ผู้เอาประกันภัยทุกเดือน นับแต่ผู้เอาประกันภัยเกษียณอายุ
หรือมีอายุครบ 55 ปี หรือ 60 ปี เป็นต้นไป แล้วแต่เงื่อนไขในกรมธรรม์ที่กาหนดไว้ สาหรับ
ระยะเวลาการจ่ายเงินได้ประจานี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้เอา ประกันชีวิตที่จะเลือก
ซื้อ
ประโยชน์ของการทาประกันชีวิต รูป แบบของกรมธรรม์ จะมีหลาย
รูปแบบและตั้งชื่อเป็ นนามเฉพาะของแต่ละบริษัท ทุกรูปแบบพร้อมอัตรา
เบี้ยประกันภัยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน ประกันชีวิต
(อธิบดีกรมการประกันภัย) ก่อนจะนาเสนอขายแก่ประชาชน แต่โดย
หลักวิชาการ ไม่ว่าจะเป็ นกรมธรรม์รูปแบบใดหรือชื่ออะไรก็ตาม จะอยู่
ภายใต้แบบของการประกันชีวิตรวม 4 แบบคือ
1. แบบชั่วระยะเวลา ให้ความคุ้มครองในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่กาหนดไว้ในกรมธรรม์ โดย
โดยบริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนเงินเอาประกันภัยให้ผู้รับประโยชน์ ถ้าผู้เอาประกันภัย
ประกันภัยเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้นั้น
2. แบบตลอดชีพ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนเงินเอาประกันภัย ให้ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่
กรณีที่ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ไม่ว่าจะเสียชีวิตเมื่อใดก็ตาม
** ทั้งแบบ 1 และแบบ 2 เป็นการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัย
เสียชีวิตแล้ว เท่านั้น
3. แบบสะสมทรัพย์ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนที่เอาประกันภัยไว้ ให้แก่ผู้รับ
ประโยชน์ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ หรือจ่ายเงินเอา
ประกันชีวิตให้แก่ผู้เอาประกันภัยในกรณีที่มีชีวิตอยู่รอด พ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้
4. แบบเงินได้ประจา บริษัทจะจ่ายเงินได้ประจา หรือเงินบานาญให้แก่ผู้เอา
ประกันภัยโดยเริ่มจ่ายตั้งแต่วันที่ผู้เอาประกัน ภัยไม่สามารถประกอบอาชีพได้
ตามปกติเนื่องจากความชรา ไปจนถึงวันที่กาหนดไว้ (อาจเป็นชั่วระยะเวลาหนึ่ง
หรือตลอดอายุก็ได้)
** แบบ 3 ส่วนท้าย และแบบ 4 เป็นการจ่ายเงินโดยมีเงื่อนไขว่าผู้เอาประกันภัยต้องมี
ชีวิตรอดอยู่จนพ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้
ขั้นตอนดาเนินการ
1. ติดต่อบริษัทประกันชีวิตได้โดยตรงหรือผ่านตัวแทนหรือนายหน้าประกันภัย
2. เลือกแบบประกันชีวิตที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ
3. วงเงินเอาประกันภัยที่ต้องการ โดยพิจารณาประกอบกับรายได้ประจาที่ได้รับ และ
กาลังความสามารถในการส่งเบี้ยประกันภัย
4. กรอกราย ละเอียดเกี่ยวกับตัวท่านในแบบคาขอเอาประกันชีวิต โดยแถลงความ
จริงทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติการรักษาพยาบาลและคาแถลงเกี่ยวกับ
สุขภาพ เพราะการปิดบังในสาระสาคัญเหล่านี้จะเป็นเหตุให้ไม่ได้รับความ
คุ้มครองตาม กรมธรรม์
5. ใน กรณีที่ตัวแทนเป็นผู้กรอกแบบคาขอเอาประกันชีวิตแทนท่าน ให้ตรวจสอบ
ความถูกต้องก่อนลงชื่อในแบบคาขอเมื่อได้รับกรมธรรม์ ควรตรวจสอบความ
ถูกต้อง หากพบข้อมูลที่ผิด เช่น ชื่อผู้รับประโยชน์หรือชื่อผู้เอาประกันภัยผิดพลาด
ฯลฯ ให้ทักท้วงบริษัทเพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง
6. จ่าย ค่าเบี้ยประกันชีวิตตามกาหนดทุกครั้ง โดยติดต่อชาระที่บริษัท สาขา หรือ
ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน หรือผ่านธนาคารในกรณีชาระผ่านตัวแทนของบริษัท
ให้เรียกใบเสร็จรับเงินตามแบบพิมพ์ของบริษัทเก็บไว้เป็นหลักฐานทุกครั้ง
7.แจ้งให้ผู้รับประโยชน์ตามที่ระบุชื่อในกรมธรรม์ หรือบุคคลในครอบครัวทราบ
ถึงการทาประกันชีวิต และสถานที่เก็บกรมธรรม์
8. ติดต่อ สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
(คปภ.) สานักงาน คปภ.เขต สานักงาน คปภ.ภาค และสานักงาน
คปภ. จังหวัด ทุกครั้งที่มีปัญหา
ขั้นตอนและหลักฐานในการขอรับเงินผลประโยชน์ ตามกรมธรรม์ประกันชีวิต หรือ
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ในการขอรับเงินผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ หรือที่
เข้าใจกันทั่วไปว่าเป็ นการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้น ให้ดาเนินการดังนี้
1. ติดต่อบริษัทประกันภัยให้เร็วที่สุด
2. กรณีผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จะแยกเป็นกรณีตามสาเหตุของการเสียชีวิต ดังนี้
2.1 เสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บ
** ต้องแจ้งให้ทราบภายใน 14 วัน และเตรียมหลักฐานประกอบด้วย
(1) กรมธรรม์ประกันชีวิต (ถ้าหายให้แจ้งความแล้วนาสาเนา รายงานประจาวันรับแจ้งเอกสาร
เอกสารหายไปแสดงแทน)
(2) ใบเสร็จรับเงินงวดสุดท้าย
(3) ใบมรณบัตรของผู้เอาประกันภัย
(4) ทะเบียนบ้านของผู้รับประโยชน์
(5) บัตรประชาชนของผู้รับประโยชน์
2.2 เสียชีวิตโดยฆ่าตัวตาย
* เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม
สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ
ใบชันสูตรพลิกศพ
2.3 เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ
* เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม
สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ
สาเนาบันทึกประจาวันหลังกลับจากสถานที่เกิดเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ
ใบชันสูตรพลิกศพ
3. กรณีเรียกร้องค่ารักษาพยาบาล ทุพพลภาพ และสูญเสียอวัยวะ
* แจ้งบริษัททราบภายใน 10 วัน และเตรียมหลักฐานดังนี้
(1) กรอกแบบฟอร์มใบเรียกร้องค่าทดแทนของบริษัท
(2) ใบเสร็จรับเงินค่ารักษาพยาบาลที่ระบุวันเริ่มต้น และวันสุดท้ายในการ
รักษาตัวในโรงพยาบาล
(3) อื่น ๆ เช่น ฟิล์มเอ็กซซเรย์
4. กรณีกรมธรรม์ครบกาหนด
ในกรณีเป็นการประกันชีวิต ประเภทสะสมทรัพย์ที่มีเงินคืนเมื่อกรมธรรม์
ครบกาหนด ให้ดาเนินการและเตรียมหลักฐาน
(1) ติดต่อบริษัทประกันภัย
(2) กรมธรรม์ประกันชีวิต
(3) บัตรประชาชนของผู้เอาประกันภัย
การยกเว้นการจ่ายเงินเอาประกันชีวิต ข้อจากัดบางประการที่บริษัทประกันชีวิตยกเว้น
การจ่ายเงินเอาประกัน จากสาเหตุการตายดังนี้
1. ผู้รับประโยชน์ฆ่าผู้เอาประกันตาย
2. ผู้เอาประกันฆ่าตัวตายภายใน 1 ปี นับจากวันทาสัญญาหรือวันต่ออายุสัญญาครั้งสุดท้าย
สุดท้าย
ความตายที่เกิดจากสาเหตุข้างต้นดังกล่าว บริษัทประกันชีวิตจะไม่จ่ายจานวนเงินเอาประกันชีวิต
ประกันชีวิตให้ แต่จะคืนเบี้ยประกันชีวิต
ที่ได้ชาระมาแล้วทั้งหมดเท่านั้น
หน้าที่ของผู้เอาประกันต้องชาระเบี้ยประกัน ถ้า หากตัวแทนของบริษัทประกันชีวิต
ยังไม่มาเก็บเงิน ตามกฎหมายจะถือว่าเป็นหน้าที่ของผู้เอาประกันชีวิตจะต้องไปชาระที่
ชาระที่สาขาของ บริษัทด้วยตนเอง หรือส่งเป็นธนาณัติ เช็คและเพื่อที่บริษัทจะได้ส่ง
ส่งใบเสร็จรับเงินมาให้อย่างถูกต้อง ท่านจาเป็นต้องเขียนที่อยู่ของท่านให้ถูกต้อง เพื่อมิ
เพื่อมิให้เสียโอกาสและประโยชน์
ระยะเวลาผ่อนผันการชาระเบี้ยประกัน ผู้เอาประกันชีวิตมีสิทธิที่จะได้รับการผ่อนผัน
การชาระเงินได้โดยการยืดระยะเวลาได้ประมาณ 30 หรือ 60 วัน
เบี้ยประกันชีวิตกับการหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคล ผู้เอาประกันชีวิตสามารถ
นามาหักภาษีรายได้บุคคลได้โดยรัฐบาลได้เพิ่มจานวนเงิน เบี้ยประกันชีวิตที่สามารถ
สามารถนาไปหักภาษีได้ไม่เกิน 100,000 บาท
คาถาม
1. ประกันชีวิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อะไร
1. กรมธรรน 2. ประกันภัย
3. ประกันอุบัติเหตุ 4. ผู้เอาประกันภัย
2. ประกันชีวิตแยกออกเป็นกี่ประเภท
1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท
3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท
เฉลย
1. ตอบ 4. ผู้เอาประกันภัย
2. ตอบ 1. 3 ประเภท

More Related Content

Viewers also liked

Indoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, Australia
Indoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, AustraliaIndoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, Australia
Indoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, AustraliaVC LIVING
 
ชื่อ (Autosaved)
ชื่อ (Autosaved)ชื่อ (Autosaved)
ชื่อ (Autosaved)Ekapong Tor
 
Workshop social media trends 2014
Workshop social media trends 2014Workshop social media trends 2014
Workshop social media trends 2014Refreshed
 
Sport events
Sport eventsSport events
Sport eventspilif25
 
Farsang2009
Farsang2009Farsang2009
Farsang2009krizma
 
European grand prix (F-1 Race)
European grand prix (F-1 Race)European grand prix (F-1 Race)
European grand prix (F-1 Race)Jessica Ampater
 
A SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTS
A SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTSA SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTS
A SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTSZac Darcy
 
Vidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadam
Vidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadamVidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadam
Vidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadamFinanšu ministrija
 
Whats ahead for the economy ASA
Whats ahead for the economy ASAWhats ahead for the economy ASA
Whats ahead for the economy ASAAdel Abouhana
 
A New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal Scheme
A New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal SchemeA New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal Scheme
A New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal SchemeZac Darcy
 

Viewers also liked (20)

Mlm numis
Mlm numisMlm numis
Mlm numis
 
Indoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, Australia
Indoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, AustraliaIndoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, Australia
Indoor and Outdoor Furniture Line at VC Living, Australia
 
ชื่อ (Autosaved)
ชื่อ (Autosaved)ชื่อ (Autosaved)
ชื่อ (Autosaved)
 
Workshop social media trends 2014
Workshop social media trends 2014Workshop social media trends 2014
Workshop social media trends 2014
 
Timehin_James CV
Timehin_James CVTimehin_James CV
Timehin_James CV
 
Industry 4.0-sgd-mar-2016
Industry 4.0-sgd-mar-2016Industry 4.0-sgd-mar-2016
Industry 4.0-sgd-mar-2016
 
โครงงานคอมพ์
โครงงานคอมพ์โครงงานคอมพ์
โครงงานคอมพ์
 
Vin fb2
Vin fb2Vin fb2
Vin fb2
 
Novinco
NovincoNovinco
Novinco
 
Sport events
Sport eventsSport events
Sport events
 
Elite stuff
Elite stuffElite stuff
Elite stuff
 
Farsang2009
Farsang2009Farsang2009
Farsang2009
 
Gfs artemisia
Gfs artemisiaGfs artemisia
Gfs artemisia
 
European grand prix (F-1 Race)
European grand prix (F-1 Race)European grand prix (F-1 Race)
European grand prix (F-1 Race)
 
Computer concrete
Computer concreteComputer concrete
Computer concrete
 
A SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTS
A SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTSA SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTS
A SIGNATURE ALGORITHM BASED ON DLP AND COMPUTING SQUARE ROOTS
 
PerlTeX
PerlTeXPerlTeX
PerlTeX
 
Vidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadam
Vidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadamVidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadam
Vidēja termiņa budžeta ietvara likumprojekts 2015.–2017.gadam
 
Whats ahead for the economy ASA
Whats ahead for the economy ASAWhats ahead for the economy ASA
Whats ahead for the economy ASA
 
A New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal Scheme
A New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal SchemeA New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal Scheme
A New Signature Protocol Based on RSA and Elgamal Scheme
 

Similar to งานคอมประก นภ ย

คปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยคปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยChanakan Sukha
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance KnowledgePao Nanu
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย Saharat Yimpakdee
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61Manow Butnow
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัยBank Kitsana
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )Maneerat Amrapal
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชลประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชลNisachon Siwongssa
 
ทำอย่างไร
ทำอย่างไรทำอย่างไร
ทำอย่างไรtanutta
 
การประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไรการประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไรKruPor Sirirat Namthai
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3thaitrl
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1thaitrl
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2thaitrl
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 

Similar to งานคอมประก นภ ย (20)

คปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัยคปภ ประกันภัย
คปภ ประกันภัย
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance Knowledge
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัย
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชลประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
ทำอย่างไร
ทำอย่างไรทำอย่างไร
ทำอย่างไร
 
การประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไรการประกันชีวิตคืออะไร
การประกันชีวิตคืออะไร
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
what
whatwhat
what
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
 
งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า
งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋างานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า
งานนำเสนอ1 นะดา-จ๋า
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 

More from DiZz Tang Art Zii

น.ส. สุธารัตน์ น.ส. นิรชา ม.6/1
น.ส. สุธารัตน์  น.ส. นิรชา  ม.6/1น.ส. สุธารัตน์  น.ส. นิรชา  ม.6/1
น.ส. สุธารัตน์ น.ส. นิรชา ม.6/1DiZz Tang Art Zii
 
น.ส.สุชาดา ฉุนเฉียว น.ส. สุปรียา ชวลา
น.ส.สุชาดา  ฉุนเฉียว  น.ส. สุปรียา  ชวลาน.ส.สุชาดา  ฉุนเฉียว  น.ส. สุปรียา  ชวลา
น.ส.สุชาดา ฉุนเฉียว น.ส. สุปรียา ชวลาDiZz Tang Art Zii
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวDiZz Tang Art Zii
 
ประวัติส่วนตัว ชิ
ประวัติส่วนตัว  ชิประวัติส่วนตัว  ชิ
ประวัติส่วนตัว ชิDiZz Tang Art Zii
 

More from DiZz Tang Art Zii (10)

น.ส. สุธารัตน์ น.ส. นิรชา ม.6/1
น.ส. สุธารัตน์  น.ส. นิรชา  ม.6/1น.ส. สุธารัตน์  น.ส. นิรชา  ม.6/1
น.ส. สุธารัตน์ น.ส. นิรชา ม.6/1
 
น.ส.สุชาดา ฉุนเฉียว น.ส. สุปรียา ชวลา
น.ส.สุชาดา  ฉุนเฉียว  น.ส. สุปรียา  ชวลาน.ส.สุชาดา  ฉุนเฉียว  น.ส. สุปรียา  ชวลา
น.ส.สุชาดา ฉุนเฉียว น.ส. สุปรียา ชวลา
 
งานรอแก
งานรอแก งานรอแก
งานรอแก
 
งานคอม บท2
งานคอม บท2งานคอม บท2
งานคอม บท2
 
งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
งาน ม.5
งาน ม.5งาน ม.5
งาน ม.5
 
Suchada (1)
Suchada (1)Suchada (1)
Suchada (1)
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ประวัติส่วนตัว ชิ
ประวัติส่วนตัว  ชิประวัติส่วนตัว  ชิ
ประวัติส่วนตัว ชิ
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 

งานคอมประก นภ ย

  • 1. การประกันภัยตาม พ.ร.บ. จากผู้ประสบภัยจากรถ การประกันชีวิต จัดทาโดย 1. นางสาว สุชาดา ฉุนเฉียว เลขที่ 22 2. นางสาว นิรชา บุญยะรัตน์ เลขที่ 28 ชั้น ม.6/1 นาเสนอ อาจารย์ ศิริลักษณ์ นาไทย
  • 2. การประกันชีวิต คืออะไร การประกันชีวิต เป็นวิธีการที่บุคคลกลุ่ม หนึ่ง ร่วมกันเฉลี่ยภัย อันเนื่องจากการตาย การสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และการ สูญเสียรายได้ในยามชรา โดยที่เมื่อบุคคลใดต้องประสบกับ ภัยเหล่านั้น ก็ได้รับเงินเฉลี่ยช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความ เดือดร้อนแก่ตนเองและครอบครัว โดยบริษัทประกันชีวิตจะทาหน้าที่เป็นแกนกลาง ในการนาเงินก้อนดังกล่าวไปจ่ายให้แก่ผู้ได้รับภัย
  • 3. การประกันชีวิต แยกออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ 1. ประเภทสามัญ เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยค่อนข้างสูง ตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางขึ้นไป ในการพิจารณา รับประกันชีวิตอาจจะมีการตรวจสุขภาพหรือไม่ตรวจสุขภาพ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของ ของบริษัท และมีการชาระเบี้ยประกันภัยเป็นรายปี, ราย 6 เดือน, ราย 3 เดือน หรือ หรือรายเดือน 2. ประเภทอุตสาหกรรม เป็นการประกันชีวิตที่มีจานวนเงินเอาประกันภัยต่า โดยทั่วไปตั้งแต่10,000 - 30,000 บาท เหมาะสาหรับผู้ที่มีรายได้ปานกลางถึงราย ได้ต่า การชาระเบี้ยประกันภัยจะชาระเป็นรายเดือน และไม่มีการตรวจ สุขภาพ ฉะนั้นจึงมีระยะเวลารอคอย คือ ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ด้วยโรคภัยไข้เจ็บตามธรรมชาติ บริษัทจะไม่จ่ายจานวนเงินเอา ประกันภัยให้ แต่จะคืนเบี้ยประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัย ได้ชาระมาแล้วทั้งหมด
  • 4. 3. ประเภทกลุ่ม เป็นการประกันชีวิตที่กรมธรรม์หนึ่งจะมีผู้เอาประกันชีวิตร่วมกัน ตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ส่วนมากจะเป็นกลุ่มของพนักงานบริษัท ในการพิจารณา รับประกันอาจจะมีการตรวจสุขภาพหรือไม่ตรวจก็ได้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของบริษัท การประกันชีวิตกลุ่มนี้อัตราเบี้ยประกันชีวิตจะต่ากว่าประเภทสามัญและประเภท อุตสาหกรรม
  • 5. แบบของการประกันชีวิต การประกันชีวิตมีมากมายหลายแบบ แต่ละแบบจะมีลักษณะความ คุ้มครองและผลประโยชน์แตกต่างกันออกไป แบบการประกันชีวิต พื้นฐานมีอยู่ 4 แบบคือ 1. แบบตลอดชีพ เป็น การประกันชีวิตที่ให้ความคุ้มครองตลอดชีพ ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตเมื่อใดในขณะที่กรมธรรม์มีผลบังคับ บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภัย ให้แก่ผู้รับประโยชน์ วัตถุประสงค์เบื้องต้นของการประกันภัยแบบนี้เพื่อจัดหาเงินทุน สาหรับจุนเจือ บุคคลที่อยู่ในความอุปการะเมื่อผู้เอาประกันภัย เสียชีวิต หรือเพื่อเป็นเงินทุนสาหรับการเจ็บป่วยครั้งสุดท้าย และค่าทาศพ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ตกเป็นภาระของคนอื่น
  • 6. 2. แบบสะสมทรัพย์เป็น การประกันชีวิตที่บริษัทจะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้ เอาประกันภัย เมื่อมีชีวิตอยู่ครบกาหนดสัญญา หรือจ่ายเงินเอาประกันภัย ให้แก่ผู้รับ ประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตลงภายในระยะเวลาประกัน ภัย การประกันชีวิต แบบสะสมทรัพย์เป็นส่วนผสมของการคุ้มครองชีวิตและการออมทรัพย์ ส่วนของการออม ทรัพย์ คือส่วนที่ผู้เอาประกันภัยได้รับคืนเมื่อสัญญาครบกาหนด 3. แบบชั่วระยะเวลา เป็น การประกันชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงิน ให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้ เอาประกันภัยเสียชีวิต ในระยะเวลาประกันภัย วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครอง การเสียชีวิตก่อน วัยอันสมควร การประกันชีวิตแบบนี้ไม่มีส่วนของการออมทรัพย์ เบี้ยประกันภัยจึงต่ากว่าแบบอื่น ๆ และไม่มีเงินเหลือคืนให้หากผู้ เอาประกันภัยอยู่จนครบกาหนดสัญญา
  • 7. 4. แบบเงินได้ประจา เป็น การประกันชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหนึ่ง เท่ากันอย่างสม่า เสมอให้แก่ผู้เอาประกันภัยทุกเดือน นับแต่ผู้เอาประกันภัยเกษียณอายุ หรือมีอายุครบ 55 ปี หรือ 60 ปี เป็นต้นไป แล้วแต่เงื่อนไขในกรมธรรม์ที่กาหนดไว้ สาหรับ ระยะเวลาการจ่ายเงินได้ประจานี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้เอา ประกันชีวิตที่จะเลือก ซื้อ
  • 8. ประโยชน์ของการทาประกันชีวิต รูป แบบของกรมธรรม์ จะมีหลาย รูปแบบและตั้งชื่อเป็ นนามเฉพาะของแต่ละบริษัท ทุกรูปแบบพร้อมอัตรา เบี้ยประกันภัยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน ประกันชีวิต (อธิบดีกรมการประกันภัย) ก่อนจะนาเสนอขายแก่ประชาชน แต่โดย หลักวิชาการ ไม่ว่าจะเป็ นกรมธรรม์รูปแบบใดหรือชื่ออะไรก็ตาม จะอยู่ ภายใต้แบบของการประกันชีวิตรวม 4 แบบคือ 1. แบบชั่วระยะเวลา ให้ความคุ้มครองในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่กาหนดไว้ในกรมธรรม์ โดย โดยบริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนเงินเอาประกันภัยให้ผู้รับประโยชน์ ถ้าผู้เอาประกันภัย ประกันภัยเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้นั้น 2. แบบตลอดชีพ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนเงินเอาประกันภัย ให้ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ กรณีที่ผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ไม่ว่าจะเสียชีวิตเมื่อใดก็ตาม ** ทั้งแบบ 1 และแบบ 2 เป็นการจ่ายเงินให้แก่ผู้รับประโยชน์ในกรณีที่ผู้เอาประกันภัย เสียชีวิตแล้ว เท่านั้น
  • 9. 3. แบบสะสมทรัพย์ บริษัทจะจ่ายเงินตามจานวนที่เอาประกันภัยไว้ ให้แก่ผู้รับ ประโยชน์ถ้าผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ หรือจ่ายเงินเอา ประกันชีวิตให้แก่ผู้เอาประกันภัยในกรณีที่มีชีวิตอยู่รอด พ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้ 4. แบบเงินได้ประจา บริษัทจะจ่ายเงินได้ประจา หรือเงินบานาญให้แก่ผู้เอา ประกันภัยโดยเริ่มจ่ายตั้งแต่วันที่ผู้เอาประกัน ภัยไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ตามปกติเนื่องจากความชรา ไปจนถึงวันที่กาหนดไว้ (อาจเป็นชั่วระยะเวลาหนึ่ง หรือตลอดอายุก็ได้) ** แบบ 3 ส่วนท้าย และแบบ 4 เป็นการจ่ายเงินโดยมีเงื่อนไขว่าผู้เอาประกันภัยต้องมี ชีวิตรอดอยู่จนพ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้
  • 10. ขั้นตอนดาเนินการ 1. ติดต่อบริษัทประกันชีวิตได้โดยตรงหรือผ่านตัวแทนหรือนายหน้าประกันภัย 2. เลือกแบบประกันชีวิตที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ 3. วงเงินเอาประกันภัยที่ต้องการ โดยพิจารณาประกอบกับรายได้ประจาที่ได้รับ และ กาลังความสามารถในการส่งเบี้ยประกันภัย 4. กรอกราย ละเอียดเกี่ยวกับตัวท่านในแบบคาขอเอาประกันชีวิต โดยแถลงความ จริงทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติการรักษาพยาบาลและคาแถลงเกี่ยวกับ สุขภาพ เพราะการปิดบังในสาระสาคัญเหล่านี้จะเป็นเหตุให้ไม่ได้รับความ คุ้มครองตาม กรมธรรม์ 5. ใน กรณีที่ตัวแทนเป็นผู้กรอกแบบคาขอเอาประกันชีวิตแทนท่าน ให้ตรวจสอบ ความถูกต้องก่อนลงชื่อในแบบคาขอเมื่อได้รับกรมธรรม์ ควรตรวจสอบความ ถูกต้อง หากพบข้อมูลที่ผิด เช่น ชื่อผู้รับประโยชน์หรือชื่อผู้เอาประกันภัยผิดพลาด ฯลฯ ให้ทักท้วงบริษัทเพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง
  • 11. 6. จ่าย ค่าเบี้ยประกันชีวิตตามกาหนดทุกครั้ง โดยติดต่อชาระที่บริษัท สาขา หรือ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน หรือผ่านธนาคารในกรณีชาระผ่านตัวแทนของบริษัท ให้เรียกใบเสร็จรับเงินตามแบบพิมพ์ของบริษัทเก็บไว้เป็นหลักฐานทุกครั้ง 7.แจ้งให้ผู้รับประโยชน์ตามที่ระบุชื่อในกรมธรรม์ หรือบุคคลในครอบครัวทราบ ถึงการทาประกันชีวิต และสถานที่เก็บกรมธรรม์ 8. ติดต่อ สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สานักงาน คปภ.เขต สานักงาน คปภ.ภาค และสานักงาน คปภ. จังหวัด ทุกครั้งที่มีปัญหา
  • 12. ขั้นตอนและหลักฐานในการขอรับเงินผลประโยชน์ ตามกรมธรรม์ประกันชีวิต หรือ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ในการขอรับเงินผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ หรือที่ เข้าใจกันทั่วไปว่าเป็ นการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนนั้น ให้ดาเนินการดังนี้ 1. ติดต่อบริษัทประกันภัยให้เร็วที่สุด 2. กรณีผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จะแยกเป็นกรณีตามสาเหตุของการเสียชีวิต ดังนี้ 2.1 เสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บ ** ต้องแจ้งให้ทราบภายใน 14 วัน และเตรียมหลักฐานประกอบด้วย (1) กรมธรรม์ประกันชีวิต (ถ้าหายให้แจ้งความแล้วนาสาเนา รายงานประจาวันรับแจ้งเอกสาร เอกสารหายไปแสดงแทน) (2) ใบเสร็จรับเงินงวดสุดท้าย (3) ใบมรณบัตรของผู้เอาประกันภัย (4) ทะเบียนบ้านของผู้รับประโยชน์ (5) บัตรประชาชนของผู้รับประโยชน์
  • 13. 2.2 เสียชีวิตโดยฆ่าตัวตาย * เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ ใบชันสูตรพลิกศพ 2.3 เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ * เตรียมหลักฐานตาม 2.1(1) - (5) โดยเพิ่ม สาเนาบันทึกประจาวันรับแจ้งเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ สาเนาบันทึกประจาวันหลังกลับจากสถานที่เกิดเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจ ใบชันสูตรพลิกศพ
  • 14. 3. กรณีเรียกร้องค่ารักษาพยาบาล ทุพพลภาพ และสูญเสียอวัยวะ * แจ้งบริษัททราบภายใน 10 วัน และเตรียมหลักฐานดังนี้ (1) กรอกแบบฟอร์มใบเรียกร้องค่าทดแทนของบริษัท (2) ใบเสร็จรับเงินค่ารักษาพยาบาลที่ระบุวันเริ่มต้น และวันสุดท้ายในการ รักษาตัวในโรงพยาบาล (3) อื่น ๆ เช่น ฟิล์มเอ็กซซเรย์ 4. กรณีกรมธรรม์ครบกาหนด ในกรณีเป็นการประกันชีวิต ประเภทสะสมทรัพย์ที่มีเงินคืนเมื่อกรมธรรม์ ครบกาหนด ให้ดาเนินการและเตรียมหลักฐาน (1) ติดต่อบริษัทประกันภัย (2) กรมธรรม์ประกันชีวิต (3) บัตรประชาชนของผู้เอาประกันภัย
  • 15. การยกเว้นการจ่ายเงินเอาประกันชีวิต ข้อจากัดบางประการที่บริษัทประกันชีวิตยกเว้น การจ่ายเงินเอาประกัน จากสาเหตุการตายดังนี้ 1. ผู้รับประโยชน์ฆ่าผู้เอาประกันตาย 2. ผู้เอาประกันฆ่าตัวตายภายใน 1 ปี นับจากวันทาสัญญาหรือวันต่ออายุสัญญาครั้งสุดท้าย สุดท้าย ความตายที่เกิดจากสาเหตุข้างต้นดังกล่าว บริษัทประกันชีวิตจะไม่จ่ายจานวนเงินเอาประกันชีวิต ประกันชีวิตให้ แต่จะคืนเบี้ยประกันชีวิต ที่ได้ชาระมาแล้วทั้งหมดเท่านั้น
  • 16. หน้าที่ของผู้เอาประกันต้องชาระเบี้ยประกัน ถ้า หากตัวแทนของบริษัทประกันชีวิต ยังไม่มาเก็บเงิน ตามกฎหมายจะถือว่าเป็นหน้าที่ของผู้เอาประกันชีวิตจะต้องไปชาระที่ ชาระที่สาขาของ บริษัทด้วยตนเอง หรือส่งเป็นธนาณัติ เช็คและเพื่อที่บริษัทจะได้ส่ง ส่งใบเสร็จรับเงินมาให้อย่างถูกต้อง ท่านจาเป็นต้องเขียนที่อยู่ของท่านให้ถูกต้อง เพื่อมิ เพื่อมิให้เสียโอกาสและประโยชน์ ระยะเวลาผ่อนผันการชาระเบี้ยประกัน ผู้เอาประกันชีวิตมีสิทธิที่จะได้รับการผ่อนผัน การชาระเงินได้โดยการยืดระยะเวลาได้ประมาณ 30 หรือ 60 วัน เบี้ยประกันชีวิตกับการหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคล ผู้เอาประกันชีวิตสามารถ นามาหักภาษีรายได้บุคคลได้โดยรัฐบาลได้เพิ่มจานวนเงิน เบี้ยประกันชีวิตที่สามารถ สามารถนาไปหักภาษีได้ไม่เกิน 100,000 บาท
  • 17. คาถาม 1. ประกันชีวิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อะไร 1. กรมธรรน 2. ประกันภัย 3. ประกันอุบัติเหตุ 4. ผู้เอาประกันภัย 2. ประกันชีวิตแยกออกเป็นกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท
  • 18. เฉลย 1. ตอบ 4. ผู้เอาประกันภัย 2. ตอบ 1. 3 ประเภท