SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ แม้ว่าน่าจะเป็นคาที่คนทั่วไปควรจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี แต่ในข้อเท็จจริงแล้วคนส่วนใหญ่มีพื้นฐาน
และความเข้าใจต่อความหมายของประวัติศาสตร์ค่อนข้างจากัด ประเด็นแรกสุดสาหรับผู้สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ควรที่จะทา
ความเข้าใจ คือ ลักษณะทั่วไปของศาสตร์นี้ เพื่อให้เข้าใจชัดเจนว่าประวัติศาสตร์มีลักษณะเช่นใด มีวิธีการศึกษาอย่างไร มี
จุดมุ่งหมายอะไรในการเขียนและจุดมุ่งหมายในการเขียนประวัติศาสตร์นี้เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้างในแต่ละช่วงเวลาของสังคม
การขาดความเข้าใจประวัติศาสตร์ทาให้เกิดความสับสนต่อข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ไทยไม่น้อย เช่น กรณี
วิทยานิพนธ์เรื่องการเมืองในอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ของสายพิณ แก้วงามประเสริฐ (สายพิณ แก้วงามประเสริฐ. ภาพลักษณ์
ท้าวสุรนารีในประวัติศาสตร์ไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๓๗.) ที่กล่าวได้ว่าเป็น
ปัญหาความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยที่น่าสนใจอย่างยิ่งในช่วงเวลาปัจจุบัน ข้อโต้แย้งที่มีต่อหนังสือเล่ม
นี้มิได้เกิดขึ้นจากประเด็นด้านหลักฐานหรือข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์โดยตรง แต่เกิดขึ้นจากปัญหาของความไม่เข้าใจต่อ
จุดมุ่งหมายและวิธีการในการศึกษาประวัติศาสตร์มากกว่าเหตุผลอื่น ๆ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงประเด็นที่นักศึกษาจานวนมากไม่
อาจจะแยกความแตกต่างระหว่างประวัติศาสตร์กับศาสตร์ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์อื่น ๆ ที่มีขอบข่ายในด้านไทยศึกษา
เช่นกัน ดังนั้น ก่อนที่จะศึกษาประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของการเขียนงานประวัติศาสตร์ หรือ แม้แต่ในการที่จะอ่านงาน
ประวัติศาสตร์ก็ตาม จึงควรที่จะต้องเข้าใจถึงความหมายของประวัติศาสตร์ เหตุผลเบื้องหลังของการเขียนงานประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์ให้ชัดเจนเสียก่อน
๑.๑ ประวัติศาสตร์ คือ อะไร
ถ้าถามว่าประวัติศาสตร์ คือ อะไร คนส่วนใหญ่มักจะตอบว่า ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวในอดีต หรือที่
กล่าวกันว่า ประวัติศาสตร์ตามความหมายอย่างกว้างที่สุดนั้นคือ ทุกสิ่งที่คนได้ทา ได้คิด ได้หวัง และได้รู้สึก ความเข้าใจนี้แม้ว่า
จะมีส่วนถูกอยู่บ้าง แต่เป็นความเข้าใจที่ไม่สมบูรณ์นัก และอาจจะทาให้เข้าใจความหมายของการศึกษาประวัติศาสตร์คาดเคลื่อน
ไปบ้าง เพราะว่าประวัติศาสตร์ไม่ได้เป็นการศึกษาเหตุการณ์ในอดีตทุก ๆ เรื่อง แต่จะศึกษาเฉพาะเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์
เท่านั้น คือ เป็นการศึกษาที่พฤติกรรมในอดีตของมนุษย์เป็นหัวใจหลักของงานประวัติศาสตร์ แต่ก็ยังยกเว้นในกรณีอดีตที่แม้
จะไม่ใช่อดีตของมนุษย์โดยตรงนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับมนุษย์อยู่ด้วย ก็สามารถรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาประวัติศาสตร์
เช่น การก่อสร้างปราสาทหินพิมาย ถ้าเป็นการศึกษาเพื่อตอบคาถามว่า ปราสาทหินแห่งนี้ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างกี่หลัง ปรางค์
ประธานสูงกี่เมตร กว้างกี่เมตร สร้างจากหินอะไร งานที่ออกมาจะไม่ถือเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ เพราะถ้าเป็นการศึกษา
ประวัติศาสตร์จะต้องศึกษาโดยตั้งคาถามว่า ใครเป็นผู้ก่อสร้าง เขาสร้างขึ้นเมื่อไร ทาไมจึงสร้างขึ้น ดังนั้นปัจจัยประการแรก
ของประวัติศาสตร์ จึงมิได้หมายถึง อดีตของเหตุการณ์ทุกอย่าง แต่ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์
โดยพฤติกรรมมนุษย์ในอดีตจะเป็นหัวใจของการศึกษา
ในทางปฏิบัติ อดีตของมนุษย์ที่ประวัติศาสตร์มุ่งจะศึกษาควรต้องเป็นอดีตที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์จานวนมาก แทบจะ
เป็นไปไม่ได้เลยที่นักประวัติศาสตร์จะสามารถศึกษาอดีตทั้งหมดของมนุษย์ทั้งหมดได้ จึงพบว่าประวัติศาสตร์มักศึกษาถึง
เหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตทางสังคมของมนุษย์ คือ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสามารถนาไปสู่ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจ การเมือง หรือสถาบันที่สามารถสร้างผลกระทบต่อสังคมของมนุษย์โดยส่วนรวม เช่น การบริหารประเทศของรัฐบาล
สงครามระหว่างรัฐ สถานะภาพของกษัตริย์ เป็นต้น เราจึงพบว่า ในบางครั้งชีวประวัติของบุคคลสาคัญจึงได้รับความสนใจจาก
นักประวัติศาสตร์ด้วยเหตุผลในทานองเดียวกัน เพราะว่าการกระทาของบุคคลสาคัญเหล่านี้จะสามารถสร้างผลกระทบต่อคน
จานวนมากได้เช่นกัน ดังนั้นปัจจัยประการที่สองของประวัติศาสตร์จึงไม่เป็นเพียงแค่การศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์
เท่านั้น ต้องเป็นอดีตที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์จานวนมาก หรือ ความพยายามที่จะเข้าใจอดีตของสังคมมนุษย์ ประวัติศาสตร์จึง
หมายถึง การศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของสังคมมนุษย์
ปัจจัยประการที่สามเกี่ยวข้องในเรื่องของความหมายของเวลาทางประวัติศาสตร์ เวลาของประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็น
การศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ คาว่า อดีต ที่ว่านี้หมายถึงช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้ว ปัญหา คือ เราจะถือว่า “อดีต” ของ
ประวัติศาสตร์เป็นช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้วนานเท่าใด แม้จะเคยกาหนดว่าเหตุการณ์ที่ถือว่าเป็นประวัติศาสตร์นั้นต้องเป็น
เหตุการณ์ที่ผ่านไปประมาณ ๑๐ ปี แม้ว่าการกาหนดเวลาของประวัติศาสตร์เช่นนี้จะไม่ได้รับการยอมรับกันในปัจจุบัน แต่
ประวัติศาสตร์ควรจะต้องศึกษาเหตุการณ์ที่สามารถระบุช่วงเวลาเริ่มต้น และ จุดลงท้าย ของเหตุการณ์นั้น ๆ ได้ เช่น ถ้าเรา
ต้องการการศึกษาถึงการบริหารประเทศของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ในทางประวัติศาสตร์จะถือว่าหัวข้อนี้ยังไม่พร้อมสาหรับ
การศึกษา เนื่องจากการบริหารประเทศของรัฐบาลชุดนี้ยังไม่สิ้นสุดลง จึงยังไม่อาจสรุปได้ว่าผลงานทั้งหมดของรัฐบาลชุดนี้มี
อะไร และเป็นอย่างไร ถือเป็นเหตุการณ์ที่ยังไม่ถึงจุดลงท้ายของเหตุการณ์
เมื่อหันมาพิจารณาการแบ่ง ”เวลา” จะเห็นช่วงของเวลาที่แยกออกกันเป็น ๓ ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
อดีต คือ ช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้ว ปัจจุบัน คือ ช่วงเวลาที่กาลังเกิดขึ้น อนาคต คือ ช่วงเวลาที่กาลังจะมาถึง ดังนั้นเมื่อเราถามถึง
เวลาของเหตุการณ์ใด ๆ ที่กาลังเกิดขึ้น (ปัจจุบัน) จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ต้องกล่าวว่าเหตุการณ์นั้นจะผ่านไป (อดีต) และ
เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไปจะเป็นเพียงสิ่งที่เราคาดคะเนว่า จะเป็นเช่นใด (อนาคต) เวลาของมนุษย์จึงมีอดีตเป็นประสบการณ์ที่
สะสมอยู่มากที่สุด ปัจจุบันเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ที่กาลังผ่านไปทุกช่วงเวลา และอนาคตเป็นสิ่งที่รอเวลาเพื่อมาสู่ปัจจุบัน
เวลา นอกจากจะมีความสาคัญในแง่ของการเป็นเครื่องกาหนดขอบเขตทางเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ ยังมีส่วน
สาคัญในการอธิบายลักษณะเฉพาะของสังคมที่ผ่านไปของแต่ละช่วงเวลานั้น ๆ ด้วย เพราะประวัติศาสตร์มิได้เป็นเพียงแค่
การศึกษา อดีตของสังคมมนุษย์เท่านั้น แต่เป็นการศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา
เช่น เมื่อเราศึกษาถึงการปกครองของไทย การปกครองในสมัยสุโขทัยจะแตกต่างไปจากการปกครองในสมัยอยุธยา เพราะใน
สมัยสุโขทัยเป็น “เวลา” ที่สังคมไทยมี ความคิด ความต้องการ ความหวัง ที่ต่างออกไปจาก “เวลา” ของสมัยอยุธยา หรือ เรา
อาจกล่าวว่า “เวลา” ยังหมายถึง ปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบสังคมมนุษย์ในเวลานั้น และปัจจัยแวดล้อมเหล่านี้ได้สร้าง
ลักษณะเฉพาะของ “เวลา” หรือ “สมัย” ต่าง ๆ ให้มีลักษณะเฉพาะตนขึ้น “เวลา” จึงเป็นปัจจัยแวดล้อมของสังคมมนุษย์ที่ไม่
เคยหยุดนิ่งแต่เปลี่ยนแปลงไปเสมอตามความคิด ความต้องการ ความหวัง ความดี ความเลว ของแต่ละสมัย และเป็นปัจจัย
สาคัญอย่างยิ่งที่ทาให้ประวัติศาสตร์ได้มีส่วนในฐานะบทเรียนให้แก่สังคม เข้าใจถึงความเป็นอนิจจังของสังคมมนุษย์ที่มีความแปร
เปลี่ยนไปเป็นธรรมดา ปัจจัยประการที่สามของประวัติศาสตร์จึงขยายความหมายของประวัติศาสตร์ว่า คือ การศึกษาอดีตของ
สังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา
ปัจจัยประการที่สี่ เกี่ยวข้องกับการอธิบายทางประวัติศาสตร์ เพราะการศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของ
เวลายังมิได้เป็นคาจากัดความที่สมบูรณ์ เพราะการศึกษาประวัติศาสตร์มิได้ทาเพียงแต่การนาหลักฐานหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น
ในช่วงของเวลามาปะติดปะต่อกันให้เป็นเรื่องราวเท่านั้น ยังคงต้องศึกษาเพื่ออธิบายให้สามารถเข้าใจอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่
ละช่วงของเวลาด้วย ประวัติศาสตร์จึงไม่ได้เป็นเพียงการเล่าเรื่องว่ามีเหตุการณ์ใด ๆ บ้างเกิดขึ้นมาในอดีตแต่ละช่วงของเวลา
หรือเป็นเพียงการนาข้อเท็จจริงมาเล่าให้ฟัง แต่จะต้องอธิบายเพื่อให้เข้าใจไปมากกว่านั้นว่า เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
เกิดขึ้นจากใคร เกิดอะไรขึ้น เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ไหนและเมื่อไร ทาไมจึงเกิดขึ้น ประวัติศาสตร์จึงต่างออกไปโดยสิ้นเชิงจาก
การเล่าเรื่องแบบธรรมดา แต่จะต้องอธิบายให้เห็นและเข้าใจถึงอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา เราสามารถสรุปคา
จากัดความได้ว่า ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเพื่ออธิบายอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของเวลา
๑.๒ เหตุผลของการศึกษาประวัติศาสตร์
เหตุผลของการศึกษาประวัติศาสตร์มีประเด็นที่ถูกหยิบยกมากล่าวถึงหลายประการด้วยกัน ตั้งแต่เพื่อที่จะนาไปสู่ความ
เข้าใจอดีต เพื่อความบันเทิง ความภาคภูมิใจ แต่ที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด คือ เป็นการศึกษาเพื่อที่จะใช้อดีตมาเป็นบทเรียน
สาหรับปัจจุบัน เช่นที่กล่าวว่า “คนสร้างประวัติศาสตร์ของตนเอง แต่มิได้สร้างประวัติศาสตร์ขึ้นตามใจชอบ คนมิได้สร้าง
ประวัติศาสตร์ภายใต้ภาวการณ์ที่เขาเป็นผู้เลือกเอง แต่ภายใต้ภาวการณ์ที่คนประสบมามีอยู่แล้วอย่างนั้น และส่งทอดโดยตรง
มาจากอดีต” เพราะชีวิตนั้นยาวนานและผูกพันกับทั้ง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งนี้ความคิดและพฤติกรรมของมนุษย์ใน
ปัจจุบันย่อมจะผูกพันกับอดีตอยู่ไม่มากก็น้อย การค้นหาความหมายและเข้าใจชีวิตจึงจาเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจอดีต ในแง่นี้
เองที่ประวัติศาสตร์เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตมนุษย์ จนทาให้ปัจจุบันจุดมุ่งหมายสาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจ
อดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของเวลา แม้แต่ในฐานะปัจเจกบุคคล การตัดสินใจกระทาสิ่งใด ๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะโดย
ตั้งใจหรือไม่ก็ตามจะใช้พื้นฐานจากประสบการณ์ในอดีตมาเป็นเครื่องแนะแนวทางเสมอ โดยหวังว่าการตัดสินใจนั้น ๆ จะสามารถ
ยังประโยชน์ให้เขาได้ในอนาคต เราอาจยกตัวอย่างการตัดสินใจจะเลือกพรรคการเมืองมาเป็นตัวแทน คงเริ่มจากการพิจารณาถึง
ผลงานของพรรคที่ผ่านมาเป็นเกณฑ์ กรณีนี้เป็นตัวอย่างง่าย ๆ ถึงการใช้อดีตมาเป็นเครื่องกาหนดการตัดสินใจในอนาคต
ความสาคัญของอดีตในด้านวัตถุที่ดูเหมือนจะสามารถจับต้องได้นี้ มักจะเป็นสิ่งที่นิยมหยิบยกมาเป็นคาอธิบายถึงคุณค่า
ของการศึกษาประวัติศาสตร์เสมอ แต่ยังมิได้เป็นจุดหมายลาดับแรก มีนักประวัติศาสตร์จานวนไม่น้อยที่พยายามจะชี้ให้เห็นว่า
ประวัติศาสตร์มิได้มีจุดมุ่งหมายโดยตรงเพื่อจะให้ถูก “ใช้” เป็นประโยชน์ด้านวัตถุเช่นนั้น เพราะวิธีการทางประวัติศาสตร์ถูก
พัฒนาขึ้นมาเพื่อจะช่วยให้นักประวัติศาสตร์สามารถเข้าถึงความเป็นจริงให้ใกล้เคียงที่สุด “...อุดมคติของนักประวัติศาสตร์จึงเป็น
การอธิบายอดีตตามที่มันเป็นจริง หรือ อย่างน้อยที่สุดเพื่อให้เข้าใกล้กับความจริงมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ นักประวัติศาสตร์จึงต้อง
พยายามเข้าใจอดีตตามเงื่อนไขของอดีตเอง มิใช่โดยอาศัยมาตรฐาน ค่านิยม หรือ ความใฝ่ฝันของปัจจุบันเป็นมาตรฐาน...”
ดังนั้นประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าในการเป็นบทเรียนสาหรับมนุษย์ หรือ แม้แต่สาหรับสังคมมนุษย์ ควรเป็นประวัติศาสตร์ที่สามารถ
อธิบายให้มนุษย์ได้เข้าใจถึงอดีตที่เป็นจริงมากที่สุด แม้ว่าจะต่างออกไปจากกระแสของการศึกษาประวัติศาสตร์ในบางยุคสมัยที่
ความจริงอาจจะไม่ได้เป็นความสาคัญในลาดับแรกของการศึกษาประวัติศาสตร์ จุดมุ่งหมายของประวัติศาสตร์กลุ่มนั้น ๆ จึง
อาจอยู่ที่ การส่งเสริมให้เกิดความรักชาติ อย่างประวัติศาสตร์แบบชาตินิยม การเสนอภาพของชนชั้นล่างของสังคม เช่น
ประวัติศาสตร์แบบมาร์กซิกส์ ถึงแม้ไม่อาจปฏิเสธประโยชน์ในบางด้านของจุดมุ่งหมายในการศึกษาประวัติศาสตร์แบบนั้นได้
ในขณะที่เราคงไม่อาจปฏิเสธได้เช่นกันว่า ในที่สุดแล้วการให้ความสาคัญเป็นลาดับแรกต่อความจริงที่เกิดขึ้นในอดีตอย่างเที่ยงตรง
ที่สุดเท่านั้นจะสามารถสร้างคุณค่าที่ถาวรต่อมนุษย์และสังคมของเขา
เมื่อเราพิจารณาถึงสภาพของสังคมปัจจุบัน จะเห็นได้ว่ามนุษย์ส่วนใหญ่ในสังคมมักจะเลือกประโยชน์ทางวัตถุเป็น
เป้าหมายลาดับแรก จึงพร้อมที่จะกระทาสิ่งใด ๆ ก็ตามเพื่อตอบสนองจุดมุ่งหมายทางวัตถุเหล่านั้น อาทิ การสมัครรับเลือกตั้ง
เพื่อเป็นตัวแทนของสังคมในรูปแบบต่าง ๆ ที่จะพบว่า มีการใช้วิธีการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเพื่อให้ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้ง
จนกลายเป็นปรากฏการณ์ปกติของสังคมทั้งตัวผู้สมัครรับเลือกตั้งและผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียง โดยที่ทั้งสองฝ่ายต่างก็สานึกดีว่า
การกระทาดังกล่าวเป็นการบ่อนทาลายศรัทธาทางการเมืองที่มีต่อกัน เพราะประชาชนก็มิได้ศรัทธาในนักการเมือง และ
นักการเมืองก็ไม่ได้ใส่ใจต่อความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างจริงจัง เป็นเพียงกระบวนการเพื่อนาไปสู่จุดมุ่งหมายทางวัตถุที่แต่ละ
ฝ่ายเลือกที่จะรับ ด้วยวิธีเช่นใดที่จะช่วยให้บุคคลทั้งสองฝ่ายนี้ได้สานึกว่า กระบวนการเลือกตั้งควรที่จะเป็นกระบวนการเพื่อ
เลือกสรรบุคคลไปเป็นตัวแทนของประชาชนอย่างแท้จริง คาตอบจึงมิใช่ว่า ถ้านักการเมืองผู้นั้นมีจุดมุ่งหมายที่ “ดี” (เช่น รัก
ชาติ,เสียสละ,ซื่อสัตย์) แล้ว ไม่ว่าจะใช้วิธีการใด ๆ เพื่อชนะการเลือกตั้ง เขาสามารถที่จะได้รับการยอมรับจากสังคม
เพราะในขณะเดียวกันนักการเมืองผู้ที่มีจุดมุ่งหมายที่ “ไม่ดี” (เช่น เข้ามากอบโกย,แสวงหาผลประโยชน์) สามารถมีข้ออ้างได้ว่า
วิธีการซื้อเสียงเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ใคร ๆ ก็ทากัน ประชาชนทั่วไปจึงไม่ได้แยกแยะว่า ใคร คือ นักการเมืองที่ “ดี” หรือ
นักการเมืองที่ “ไม่ดี” เพราะกระบวนการเพื่อนาไปสู่ชัยชนะในการเลือกตั้งของทั้งสองกลุ่มนี้ไม่แตกต่างกัน จึงเป็นการเลือกโดย
คานึงถึงผลตอบแทนทางวัตถุที่ “ดี” ที่สุด ยิ่งไปกว่านั้นในทางปฏิบัติ”ความดี” หรือ “ความไม่ดี” ยังเป็นนามธรรมที่ยากจะให้
คาจากัดความเสียด้วยซ้า การสร้างให้นักการเมืองมีความเป็นกลางและเที่ยงธรรมจึงเป็นคาตอบที่เหมาะสมที่สุด การหาเสียง
ควรมาจากการชี้ให้เข้าใจข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุมีผล เพื่อให้ประชาชนสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างฉลาดที่สุดเท่าที่เขาจะทาได้
การอธิบายในแบบนี้จึงช่วยให้เราตระหนักถึงประชาชนในฐานะที่เป็นพลังใน และทาให้มนุษย์สามารถหาประโยชน์จาก
ประวัติศาสตร์ได้ มนุษย์จะสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างฉลาดที่สุดได้ตามความเป็นจริงที่ได้เห็นว่าแท้ที่จริงแล้วสังคมมนุษย์ได้
พัฒนาและคลี่คลายมาเช่นใด มิใช่เพียงแค่การสรรเสริญเฉพาะความดีงาม เก็บซ่อนความบกพร่องโดยละเลยที่จะยอมรับความ
เป็นมนุษย์ที่ยังคงมี กิเลส ตัณหา การแย่งชิง ผู้ที่มีอานาจมากกว่ายังคงข่มเหงผู้ที่ด้อยกว่า “คุณค่า” ของการชี้ให้เห็น
ข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงธรรมเช่นนี้ต่างหากที่จะช่วยให้มนุษย์สามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างฉลาดที่สุด เช่น ประวัติศาสตร์ไทยมักจะ
ยกตัวอย่างการรุกรานจากพม่ามาเป็นบทเรียนเพื่อสร้างความสามัคคีของชนในชาติ พร้อมกับละเลยที่จะพูดถึงการรุกรานของไทย
ที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้าน จึงไม่แปลกที่บทเรียนสาหรับสังคมไทยไม่สมบูรณ์นักและมักมึนงงต่อท่าทีของประเทศเพื่อนบ้านบาง
ประเทศที่มีต่อไทย พร้อมกับความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในยุคปัจจุบันไม่ได้ราบรื่นอย่างที่หวังไว้นัก
ถ้าเรายอมรับที่จะเข้าใจประวัติศาสตร์อย่างเที่ยงธรรม เราจะสามารถยอมรับได้ว่า ไม่มีผู้ปกครองคนได้ที่สามารถหลุด
พ้นจากกิเลส ตัณหาของมนุษย์ ไม่มีระบบการปกครองใดที่จะสมบูรณ์ไปทุกยุคทุกสมัย ไม่มีสถาบันใดที่ดารงอยู่โดยไม่
เปลี่ยนแปลง มนุษย์จะขจัดอคติ พวกพ้องของตน รู้จักคิดโดยใช้เหตุใช้ผลบนพื้นฐานของหลักฐานและข้อเท็จจริง มีความดี
และมองเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นกลาง การศึกษาเพื่ออธิบายอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของเวลาจึงยัง
ประโยชน์เพื่อให้มนุษย์ หรือ สังคมมนุษย์ได้เข้าใจว่า ตนเอง หรือ สังคมของตน เป็นเช่นใด รู้จักจุดเด่นและจุดด้อย เข้าใจ
ความสามารถและข้อจากัด เพื่อนาไปสู่ทางเลือกของการดาเนินชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่จะทาได้ เป็นความจาเป็นอย่างยิ่งที่โอกาสใน
การเลือกนี้จะมาจากความเข้าใจอดีตที่ใกล้เคียงกับความจริงมากที่สุด ไม่ใช้อดีตที่บิดเบือนหรือทรงคุณค่าเพียงเพื่อส่งเสริมความ
รักชาติ ความจริงแม้จะปวดร้าวแต่ยังให้คุณค่ายิ่งกว่าการประโลมใจด้วยความเท็จ ที่ยังก่อให้เกิดความหลงตัว
และชิงชังผู้อื่นโดยไร้เหตุผล
๑.๓ จุดหมายของการศึกษาประวัติศาสตร์
แม้จะเป็นที่ยอมรับว่าประวัติศาสตร์ที่บริสุทธิ์ปราศจากอคตินั้นไม่มี เพราะประวัติศาสตร์ถูกเขียนขึ้นโดยมนุษย์ แม้จะ
เรียกตัวเองว่านักประวัติศาสตร์ ดังนั้นนักประวัติศาสตร์จึงมีโอกาสที่จะนาเอาความคิดเห็น ประสบการณ์ อคติ หรือ สิ่งใด ๆ
ก็ตามที่เขาเห็นว่าสมควรรวมเข้าไปกับการศึกษาประวัติศาสตร์ แม้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์จะพยายามอย่างยิ่งที่จะขจัดสิ่ง
แปลกปลอมเหล่านี้ออกไปแต่ก็ยังไม่สามารถที่จะรับรองได้ว่า ประวัติศาสตร์ปลอดภัยจากทัศนะของนักประวัติศาสตร์ได้โดยสิ้นเชิง
เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เราศึกษาต้องผ่านกระบวนการคิด (thinking) ซึ่งการคิด(thought) ตัดสิน(judgment) ว่า
การคิดใดถูกต้อง ทาให้การอธิบายทางประวัติศาสตร์อยู่ภายใต้กรอบของความคิด(ideas)
ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์จึงอาจจะมีจุดหมายที่หลากหลายออกไปตามแต่ทัศนะของนักประวัติศาสตร์แต่ละคนจะ
เห็นว่าจุดหมายใดมีความเหมาะสมมากที่สุด ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่าจุดหมายในการศึกษาประวัติศาสตร์ต้องเป็นไปเพื่อ
ประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ในสังคม เพื่อให้สังคมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยต้องยึดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไว้ให้
ถูกต้อง และนาไปสู่การตีความเพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม การกาหนดจุดหมายของประวัติศาสตร์เช่นนี้ ทาให้
ประวัติศาสตร์มีหน้าที่ไม่เพียงเพื่อให้สามารถอธิบายสังคมมนุษย์ที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปและจะเกิดอะไรขึ้นกับสังคมมนุษย์ที่ต้อง
เปลี่ยนแปลงไปนี้เท่านั้น นักประวัติศาสตร์ยังต้องมีส่วนช่วยชี้นาสังคมเพื่อให้เกิดความเข้าใจว่า สังคมมนุษย์ไม่เคยหยุดนิ่งอยู่กับ
ที่ และต้องเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานี้ควรจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด เพื่อประโยชน์ของคนกลุ่มน้อย หรือ เพื่อประโยชน์
ของคนกลุ่มใหญ่ ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นนักประวัติศาสตร์หรือผู้อ่านงานประวัติศาสตร์ จึงจะมีความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ
ความหวัง ไม่ต่างออกไปจากปัจเจกชนอื่น ๆ ในสังคม เพราะตัวเขาเองยังคงดารงชีวิตอยู่ในฐานะส่วนหนึ่งในสังคมของเขา
ความผูกพันในความเป็นมนุษย์ที่มีต่อสังคมจึงได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมของสังคมที่เขาอาศัยอยู่ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ความคิดต่อประวัติศาสตร์จึงอาจกาหนดรูปแบบด้วยอิทธิพลของเวลา และ สถานที่ในชีวิตจริงของเขาอยู่ไม่น้อย การตีความจาก
หลักฐานและข้อเท็จจริง ทั้งในกรณีผู้เขียนและผู้อ่านงานประวัติศาสตร์จึงไม่ได้อาศัยเพียงหลักฐานจาก จารึก พงศาวดาร
จดหมายเหตุ หรือ อื่น ๆ ที่เราเรียกกันว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น แต่ได้รวมเอา ความคิด ความรู้สึก
ความปรารถนา และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาในชีวิตทางสังคมของเขาร่วมหล่อหลอมให้กลายเป็นจุดหมายต่อ
ประวัติศาสตร์ที่เขาคาดหวังด้วย
การกระทาเช่นใดเป็นการนาประวัติศาสตร์มาใช้เพื่อประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ของสังคม การนั่งท่องจาเหตุการณ์ที่
เคยเกิดขึ้นมาในอดีตเพียงอย่างเดียว ไม่ได้สร้างคุณค่ามากเท่ากับว่าเราจะสามารถเข้าใจถึงความหมายของสิ่งที่เราท่องจาไปนั้น
ได้อย่างไร และไม่ว่าจะมองโลกในแง่ดีหรือแง่ร้าย เมื่อเกิดขึ้นมาในสังคมแล้วเราย่อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ด้วย
เช่นกัน ถ้ามนุษย์ยังคงไม่เข้าใจตัวเองและสังคมคงยังไม่รู้ทิศทางที่แน่นอนว่ากาลังจะก้าวไปสู่อะไรในอนาคต แต่ความ
ต้องการที่จะอธิบายความหมายของชีวิตจะยังคงต้องมีอยู่ต่อไปแน่นอน แม้ว่าเหตุการณ์หรือการกระทานั้นจะผ่านไปแล้วนาน
เท่าใดก็ตาม ในเมื่อเหตุการณ์หรือการกระทานั้นเป็นสิ่งที่มนุษย์ “สร้าง” ขึ้น มนุษย์ด้วยกันก็ย่อมที่จะทาความเข้าใจกับ
เหตุการณ์นั้นให้ได้ ไม่วันใดก็วันหนึ่ง
แม้ว่าจุดหมายเช่นนี้ของประวัติศาสตร์ อาจจะทาให้ดูเหมือนว่า ประวัติศาสตร์ถูกเขียนขึ้นหรือแม้แต่ถูกอ่านไปโดยมี
ข้อสรุปบางอย่างอยู่ล่วงหน้าแล้ว แต่ที่จริงแล้วการกาหนดจุดหมายของประวัติศาสตร์ เพียงเพื่อช่วยให้งานประวัติศาสตร์
สามารถก้าวคู่ไปกับความเปลี่ยนแปลงและสามารถนาประโยชน์ให้กับสังคมส่วนใหญ่ เพราะประวัติศาสตร์มิได้มีหน้าที่เพื่อปลด
เปลื้องตัวเองออกจากอดีต หรือปกป้องอดีตเอาไว้ นักประวัติศาสตร์จะต้องเป็นนายของอดีตโดยทาความเข้าใจอดีตในฐานะที่
เป็นกุญแจนาไปสู่ความเข้าใจสภาพปัจจุบัน แม้อาจจะไม่สามารถทานายอนาคตตราบเท่าที่พฤติกรรมของมนุษย์ยังคงเป็นเรื่อง
ยากที่จะคาดเดา อนาคตจึงเป็นเพียงความหวังและความกลัวของเราเท่านั้น ประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่ตุลาการเพื่อพิพากษาอดีต
หรือเป็นนักเทศน์เพื่อช่วยชี้นาปัจจุบัน จุดหมายสูงสุดของประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่บทเรียนทางศีลธรรมหากแต่เป็นไปเพื่อความ
เข้าใจตัวเองและเพื่อ “ความจริง” อันจะหาได้จากประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์เท่านั้น เพราะโศกนาฏกรรมของชีวิต คือ
ความตาย (จากการทาความดี) ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่
๑.๔ วิธีการและระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นจากความพยายามที่จะทาให้การศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ ประกอบด้วย
ขั้นตอนดังนี้ คือ การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา การรวบรวมหลักฐาน การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบหลักฐาน การวิเคราะห์
ทางประวัติศาสตร์ มีรายละเอียดแต่ละขั้นตอนดังนี้
การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
การรวบรวมหลักฐาน
การตั้งสมมติฐาน
การตรวจสอบหลักฐาน
การวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์
๑. การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
การเลือกหัวข้อที่จะศึกษานั้น ในทางปฏิบัติแล้วหัวข้อที่จะนามาใช้ศึกษายังมีอยู่อีกจานวนมาก หัวข้อทางประวัติศาสตร์
ใหม่ ๆ จึงมักเกิดขึ้นเป็นประจา แม้แต่หัวข้อที่เคยมีการศึกษาค้นคว้ามาแล้วก็อาจทาการศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึ้งต่อไปได้อีก แต่
ประเด็นที่เป็นปัญหาคือ ขอบเขตอันกว้างขวางของการศึกษาที่มักจะทาให้ผู้เริ่มต้นประสบความยากลาบากในการเลือกหัวข้อเพื่อ
นามาศึกษา ข้อแนะนาสาหรับผู้ที่ยังประสบกับปัญหาในการเลือกหัวข้อเพื่อนามาศึกษาโปรดทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
การสร้างความสนใจใผ่รู้
การตรวจสอบความเหมาะสมของหัวข้อที่จะศึกษา
การกาหนดขอบเขตของหัวข้อที่จะศึกษา
การสร้างความสนใจใผ่รู้
การศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นงานวิชาการแขนงหนึ่งนี้ มีจุดเริ่มต้นมิได้แตกต่างไปจากงานวิชาการ
แขนงอื่น ๆ เลย เพราะเป็นการศึกษาค้นคว้าที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความสนใจใผ่รู้ของมนุษย์ต่อเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต
ของตน ทั้งนี้อาจเป็นเพื่อที่จะนาไปสู่ความต้องการแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาหรือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมให้กับคลัง
ความรู้ของโลก การศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความสนใจใผ่รู้นี้ จะช่วยให้นักประวัติศาสตร์
สามารถทาการค้นคว้าได้ดีกว่างานที่มิได้สนใจอย่างจริงจัง ดังนั้นนักประวัติศาสตร์ที่ดีจึงไม่ควรหวังที่จะให้คนอื่นเลือกหัวข้อที่
จะศึกษาให้กับตน แม้ว่าบางครั้งก็เป็นความจริงที่ว่า ผู้ร่วมงาน อาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญบางท่านอาจให้คาแนะนาที่ดีถึงหัวข้อ
ปัญหาใหม่ ๆ ที่น่าสนใจโดยตัวนักประวัติศาสตร์เองนึกไม่ถึงก็ตาม
การเลือกหัวข้อที่จะศึกษานั้นบางครั้งนักประวัติศาสตร์จะเลือกหัวข้อได้จากการอ่านงานประวัติศาสตร์บางเรื่องแล้วเกิด
ความรู้สึกไม่เห็นด้วย จึงมีการค้นคว้าต่อไปถึงปัญหาที่เป็นข้อถกเถียงหรืออาจกล่าวได้ว่า จากความไม่เห็นด้วยนี้ทาให้เกิดมีหัวข้อ
งานประวัติศาสตร์ที่ดีขึ้นได้ นอกจากนี้หัวข้อที่จะศึกษาอาจเกิดขึ้นจากประสบการณ์ของนักประวัติศาสตร์ที่ช่วยแนะนาถึงหัวข้อ
ที่น่าสนใจ รวมไปถึงเครื่องมือชนิดอื่น ๆ ที่เป็นเครื่องช่วยในการเลือกหัวข้อ เช่น บัญชีรายชื่อหนังสือสารานุกรม เป็นต้น แต่
สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ การมีข้อสงสัยอยู่เสมอจะเป็นเครื่องนาทางที่น่าอัศจรรย์และมีประโยชน์ที่สุดไม่เพียงแต่ในการเลือกหัวข้อ
เท่านั้นยังรวมไปถึงกระบวนการค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ต่อไปของนักประวัติศาสตร์ด้วย
การตรวจสอบความเหมาะสมของหัวข้อที่จะศึกษา
หลังจากได้หัวข้อที่จะศึกษาแล้ว นักประวัติศาสตร์ควรหยุดพิจารณาหัวข้อนั้นโดยการตั้งคาถามกับตัวเองเพื่อตัดสินใจ
ว่าหัวข้อที่ได้เหมาะแก่การค้นคว้าต่อไปเพียงใด เช่น
หัวข้อนั้นน่าสนใจหรือไม่
คาตอบต่อคาถามแรกนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับตัวนักประวัติศาสตร์เองว่ามีความกระตือรือร้นในการค้นคว้าเพียงใด ถ้า
พบว่าหัวข้อที่ได้มีความน่าสนใจเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้เกิดความเบื่อหน่ายในงานที่จะทาต่อไป แต่ถ้าหัวข้อนี้น่าสนใจจะ
กลายเป็นแรงกระตุ้นในการทางานต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หัวข้อนี้เป็นเรื่องใหม่หรือไม่
โดยทั่วไปงานวิชาการจะเป็นการศึกษาเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ ๒ ประการด้วยกัน คือ ประการแรก เป็นการศึกษา
ในหัวข้อที่ยังไม่มีผู้ใดทาการศึกษามาก่อน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือไม่เลือกเรื่องที่ซ้ากับที่เคยมีผู้อื่นเคยศึกษามาแล้ว ประการที่
สอง ในกรณีหัวข้อที่จะศึกษาเคยมีผู้อื่นเคยศึกษามาแล้วจะต้องเป็นการแสวงหาประเด็นใหม่ที่ผู้ศึกษาเดิมละเลยไป หรือ การ
ตีความใหม่ในส่วนที่ยังมีปัญหาเป็นข้อสงสัยอยู่ เป็นการสร้างมุมมองใหม่ให้กับหัวข้อนั้นเพราะถ้าหัวข้อที่ถูกเลือกมิได้มีประเด็นใด
เป็นเรื่องใหม่จะเป็นการเสียเวลาที่จะทางานซ้ากับสิ่งที่ผู้อื่นได้เคยทาไปแล้ว
หัวข้อนั้นเป็นความรู้หรือไม่
หัวข้อทุกหัวข้อมีความสาคัญไม่เท่ากัน สาหรับงานประวัติศาสตร์ประเด็นสาคัญคือ เราหวังอะไรเมื่องานสาเร็จลงสิ่งใด
เป็นจุดประสงค์ของการศึกษา คาตอบคือ เราหวังให้เกิดความรู้ใหม่และสามารถมีประโยชน์ต่อสังคมต่อไปในอนาคต
หัวข้อนั้นเป็นเรื่องที่สามารถศึกษาได้หรือไม่
หัวข้อบางหัวข้อนั้นแม้ว่าจะน่าสนใจ แต่เป็นไปได้ว่าอาจมีข้อจากัดจนทาให้การค้นคว้าไม่ประสบความสาเร็จโดยไม่
สามารถทาให้ปัญหานั้นกระจ่างหรือเข้าใจได้ เช่น ขาดหลักเพราะไม่มีการบันทึกไว้ มีหลักฐานน้อยเกินไปจนไม่สามารถ
ทาการศึกษาได้โดยสมบูรณ์ เป็นหัวข้อที่กว้างหรือแคบเกินไป
การกาหนดขอบเขตของหัวข้อที่จะศึกษา
เมื่อพิจารณาผ่านมาจนถึงหัวข้อที่ ๓ แล้ว นักประวัติศาสตร์คงเริ่มมั่นใจต่อหัวข้อที่จะศึกษามากยิ่งขึ้น การกาหนด
ขอบเขตของหัวข้อที่จะศึกษาเพื่อสร้างความชัดเจนต่อกระบวนการในการค้นคว้าว่าแท้ที่จริงแล้วเราปรารถนาที่จะเรียนรู้สิ่งใด
ขอบเขตของหัวข้อที่ต้องการจะช่วยแยกแยะเรื่องราวที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป กาหนดระยะเวลาที่แน่นอนของการศึกษา โดย
วิธีการสามารถกระทาผ่านการตั้งคาถามพื้นฐานของประวัติศาสตร์ดังนี้
ที่ไหน
ใคร
เมื่อไร
อะไร
ที่ไหน เป็นคาถามเกี่ยวกับสถายที่ ที่เราต้องการศึกษา เมืองใด ท้องถิ่นใด ขอบเขตของท้องถิ่นนั้นมีเพียงใด
ใคร คาถามว่า “ใคร” เป็นการถามถึงตัวบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เราสนใจศึกษา ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเรา
สนใจ
เรื่อง การสร้างเมืองนครราชสีมา “ใคร” ในที่นี้อาจไม่ได้หมายถึงบุคคลเพียงคนเดียว อาจเป็นคณะบุคคล เช่น กษัตริย์,ขุนนาง
,ชาวบ้าน ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเหตุใด “ใคร” กลุ่มนั้นจึงตัดสินใจมาสร้างมาเมืองนครราชสีมา
เมื่อไร เป็นคาถามด้านเวลา เช่น เป็นช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ใดทาให้ต้องมาสร้างเมืองนครราชสีมาในเวลานั้น
เป็นช่วงเวลาที่อานาจการปกครองจากส่วนกลางต้องการขยายอิทธิพลเข้าสู่ที่ราบสูงโคราชจึงสร้างเมืองนครราชสีมาเพื่อทาหน้าที่
เป็นตัวแทนเพื่อทาหน้าที่ควบคุมการปกครองหัวเมืองในแถบนี้ หรือเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจในเขตโคราชเก่าจึงย้ายเมืองมายัง
สถานที่ใหม่เพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีกว่า
อะไร เป็นการถามถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้น ใครเหล่านั้นได้มาร่วมทาสิ่งใดกัน การกระทานั้นได้ส่งผลใดติดตามมา เช่น
ทาให้สามารถควบคุมเส้นทางการค้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ใช้ควบคุมการปกครองหัวเมืองในแถบนี้
๒ การรวบรวมหลักฐาน
หลักฐานถือได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของการศึกษาอดีต ไม่เพียงเพราะว่าประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเหตุการณ์ใน
อดีตเท่านั้น แต่ประวัติศาสตร์ยังเป็นเหตุการณ์ที่ผู้ศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีโอกาสได้สัมผัสหรือพบเห็นเหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง จึง
ไม่แปลกที่จะมีข้อเปรียบเทียบว่านัก ประวัติศาสตร์คือผู้ไปดูละครสาย หรือ แม้แต่รากฐานของคาว่า ประวัติศาสตร์ที่หมายถึงการ
ถักหรือทอ ดังที่ อี เอช คาร์ ที่กล่าวไว้ว่า ประวัติศาสตร์ คือ “ข้อมูลที่กระจุยกระจายเต็มอยู่ในถุงผ้า แล้วก็เลือกสรรเอาชิ้นที่
สังเกตได้มา เอาข้อมูลที่เหมาะสมรวมกันเข้า ปัดข้อที่ไม่เหมาะออกไป จนกระทั่งเย็บต่อเป็นผืนผ้าที่มีเหตุและหลักการของ
ความรู้”(ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ๒๕๓๗ : ๑ ) ข้อความนี้หมายถึงวิธีการของนักประวัติศาสตร์ กล่าวคือ นักประวัติศาสตร์
หมายถึงคนเย็บผ้า ส่วนหลักฐานก็เหมือนเศษผ้า นักประวัติศาสตร์จะหาหลักฐานต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายอยู่ตามที่ต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเป็นจากจารึก จากพงศาวดาร จากการสัมภาษณ์ จากโบราณวัตถุ เมื่อรวบรวมได้มาก ๆ แล้ว ก็นามาคัดเลือกหลักฐานที่
เหมาะสมนามาต่อกันโดยใช้วิจารณญาณของตนที่เต็มไปด้วยเหตุผลและหลักการแห่งความรู้ซึ่งก็จะได้งานประวัติศาสตร์ขึ้นมา
เหมือนกับคนเย็บผ้าได้ผ้าผืนใหญ่ขึ้นมา แต่สิ่งที่ผู้รวบรวมหลักฐานจะต้องยอมรับ คือ ถ้าประวัติศาสตร์คือการเรียงภาพต่อ
(Jigsaw) เป็นเรื่องยากที่จะสามารถเก็บรวบรวมภาพต่อทั้งหมดนี้ได้อย่างสมบูรณ์ อาจจะได้มาทั้งส่วนเกินและขาด และก็คง
จะไม่สามารถปฏิเสธทั้งความขาดและเกินของหลักฐานที่ต้องแสวงหา หากต้องเตรียมไว้เพื่อนาไปสู่ขั้นตอนของการวิพากษ์
หลักฐาน และ
การตีความหลักฐาน ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อต่อไป
การศึกษาประวัติศาสตร์จึงเป็นการเชื่อมโยงหลักฐานที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันให้สอดคล้องกับความจริงที่เกิดขึ้นใน
อดีตเพื่ออธิบายเหตุการณ์นั้น ๆ โดยการประเมินเลือกสรร วิเคราะห์ความสาคัญและความสัมพันธ์ของหลักฐานข้อมูลต่าง ๆ
และนามาปะติดปะต่อกันขึ้นให้เป็นเรื่องราวที่สมบูรณ์ที่สุด แต่ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นการเลือกสรรหลักฐานได้ตาม
อาเภอใจเพราะหลักฐานมีส่วนกาหนดการวิเคราะห์ของนักประวัติศาสตร์ด้วย เพราะถ้าหลักฐานปรากฏออกมาเป็นอีกอย่างหนึ่ง
นักประวัติศาสตร์ก็ต้องวิเคราะห์ออกมาบนพื้นฐานของหลักฐานนั้น จึงจะถือได้ว่าเป็นผลงานประวัติศาสตร์ที่มีคุณภาพ ความ
เป็นกลางของการศึกษาประวัติศาสตร์ที่จะต้องไม่ใช้มาตรฐาน ค่านิยม ความรู้สึกส่วนตัวของตนเข้าไปพิพากษาและตัดสิน
เหตุการณ์ในอดีต พร้อม ๆ กับที่ต้องคานึงถึงว่านักประวัติศาสตร์นั้นก็เป็นมนุษย์ธรรมดา ซึ่งยังมีโลภ โกรธ หลงอยู่ในตัวและไม่
สามารถมี “ความเป็นคนกลาง” อย่างสมบูรณ์ที่สุดได้
ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์จะต้องทาไปพร้อมกับความสานึกว่าตนกาลังทางานอะไร ได้ค้นคว้าเลือกสรรหลักฐาน
ข้อมูลอย่างรอบคอบแล้วหรือไม่ ได้จัดลาดับความสาคัญของหลักฐานข้อมูลเพียงพอหรือไม่ ได้ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ และมีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างดีแล้วหรือไม่ เพื่อท้ายที่สุดจะได้นาการวิเคราะห์ที่ได้ไปสู่การเขียนงาน
ประวัติศาสตร์ให้แยกออกไปจากนวนิยาย เรื่องลึกลับตื่นเต้น แต่เป็นศาสตร์ที่มีกระบวนการ ขั้นตอน การพัฒนาและ
คลี่คลายในตัวของมันเอง และได้นาไปสู่ความเป็นจริงให้ใกล้เคียงที่สุดเท่าที่จะทาได้ดังที่มหาตมา คานธี กล่าวไว้ “ข้าพเจ้าเกิด
ความเชื่อมั่นว่า สัจธรรมนั้นแหละ คือพระเป็นเจ้าอันสูงสุด”
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์

More Related Content

What's hot

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxPamPSeehatip1
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsTeetut Tresirichod
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้Khanatsanan Jitnum
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระKrusupharat
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศjanejaneneee
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 

What's hot (20)

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptxหน้าที่พลเมืองป_5.pptx
หน้าที่พลเมืองป_5.pptx
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditions
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
 
พระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระพระอนุรูทธเถระ
พระอนุรูทธเถระ
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 

Similar to หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756CUPress
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลKunnai- เบ้
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณpair pair
 
การตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
การตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดการตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
การตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดKai Janghoo
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Anirut Yotsean
 

Similar to หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์ (20)

ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
9789740329756
97897403297569789740329756
9789740329756
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณ
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
การตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
การตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดการตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
การตลาดและการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from chakaew4524

~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยาchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งchakaew4524
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ chakaew4524
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ดchakaew4524
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดchakaew4524
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งchakaew4524
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แchakaew4524
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตchakaew4524
 

More from chakaew4524 (20)

~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่งบทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
บทที่ 10 ประกันภัยทางบกและขนส่ง
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แ
 
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิต
 

หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์

  • 1. หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ แม้ว่าน่าจะเป็นคาที่คนทั่วไปควรจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี แต่ในข้อเท็จจริงแล้วคนส่วนใหญ่มีพื้นฐาน และความเข้าใจต่อความหมายของประวัติศาสตร์ค่อนข้างจากัด ประเด็นแรกสุดสาหรับผู้สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ควรที่จะทา ความเข้าใจ คือ ลักษณะทั่วไปของศาสตร์นี้ เพื่อให้เข้าใจชัดเจนว่าประวัติศาสตร์มีลักษณะเช่นใด มีวิธีการศึกษาอย่างไร มี จุดมุ่งหมายอะไรในการเขียนและจุดมุ่งหมายในการเขียนประวัติศาสตร์นี้เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้างในแต่ละช่วงเวลาของสังคม การขาดความเข้าใจประวัติศาสตร์ทาให้เกิดความสับสนต่อข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ไทยไม่น้อย เช่น กรณี วิทยานิพนธ์เรื่องการเมืองในอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ของสายพิณ แก้วงามประเสริฐ (สายพิณ แก้วงามประเสริฐ. ภาพลักษณ์ ท้าวสุรนารีในประวัติศาสตร์ไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๒๕๓๗.) ที่กล่าวได้ว่าเป็น ปัญหาความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยที่น่าสนใจอย่างยิ่งในช่วงเวลาปัจจุบัน ข้อโต้แย้งที่มีต่อหนังสือเล่ม นี้มิได้เกิดขึ้นจากประเด็นด้านหลักฐานหรือข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์โดยตรง แต่เกิดขึ้นจากปัญหาของความไม่เข้าใจต่อ จุดมุ่งหมายและวิธีการในการศึกษาประวัติศาสตร์มากกว่าเหตุผลอื่น ๆ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงประเด็นที่นักศึกษาจานวนมากไม่ อาจจะแยกความแตกต่างระหว่างประวัติศาสตร์กับศาสตร์ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์อื่น ๆ ที่มีขอบข่ายในด้านไทยศึกษา เช่นกัน ดังนั้น ก่อนที่จะศึกษาประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของการเขียนงานประวัติศาสตร์ หรือ แม้แต่ในการที่จะอ่านงาน ประวัติศาสตร์ก็ตาม จึงควรที่จะต้องเข้าใจถึงความหมายของประวัติศาสตร์ เหตุผลเบื้องหลังของการเขียนงานประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ให้ชัดเจนเสียก่อน ๑.๑ ประวัติศาสตร์ คือ อะไร ถ้าถามว่าประวัติศาสตร์ คือ อะไร คนส่วนใหญ่มักจะตอบว่า ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวในอดีต หรือที่ กล่าวกันว่า ประวัติศาสตร์ตามความหมายอย่างกว้างที่สุดนั้นคือ ทุกสิ่งที่คนได้ทา ได้คิด ได้หวัง และได้รู้สึก ความเข้าใจนี้แม้ว่า จะมีส่วนถูกอยู่บ้าง แต่เป็นความเข้าใจที่ไม่สมบูรณ์นัก และอาจจะทาให้เข้าใจความหมายของการศึกษาประวัติศาสตร์คาดเคลื่อน ไปบ้าง เพราะว่าประวัติศาสตร์ไม่ได้เป็นการศึกษาเหตุการณ์ในอดีตทุก ๆ เรื่อง แต่จะศึกษาเฉพาะเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์ เท่านั้น คือ เป็นการศึกษาที่พฤติกรรมในอดีตของมนุษย์เป็นหัวใจหลักของงานประวัติศาสตร์ แต่ก็ยังยกเว้นในกรณีอดีตที่แม้ จะไม่ใช่อดีตของมนุษย์โดยตรงนั้นมีส่วนเกี่ยวข้องกับมนุษย์อยู่ด้วย ก็สามารถรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาประวัติศาสตร์ เช่น การก่อสร้างปราสาทหินพิมาย ถ้าเป็นการศึกษาเพื่อตอบคาถามว่า ปราสาทหินแห่งนี้ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างกี่หลัง ปรางค์ ประธานสูงกี่เมตร กว้างกี่เมตร สร้างจากหินอะไร งานที่ออกมาจะไม่ถือเป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ เพราะถ้าเป็นการศึกษา ประวัติศาสตร์จะต้องศึกษาโดยตั้งคาถามว่า ใครเป็นผู้ก่อสร้าง เขาสร้างขึ้นเมื่อไร ทาไมจึงสร้างขึ้น ดังนั้นปัจจัยประการแรก ของประวัติศาสตร์ จึงมิได้หมายถึง อดีตของเหตุการณ์ทุกอย่าง แต่ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์ โดยพฤติกรรมมนุษย์ในอดีตจะเป็นหัวใจของการศึกษา ในทางปฏิบัติ อดีตของมนุษย์ที่ประวัติศาสตร์มุ่งจะศึกษาควรต้องเป็นอดีตที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์จานวนมาก แทบจะ เป็นไปไม่ได้เลยที่นักประวัติศาสตร์จะสามารถศึกษาอดีตทั้งหมดของมนุษย์ทั้งหมดได้ จึงพบว่าประวัติศาสตร์มักศึกษาถึง เหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตทางสังคมของมนุษย์ คือ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสามารถนาไปสู่ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง หรือสถาบันที่สามารถสร้างผลกระทบต่อสังคมของมนุษย์โดยส่วนรวม เช่น การบริหารประเทศของรัฐบาล สงครามระหว่างรัฐ สถานะภาพของกษัตริย์ เป็นต้น เราจึงพบว่า ในบางครั้งชีวประวัติของบุคคลสาคัญจึงได้รับความสนใจจาก นักประวัติศาสตร์ด้วยเหตุผลในทานองเดียวกัน เพราะว่าการกระทาของบุคคลสาคัญเหล่านี้จะสามารถสร้างผลกระทบต่อคน
  • 2. จานวนมากได้เช่นกัน ดังนั้นปัจจัยประการที่สองของประวัติศาสตร์จึงไม่เป็นเพียงแค่การศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์ เท่านั้น ต้องเป็นอดีตที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์จานวนมาก หรือ ความพยายามที่จะเข้าใจอดีตของสังคมมนุษย์ ประวัติศาสตร์จึง หมายถึง การศึกษาเหตุการณ์ในอดีตของสังคมมนุษย์ ปัจจัยประการที่สามเกี่ยวข้องในเรื่องของความหมายของเวลาทางประวัติศาสตร์ เวลาของประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็น การศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ คาว่า อดีต ที่ว่านี้หมายถึงช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้ว ปัญหา คือ เราจะถือว่า “อดีต” ของ ประวัติศาสตร์เป็นช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้วนานเท่าใด แม้จะเคยกาหนดว่าเหตุการณ์ที่ถือว่าเป็นประวัติศาสตร์นั้นต้องเป็น เหตุการณ์ที่ผ่านไปประมาณ ๑๐ ปี แม้ว่าการกาหนดเวลาของประวัติศาสตร์เช่นนี้จะไม่ได้รับการยอมรับกันในปัจจุบัน แต่ ประวัติศาสตร์ควรจะต้องศึกษาเหตุการณ์ที่สามารถระบุช่วงเวลาเริ่มต้น และ จุดลงท้าย ของเหตุการณ์นั้น ๆ ได้ เช่น ถ้าเรา ต้องการการศึกษาถึงการบริหารประเทศของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ในทางประวัติศาสตร์จะถือว่าหัวข้อนี้ยังไม่พร้อมสาหรับ การศึกษา เนื่องจากการบริหารประเทศของรัฐบาลชุดนี้ยังไม่สิ้นสุดลง จึงยังไม่อาจสรุปได้ว่าผลงานทั้งหมดของรัฐบาลชุดนี้มี อะไร และเป็นอย่างไร ถือเป็นเหตุการณ์ที่ยังไม่ถึงจุดลงท้ายของเหตุการณ์ เมื่อหันมาพิจารณาการแบ่ง ”เวลา” จะเห็นช่วงของเวลาที่แยกออกกันเป็น ๓ ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต อดีต คือ ช่วงเวลาที่ผ่านไปแล้ว ปัจจุบัน คือ ช่วงเวลาที่กาลังเกิดขึ้น อนาคต คือ ช่วงเวลาที่กาลังจะมาถึง ดังนั้นเมื่อเราถามถึง เวลาของเหตุการณ์ใด ๆ ที่กาลังเกิดขึ้น (ปัจจุบัน) จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่ต้องกล่าวว่าเหตุการณ์นั้นจะผ่านไป (อดีต) และ เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นต่อไปจะเป็นเพียงสิ่งที่เราคาดคะเนว่า จะเป็นเช่นใด (อนาคต) เวลาของมนุษย์จึงมีอดีตเป็นประสบการณ์ที่ สะสมอยู่มากที่สุด ปัจจุบันเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ที่กาลังผ่านไปทุกช่วงเวลา และอนาคตเป็นสิ่งที่รอเวลาเพื่อมาสู่ปัจจุบัน เวลา นอกจากจะมีความสาคัญในแง่ของการเป็นเครื่องกาหนดขอบเขตทางเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ ยังมีส่วน สาคัญในการอธิบายลักษณะเฉพาะของสังคมที่ผ่านไปของแต่ละช่วงเวลานั้น ๆ ด้วย เพราะประวัติศาสตร์มิได้เป็นเพียงแค่ การศึกษา อดีตของสังคมมนุษย์เท่านั้น แต่เป็นการศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา เช่น เมื่อเราศึกษาถึงการปกครองของไทย การปกครองในสมัยสุโขทัยจะแตกต่างไปจากการปกครองในสมัยอยุธยา เพราะใน สมัยสุโขทัยเป็น “เวลา” ที่สังคมไทยมี ความคิด ความต้องการ ความหวัง ที่ต่างออกไปจาก “เวลา” ของสมัยอยุธยา หรือ เรา อาจกล่าวว่า “เวลา” ยังหมายถึง ปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบสังคมมนุษย์ในเวลานั้น และปัจจัยแวดล้อมเหล่านี้ได้สร้าง ลักษณะเฉพาะของ “เวลา” หรือ “สมัย” ต่าง ๆ ให้มีลักษณะเฉพาะตนขึ้น “เวลา” จึงเป็นปัจจัยแวดล้อมของสังคมมนุษย์ที่ไม่ เคยหยุดนิ่งแต่เปลี่ยนแปลงไปเสมอตามความคิด ความต้องการ ความหวัง ความดี ความเลว ของแต่ละสมัย และเป็นปัจจัย สาคัญอย่างยิ่งที่ทาให้ประวัติศาสตร์ได้มีส่วนในฐานะบทเรียนให้แก่สังคม เข้าใจถึงความเป็นอนิจจังของสังคมมนุษย์ที่มีความแปร เปลี่ยนไปเป็นธรรมดา ปัจจัยประการที่สามของประวัติศาสตร์จึงขยายความหมายของประวัติศาสตร์ว่า คือ การศึกษาอดีตของ สังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา ปัจจัยประการที่สี่ เกี่ยวข้องกับการอธิบายทางประวัติศาสตร์ เพราะการศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของ เวลายังมิได้เป็นคาจากัดความที่สมบูรณ์ เพราะการศึกษาประวัติศาสตร์มิได้ทาเพียงแต่การนาหลักฐานหรือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ในช่วงของเวลามาปะติดปะต่อกันให้เป็นเรื่องราวเท่านั้น ยังคงต้องศึกษาเพื่ออธิบายให้สามารถเข้าใจอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ ละช่วงของเวลาด้วย ประวัติศาสตร์จึงไม่ได้เป็นเพียงการเล่าเรื่องว่ามีเหตุการณ์ใด ๆ บ้างเกิดขึ้นมาในอดีตแต่ละช่วงของเวลา หรือเป็นเพียงการนาข้อเท็จจริงมาเล่าให้ฟัง แต่จะต้องอธิบายเพื่อให้เข้าใจไปมากกว่านั้นว่า เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นจากใคร เกิดอะไรขึ้น เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ไหนและเมื่อไร ทาไมจึงเกิดขึ้น ประวัติศาสตร์จึงต่างออกไปโดยสิ้นเชิงจาก
  • 3. การเล่าเรื่องแบบธรรมดา แต่จะต้องอธิบายให้เห็นและเข้าใจถึงอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา เราสามารถสรุปคา จากัดความได้ว่า ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเพื่ออธิบายอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของเวลา ๑.๒ เหตุผลของการศึกษาประวัติศาสตร์ เหตุผลของการศึกษาประวัติศาสตร์มีประเด็นที่ถูกหยิบยกมากล่าวถึงหลายประการด้วยกัน ตั้งแต่เพื่อที่จะนาไปสู่ความ เข้าใจอดีต เพื่อความบันเทิง ความภาคภูมิใจ แต่ที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด คือ เป็นการศึกษาเพื่อที่จะใช้อดีตมาเป็นบทเรียน สาหรับปัจจุบัน เช่นที่กล่าวว่า “คนสร้างประวัติศาสตร์ของตนเอง แต่มิได้สร้างประวัติศาสตร์ขึ้นตามใจชอบ คนมิได้สร้าง ประวัติศาสตร์ภายใต้ภาวการณ์ที่เขาเป็นผู้เลือกเอง แต่ภายใต้ภาวการณ์ที่คนประสบมามีอยู่แล้วอย่างนั้น และส่งทอดโดยตรง มาจากอดีต” เพราะชีวิตนั้นยาวนานและผูกพันกับทั้ง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งนี้ความคิดและพฤติกรรมของมนุษย์ใน ปัจจุบันย่อมจะผูกพันกับอดีตอยู่ไม่มากก็น้อย การค้นหาความหมายและเข้าใจชีวิตจึงจาเป็นต้องเรียนรู้และเข้าใจอดีต ในแง่นี้ เองที่ประวัติศาสตร์เข้ามามีบทบาทต่อชีวิตมนุษย์ จนทาให้ปัจจุบันจุดมุ่งหมายสาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจ อดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของเวลา แม้แต่ในฐานะปัจเจกบุคคล การตัดสินใจกระทาสิ่งใด ๆ ของมนุษย์ ไม่ว่าจะโดย ตั้งใจหรือไม่ก็ตามจะใช้พื้นฐานจากประสบการณ์ในอดีตมาเป็นเครื่องแนะแนวทางเสมอ โดยหวังว่าการตัดสินใจนั้น ๆ จะสามารถ ยังประโยชน์ให้เขาได้ในอนาคต เราอาจยกตัวอย่างการตัดสินใจจะเลือกพรรคการเมืองมาเป็นตัวแทน คงเริ่มจากการพิจารณาถึง ผลงานของพรรคที่ผ่านมาเป็นเกณฑ์ กรณีนี้เป็นตัวอย่างง่าย ๆ ถึงการใช้อดีตมาเป็นเครื่องกาหนดการตัดสินใจในอนาคต ความสาคัญของอดีตในด้านวัตถุที่ดูเหมือนจะสามารถจับต้องได้นี้ มักจะเป็นสิ่งที่นิยมหยิบยกมาเป็นคาอธิบายถึงคุณค่า ของการศึกษาประวัติศาสตร์เสมอ แต่ยังมิได้เป็นจุดหมายลาดับแรก มีนักประวัติศาสตร์จานวนไม่น้อยที่พยายามจะชี้ให้เห็นว่า ประวัติศาสตร์มิได้มีจุดมุ่งหมายโดยตรงเพื่อจะให้ถูก “ใช้” เป็นประโยชน์ด้านวัตถุเช่นนั้น เพราะวิธีการทางประวัติศาสตร์ถูก พัฒนาขึ้นมาเพื่อจะช่วยให้นักประวัติศาสตร์สามารถเข้าถึงความเป็นจริงให้ใกล้เคียงที่สุด “...อุดมคติของนักประวัติศาสตร์จึงเป็น การอธิบายอดีตตามที่มันเป็นจริง หรือ อย่างน้อยที่สุดเพื่อให้เข้าใกล้กับความจริงมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ นักประวัติศาสตร์จึงต้อง พยายามเข้าใจอดีตตามเงื่อนไขของอดีตเอง มิใช่โดยอาศัยมาตรฐาน ค่านิยม หรือ ความใฝ่ฝันของปัจจุบันเป็นมาตรฐาน...” ดังนั้นประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าในการเป็นบทเรียนสาหรับมนุษย์ หรือ แม้แต่สาหรับสังคมมนุษย์ ควรเป็นประวัติศาสตร์ที่สามารถ อธิบายให้มนุษย์ได้เข้าใจถึงอดีตที่เป็นจริงมากที่สุด แม้ว่าจะต่างออกไปจากกระแสของการศึกษาประวัติศาสตร์ในบางยุคสมัยที่ ความจริงอาจจะไม่ได้เป็นความสาคัญในลาดับแรกของการศึกษาประวัติศาสตร์ จุดมุ่งหมายของประวัติศาสตร์กลุ่มนั้น ๆ จึง อาจอยู่ที่ การส่งเสริมให้เกิดความรักชาติ อย่างประวัติศาสตร์แบบชาตินิยม การเสนอภาพของชนชั้นล่างของสังคม เช่น ประวัติศาสตร์แบบมาร์กซิกส์ ถึงแม้ไม่อาจปฏิเสธประโยชน์ในบางด้านของจุดมุ่งหมายในการศึกษาประวัติศาสตร์แบบนั้นได้ ในขณะที่เราคงไม่อาจปฏิเสธได้เช่นกันว่า ในที่สุดแล้วการให้ความสาคัญเป็นลาดับแรกต่อความจริงที่เกิดขึ้นในอดีตอย่างเที่ยงตรง ที่สุดเท่านั้นจะสามารถสร้างคุณค่าที่ถาวรต่อมนุษย์และสังคมของเขา เมื่อเราพิจารณาถึงสภาพของสังคมปัจจุบัน จะเห็นได้ว่ามนุษย์ส่วนใหญ่ในสังคมมักจะเลือกประโยชน์ทางวัตถุเป็น เป้าหมายลาดับแรก จึงพร้อมที่จะกระทาสิ่งใด ๆ ก็ตามเพื่อตอบสนองจุดมุ่งหมายทางวัตถุเหล่านั้น อาทิ การสมัครรับเลือกตั้ง เพื่อเป็นตัวแทนของสังคมในรูปแบบต่าง ๆ ที่จะพบว่า มีการใช้วิธีการที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายเพื่อให้ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้ง จนกลายเป็นปรากฏการณ์ปกติของสังคมทั้งตัวผู้สมัครรับเลือกตั้งและผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียง โดยที่ทั้งสองฝ่ายต่างก็สานึกดีว่า การกระทาดังกล่าวเป็นการบ่อนทาลายศรัทธาทางการเมืองที่มีต่อกัน เพราะประชาชนก็มิได้ศรัทธาในนักการเมือง และ นักการเมืองก็ไม่ได้ใส่ใจต่อความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างจริงจัง เป็นเพียงกระบวนการเพื่อนาไปสู่จุดมุ่งหมายทางวัตถุที่แต่ละ ฝ่ายเลือกที่จะรับ ด้วยวิธีเช่นใดที่จะช่วยให้บุคคลทั้งสองฝ่ายนี้ได้สานึกว่า กระบวนการเลือกตั้งควรที่จะเป็นกระบวนการเพื่อ
  • 4. เลือกสรรบุคคลไปเป็นตัวแทนของประชาชนอย่างแท้จริง คาตอบจึงมิใช่ว่า ถ้านักการเมืองผู้นั้นมีจุดมุ่งหมายที่ “ดี” (เช่น รัก ชาติ,เสียสละ,ซื่อสัตย์) แล้ว ไม่ว่าจะใช้วิธีการใด ๆ เพื่อชนะการเลือกตั้ง เขาสามารถที่จะได้รับการยอมรับจากสังคม เพราะในขณะเดียวกันนักการเมืองผู้ที่มีจุดมุ่งหมายที่ “ไม่ดี” (เช่น เข้ามากอบโกย,แสวงหาผลประโยชน์) สามารถมีข้ออ้างได้ว่า วิธีการซื้อเสียงเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ใคร ๆ ก็ทากัน ประชาชนทั่วไปจึงไม่ได้แยกแยะว่า ใคร คือ นักการเมืองที่ “ดี” หรือ นักการเมืองที่ “ไม่ดี” เพราะกระบวนการเพื่อนาไปสู่ชัยชนะในการเลือกตั้งของทั้งสองกลุ่มนี้ไม่แตกต่างกัน จึงเป็นการเลือกโดย คานึงถึงผลตอบแทนทางวัตถุที่ “ดี” ที่สุด ยิ่งไปกว่านั้นในทางปฏิบัติ”ความดี” หรือ “ความไม่ดี” ยังเป็นนามธรรมที่ยากจะให้ คาจากัดความเสียด้วยซ้า การสร้างให้นักการเมืองมีความเป็นกลางและเที่ยงธรรมจึงเป็นคาตอบที่เหมาะสมที่สุด การหาเสียง ควรมาจากการชี้ให้เข้าใจข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุมีผล เพื่อให้ประชาชนสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างฉลาดที่สุดเท่าที่เขาจะทาได้ การอธิบายในแบบนี้จึงช่วยให้เราตระหนักถึงประชาชนในฐานะที่เป็นพลังใน และทาให้มนุษย์สามารถหาประโยชน์จาก ประวัติศาสตร์ได้ มนุษย์จะสามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างฉลาดที่สุดได้ตามความเป็นจริงที่ได้เห็นว่าแท้ที่จริงแล้วสังคมมนุษย์ได้ พัฒนาและคลี่คลายมาเช่นใด มิใช่เพียงแค่การสรรเสริญเฉพาะความดีงาม เก็บซ่อนความบกพร่องโดยละเลยที่จะยอมรับความ เป็นมนุษย์ที่ยังคงมี กิเลส ตัณหา การแย่งชิง ผู้ที่มีอานาจมากกว่ายังคงข่มเหงผู้ที่ด้อยกว่า “คุณค่า” ของการชี้ให้เห็น ข้อเท็จจริงอย่างเที่ยงธรรมเช่นนี้ต่างหากที่จะช่วยให้มนุษย์สามารถตัดสินใจเลือกได้อย่างฉลาดที่สุด เช่น ประวัติศาสตร์ไทยมักจะ ยกตัวอย่างการรุกรานจากพม่ามาเป็นบทเรียนเพื่อสร้างความสามัคคีของชนในชาติ พร้อมกับละเลยที่จะพูดถึงการรุกรานของไทย ที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้าน จึงไม่แปลกที่บทเรียนสาหรับสังคมไทยไม่สมบูรณ์นักและมักมึนงงต่อท่าทีของประเทศเพื่อนบ้านบาง ประเทศที่มีต่อไทย พร้อมกับความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในยุคปัจจุบันไม่ได้ราบรื่นอย่างที่หวังไว้นัก ถ้าเรายอมรับที่จะเข้าใจประวัติศาสตร์อย่างเที่ยงธรรม เราจะสามารถยอมรับได้ว่า ไม่มีผู้ปกครองคนได้ที่สามารถหลุด พ้นจากกิเลส ตัณหาของมนุษย์ ไม่มีระบบการปกครองใดที่จะสมบูรณ์ไปทุกยุคทุกสมัย ไม่มีสถาบันใดที่ดารงอยู่โดยไม่ เปลี่ยนแปลง มนุษย์จะขจัดอคติ พวกพ้องของตน รู้จักคิดโดยใช้เหตุใช้ผลบนพื้นฐานของหลักฐานและข้อเท็จจริง มีความดี และมองเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นกลาง การศึกษาเพื่ออธิบายอดีตของสังคมมนุษย์ในแต่ละช่วงของเวลาจึงยัง ประโยชน์เพื่อให้มนุษย์ หรือ สังคมมนุษย์ได้เข้าใจว่า ตนเอง หรือ สังคมของตน เป็นเช่นใด รู้จักจุดเด่นและจุดด้อย เข้าใจ ความสามารถและข้อจากัด เพื่อนาไปสู่ทางเลือกของการดาเนินชีวิตที่ดีที่สุดเท่าที่จะทาได้ เป็นความจาเป็นอย่างยิ่งที่โอกาสใน การเลือกนี้จะมาจากความเข้าใจอดีตที่ใกล้เคียงกับความจริงมากที่สุด ไม่ใช้อดีตที่บิดเบือนหรือทรงคุณค่าเพียงเพื่อส่งเสริมความ รักชาติ ความจริงแม้จะปวดร้าวแต่ยังให้คุณค่ายิ่งกว่าการประโลมใจด้วยความเท็จ ที่ยังก่อให้เกิดความหลงตัว และชิงชังผู้อื่นโดยไร้เหตุผล ๑.๓ จุดหมายของการศึกษาประวัติศาสตร์ แม้จะเป็นที่ยอมรับว่าประวัติศาสตร์ที่บริสุทธิ์ปราศจากอคตินั้นไม่มี เพราะประวัติศาสตร์ถูกเขียนขึ้นโดยมนุษย์ แม้จะ เรียกตัวเองว่านักประวัติศาสตร์ ดังนั้นนักประวัติศาสตร์จึงมีโอกาสที่จะนาเอาความคิดเห็น ประสบการณ์ อคติ หรือ สิ่งใด ๆ ก็ตามที่เขาเห็นว่าสมควรรวมเข้าไปกับการศึกษาประวัติศาสตร์ แม้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์จะพยายามอย่างยิ่งที่จะขจัดสิ่ง แปลกปลอมเหล่านี้ออกไปแต่ก็ยังไม่สามารถที่จะรับรองได้ว่า ประวัติศาสตร์ปลอดภัยจากทัศนะของนักประวัติศาสตร์ได้โดยสิ้นเชิง เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เราศึกษาต้องผ่านกระบวนการคิด (thinking) ซึ่งการคิด(thought) ตัดสิน(judgment) ว่า การคิดใดถูกต้อง ทาให้การอธิบายทางประวัติศาสตร์อยู่ภายใต้กรอบของความคิด(ideas) ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์จึงอาจจะมีจุดหมายที่หลากหลายออกไปตามแต่ทัศนะของนักประวัติศาสตร์แต่ละคนจะ เห็นว่าจุดหมายใดมีความเหมาะสมมากที่สุด ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เสนอว่าจุดหมายในการศึกษาประวัติศาสตร์ต้องเป็นไปเพื่อ
  • 5. ประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ในสังคม เพื่อให้สังคมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยต้องยึดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไว้ให้ ถูกต้อง และนาไปสู่การตีความเพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม การกาหนดจุดหมายของประวัติศาสตร์เช่นนี้ ทาให้ ประวัติศาสตร์มีหน้าที่ไม่เพียงเพื่อให้สามารถอธิบายสังคมมนุษย์ที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปและจะเกิดอะไรขึ้นกับสังคมมนุษย์ที่ต้อง เปลี่ยนแปลงไปนี้เท่านั้น นักประวัติศาสตร์ยังต้องมีส่วนช่วยชี้นาสังคมเพื่อให้เกิดความเข้าใจว่า สังคมมนุษย์ไม่เคยหยุดนิ่งอยู่กับ ที่ และต้องเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานี้ควรจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด เพื่อประโยชน์ของคนกลุ่มน้อย หรือ เพื่อประโยชน์ ของคนกลุ่มใหญ่ ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นนักประวัติศาสตร์หรือผู้อ่านงานประวัติศาสตร์ จึงจะมีความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ ความหวัง ไม่ต่างออกไปจากปัจเจกชนอื่น ๆ ในสังคม เพราะตัวเขาเองยังคงดารงชีวิตอยู่ในฐานะส่วนหนึ่งในสังคมของเขา ความผูกพันในความเป็นมนุษย์ที่มีต่อสังคมจึงได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมของสังคมที่เขาอาศัยอยู่ทั้งทางตรงและทางอ้อม ความคิดต่อประวัติศาสตร์จึงอาจกาหนดรูปแบบด้วยอิทธิพลของเวลา และ สถานที่ในชีวิตจริงของเขาอยู่ไม่น้อย การตีความจาก หลักฐานและข้อเท็จจริง ทั้งในกรณีผู้เขียนและผู้อ่านงานประวัติศาสตร์จึงไม่ได้อาศัยเพียงหลักฐานจาก จารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ หรือ อื่น ๆ ที่เราเรียกกันว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น แต่ได้รวมเอา ความคิด ความรู้สึก ความปรารถนา และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาในชีวิตทางสังคมของเขาร่วมหล่อหลอมให้กลายเป็นจุดหมายต่อ ประวัติศาสตร์ที่เขาคาดหวังด้วย การกระทาเช่นใดเป็นการนาประวัติศาสตร์มาใช้เพื่อประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ของสังคม การนั่งท่องจาเหตุการณ์ที่ เคยเกิดขึ้นมาในอดีตเพียงอย่างเดียว ไม่ได้สร้างคุณค่ามากเท่ากับว่าเราจะสามารถเข้าใจถึงความหมายของสิ่งที่เราท่องจาไปนั้น ได้อย่างไร และไม่ว่าจะมองโลกในแง่ดีหรือแง่ร้าย เมื่อเกิดขึ้นมาในสังคมแล้วเราย่อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ด้วย เช่นกัน ถ้ามนุษย์ยังคงไม่เข้าใจตัวเองและสังคมคงยังไม่รู้ทิศทางที่แน่นอนว่ากาลังจะก้าวไปสู่อะไรในอนาคต แต่ความ ต้องการที่จะอธิบายความหมายของชีวิตจะยังคงต้องมีอยู่ต่อไปแน่นอน แม้ว่าเหตุการณ์หรือการกระทานั้นจะผ่านไปแล้วนาน เท่าใดก็ตาม ในเมื่อเหตุการณ์หรือการกระทานั้นเป็นสิ่งที่มนุษย์ “สร้าง” ขึ้น มนุษย์ด้วยกันก็ย่อมที่จะทาความเข้าใจกับ เหตุการณ์นั้นให้ได้ ไม่วันใดก็วันหนึ่ง แม้ว่าจุดหมายเช่นนี้ของประวัติศาสตร์ อาจจะทาให้ดูเหมือนว่า ประวัติศาสตร์ถูกเขียนขึ้นหรือแม้แต่ถูกอ่านไปโดยมี ข้อสรุปบางอย่างอยู่ล่วงหน้าแล้ว แต่ที่จริงแล้วการกาหนดจุดหมายของประวัติศาสตร์ เพียงเพื่อช่วยให้งานประวัติศาสตร์ สามารถก้าวคู่ไปกับความเปลี่ยนแปลงและสามารถนาประโยชน์ให้กับสังคมส่วนใหญ่ เพราะประวัติศาสตร์มิได้มีหน้าที่เพื่อปลด เปลื้องตัวเองออกจากอดีต หรือปกป้องอดีตเอาไว้ นักประวัติศาสตร์จะต้องเป็นนายของอดีตโดยทาความเข้าใจอดีตในฐานะที่ เป็นกุญแจนาไปสู่ความเข้าใจสภาพปัจจุบัน แม้อาจจะไม่สามารถทานายอนาคตตราบเท่าที่พฤติกรรมของมนุษย์ยังคงเป็นเรื่อง ยากที่จะคาดเดา อนาคตจึงเป็นเพียงความหวังและความกลัวของเราเท่านั้น ประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่ตุลาการเพื่อพิพากษาอดีต หรือเป็นนักเทศน์เพื่อช่วยชี้นาปัจจุบัน จุดหมายสูงสุดของประวัติศาสตร์จึงไม่ใช่บทเรียนทางศีลธรรมหากแต่เป็นไปเพื่อความ เข้าใจตัวเองและเพื่อ “ความจริง” อันจะหาได้จากประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์เท่านั้น เพราะโศกนาฏกรรมของชีวิต คือ ความตาย (จากการทาความดี) ในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ๑.๔ วิธีการและระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นจากความพยายามที่จะทาให้การศึกษาอดีตของสังคมมนุษย์ ประกอบด้วย ขั้นตอนดังนี้ คือ การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา การรวบรวมหลักฐาน การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบหลักฐาน การวิเคราะห์ ทางประวัติศาสตร์ มีรายละเอียดแต่ละขั้นตอนดังนี้ การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
  • 6. การรวบรวมหลักฐาน การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบหลักฐาน การวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ ๑. การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา การเลือกหัวข้อที่จะศึกษานั้น ในทางปฏิบัติแล้วหัวข้อที่จะนามาใช้ศึกษายังมีอยู่อีกจานวนมาก หัวข้อทางประวัติศาสตร์ ใหม่ ๆ จึงมักเกิดขึ้นเป็นประจา แม้แต่หัวข้อที่เคยมีการศึกษาค้นคว้ามาแล้วก็อาจทาการศึกษาค้นคว้าให้ลึกซึ้งต่อไปได้อีก แต่ ประเด็นที่เป็นปัญหาคือ ขอบเขตอันกว้างขวางของการศึกษาที่มักจะทาให้ผู้เริ่มต้นประสบความยากลาบากในการเลือกหัวข้อเพื่อ นามาศึกษา ข้อแนะนาสาหรับผู้ที่ยังประสบกับปัญหาในการเลือกหัวข้อเพื่อนามาศึกษาโปรดทดลองปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ การสร้างความสนใจใผ่รู้ การตรวจสอบความเหมาะสมของหัวข้อที่จะศึกษา การกาหนดขอบเขตของหัวข้อที่จะศึกษา การสร้างความสนใจใผ่รู้ การศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ในฐานะที่เป็นงานวิชาการแขนงหนึ่งนี้ มีจุดเริ่มต้นมิได้แตกต่างไปจากงานวิชาการ แขนงอื่น ๆ เลย เพราะเป็นการศึกษาค้นคว้าที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความสนใจใผ่รู้ของมนุษย์ต่อเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ของตน ทั้งนี้อาจเป็นเพื่อที่จะนาไปสู่ความต้องการแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาหรือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมให้กับคลัง ความรู้ของโลก การศึกษาค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความสนใจใผ่รู้นี้ จะช่วยให้นักประวัติศาสตร์ สามารถทาการค้นคว้าได้ดีกว่างานที่มิได้สนใจอย่างจริงจัง ดังนั้นนักประวัติศาสตร์ที่ดีจึงไม่ควรหวังที่จะให้คนอื่นเลือกหัวข้อที่ จะศึกษาให้กับตน แม้ว่าบางครั้งก็เป็นความจริงที่ว่า ผู้ร่วมงาน อาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญบางท่านอาจให้คาแนะนาที่ดีถึงหัวข้อ ปัญหาใหม่ ๆ ที่น่าสนใจโดยตัวนักประวัติศาสตร์เองนึกไม่ถึงก็ตาม การเลือกหัวข้อที่จะศึกษานั้นบางครั้งนักประวัติศาสตร์จะเลือกหัวข้อได้จากการอ่านงานประวัติศาสตร์บางเรื่องแล้วเกิด ความรู้สึกไม่เห็นด้วย จึงมีการค้นคว้าต่อไปถึงปัญหาที่เป็นข้อถกเถียงหรืออาจกล่าวได้ว่า จากความไม่เห็นด้วยนี้ทาให้เกิดมีหัวข้อ งานประวัติศาสตร์ที่ดีขึ้นได้ นอกจากนี้หัวข้อที่จะศึกษาอาจเกิดขึ้นจากประสบการณ์ของนักประวัติศาสตร์ที่ช่วยแนะนาถึงหัวข้อ ที่น่าสนใจ รวมไปถึงเครื่องมือชนิดอื่น ๆ ที่เป็นเครื่องช่วยในการเลือกหัวข้อ เช่น บัญชีรายชื่อหนังสือสารานุกรม เป็นต้น แต่ สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ การมีข้อสงสัยอยู่เสมอจะเป็นเครื่องนาทางที่น่าอัศจรรย์และมีประโยชน์ที่สุดไม่เพียงแต่ในการเลือกหัวข้อ เท่านั้นยังรวมไปถึงกระบวนการค้นคว้าทางประวัติศาสตร์ต่อไปของนักประวัติศาสตร์ด้วย การตรวจสอบความเหมาะสมของหัวข้อที่จะศึกษา หลังจากได้หัวข้อที่จะศึกษาแล้ว นักประวัติศาสตร์ควรหยุดพิจารณาหัวข้อนั้นโดยการตั้งคาถามกับตัวเองเพื่อตัดสินใจ ว่าหัวข้อที่ได้เหมาะแก่การค้นคว้าต่อไปเพียงใด เช่น หัวข้อนั้นน่าสนใจหรือไม่ คาตอบต่อคาถามแรกนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับตัวนักประวัติศาสตร์เองว่ามีความกระตือรือร้นในการค้นคว้าเพียงใด ถ้า พบว่าหัวข้อที่ได้มีความน่าสนใจเพียงเล็กน้อยก็จะทาให้เกิดความเบื่อหน่ายในงานที่จะทาต่อไป แต่ถ้าหัวข้อนี้น่าสนใจจะ กลายเป็นแรงกระตุ้นในการทางานต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ หัวข้อนี้เป็นเรื่องใหม่หรือไม่
  • 7. โดยทั่วไปงานวิชาการจะเป็นการศึกษาเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ ๒ ประการด้วยกัน คือ ประการแรก เป็นการศึกษา ในหัวข้อที่ยังไม่มีผู้ใดทาการศึกษามาก่อน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือไม่เลือกเรื่องที่ซ้ากับที่เคยมีผู้อื่นเคยศึกษามาแล้ว ประการที่ สอง ในกรณีหัวข้อที่จะศึกษาเคยมีผู้อื่นเคยศึกษามาแล้วจะต้องเป็นการแสวงหาประเด็นใหม่ที่ผู้ศึกษาเดิมละเลยไป หรือ การ ตีความใหม่ในส่วนที่ยังมีปัญหาเป็นข้อสงสัยอยู่ เป็นการสร้างมุมมองใหม่ให้กับหัวข้อนั้นเพราะถ้าหัวข้อที่ถูกเลือกมิได้มีประเด็นใด เป็นเรื่องใหม่จะเป็นการเสียเวลาที่จะทางานซ้ากับสิ่งที่ผู้อื่นได้เคยทาไปแล้ว หัวข้อนั้นเป็นความรู้หรือไม่ หัวข้อทุกหัวข้อมีความสาคัญไม่เท่ากัน สาหรับงานประวัติศาสตร์ประเด็นสาคัญคือ เราหวังอะไรเมื่องานสาเร็จลงสิ่งใด เป็นจุดประสงค์ของการศึกษา คาตอบคือ เราหวังให้เกิดความรู้ใหม่และสามารถมีประโยชน์ต่อสังคมต่อไปในอนาคต หัวข้อนั้นเป็นเรื่องที่สามารถศึกษาได้หรือไม่ หัวข้อบางหัวข้อนั้นแม้ว่าจะน่าสนใจ แต่เป็นไปได้ว่าอาจมีข้อจากัดจนทาให้การค้นคว้าไม่ประสบความสาเร็จโดยไม่ สามารถทาให้ปัญหานั้นกระจ่างหรือเข้าใจได้ เช่น ขาดหลักเพราะไม่มีการบันทึกไว้ มีหลักฐานน้อยเกินไปจนไม่สามารถ ทาการศึกษาได้โดยสมบูรณ์ เป็นหัวข้อที่กว้างหรือแคบเกินไป การกาหนดขอบเขตของหัวข้อที่จะศึกษา เมื่อพิจารณาผ่านมาจนถึงหัวข้อที่ ๓ แล้ว นักประวัติศาสตร์คงเริ่มมั่นใจต่อหัวข้อที่จะศึกษามากยิ่งขึ้น การกาหนด ขอบเขตของหัวข้อที่จะศึกษาเพื่อสร้างความชัดเจนต่อกระบวนการในการค้นคว้าว่าแท้ที่จริงแล้วเราปรารถนาที่จะเรียนรู้สิ่งใด ขอบเขตของหัวข้อที่ต้องการจะช่วยแยกแยะเรื่องราวที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป กาหนดระยะเวลาที่แน่นอนของการศึกษา โดย วิธีการสามารถกระทาผ่านการตั้งคาถามพื้นฐานของประวัติศาสตร์ดังนี้ ที่ไหน ใคร เมื่อไร อะไร ที่ไหน เป็นคาถามเกี่ยวกับสถายที่ ที่เราต้องการศึกษา เมืองใด ท้องถิ่นใด ขอบเขตของท้องถิ่นนั้นมีเพียงใด ใคร คาถามว่า “ใคร” เป็นการถามถึงตัวบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เราสนใจศึกษา ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเรา สนใจ เรื่อง การสร้างเมืองนครราชสีมา “ใคร” ในที่นี้อาจไม่ได้หมายถึงบุคคลเพียงคนเดียว อาจเป็นคณะบุคคล เช่น กษัตริย์,ขุนนาง ,ชาวบ้าน ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเหตุใด “ใคร” กลุ่มนั้นจึงตัดสินใจมาสร้างมาเมืองนครราชสีมา เมื่อไร เป็นคาถามด้านเวลา เช่น เป็นช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ใดทาให้ต้องมาสร้างเมืองนครราชสีมาในเวลานั้น เป็นช่วงเวลาที่อานาจการปกครองจากส่วนกลางต้องการขยายอิทธิพลเข้าสู่ที่ราบสูงโคราชจึงสร้างเมืองนครราชสีมาเพื่อทาหน้าที่ เป็นตัวแทนเพื่อทาหน้าที่ควบคุมการปกครองหัวเมืองในแถบนี้ หรือเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจในเขตโคราชเก่าจึงย้ายเมืองมายัง สถานที่ใหม่เพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีกว่า อะไร เป็นการถามถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้น ใครเหล่านั้นได้มาร่วมทาสิ่งใดกัน การกระทานั้นได้ส่งผลใดติดตามมา เช่น ทาให้สามารถควบคุมเส้นทางการค้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ใช้ควบคุมการปกครองหัวเมืองในแถบนี้ ๒ การรวบรวมหลักฐาน หลักฐานถือได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของการศึกษาอดีต ไม่เพียงเพราะว่าประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเหตุการณ์ใน
  • 8. อดีตเท่านั้น แต่ประวัติศาสตร์ยังเป็นเหตุการณ์ที่ผู้ศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีโอกาสได้สัมผัสหรือพบเห็นเหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง จึง ไม่แปลกที่จะมีข้อเปรียบเทียบว่านัก ประวัติศาสตร์คือผู้ไปดูละครสาย หรือ แม้แต่รากฐานของคาว่า ประวัติศาสตร์ที่หมายถึงการ ถักหรือทอ ดังที่ อี เอช คาร์ ที่กล่าวไว้ว่า ประวัติศาสตร์ คือ “ข้อมูลที่กระจุยกระจายเต็มอยู่ในถุงผ้า แล้วก็เลือกสรรเอาชิ้นที่ สังเกตได้มา เอาข้อมูลที่เหมาะสมรวมกันเข้า ปัดข้อที่ไม่เหมาะออกไป จนกระทั่งเย็บต่อเป็นผืนผ้าที่มีเหตุและหลักการของ ความรู้”(ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ๒๕๓๗ : ๑ ) ข้อความนี้หมายถึงวิธีการของนักประวัติศาสตร์ กล่าวคือ นักประวัติศาสตร์ หมายถึงคนเย็บผ้า ส่วนหลักฐานก็เหมือนเศษผ้า นักประวัติศาสตร์จะหาหลักฐานต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายอยู่ตามที่ต่าง ๆ ไม่ว่า จะเป็นจากจารึก จากพงศาวดาร จากการสัมภาษณ์ จากโบราณวัตถุ เมื่อรวบรวมได้มาก ๆ แล้ว ก็นามาคัดเลือกหลักฐานที่ เหมาะสมนามาต่อกันโดยใช้วิจารณญาณของตนที่เต็มไปด้วยเหตุผลและหลักการแห่งความรู้ซึ่งก็จะได้งานประวัติศาสตร์ขึ้นมา เหมือนกับคนเย็บผ้าได้ผ้าผืนใหญ่ขึ้นมา แต่สิ่งที่ผู้รวบรวมหลักฐานจะต้องยอมรับ คือ ถ้าประวัติศาสตร์คือการเรียงภาพต่อ (Jigsaw) เป็นเรื่องยากที่จะสามารถเก็บรวบรวมภาพต่อทั้งหมดนี้ได้อย่างสมบูรณ์ อาจจะได้มาทั้งส่วนเกินและขาด และก็คง จะไม่สามารถปฏิเสธทั้งความขาดและเกินของหลักฐานที่ต้องแสวงหา หากต้องเตรียมไว้เพื่อนาไปสู่ขั้นตอนของการวิพากษ์ หลักฐาน และ การตีความหลักฐาน ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อต่อไป การศึกษาประวัติศาสตร์จึงเป็นการเชื่อมโยงหลักฐานที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันให้สอดคล้องกับความจริงที่เกิดขึ้นใน อดีตเพื่ออธิบายเหตุการณ์นั้น ๆ โดยการประเมินเลือกสรร วิเคราะห์ความสาคัญและความสัมพันธ์ของหลักฐานข้อมูลต่าง ๆ และนามาปะติดปะต่อกันขึ้นให้เป็นเรื่องราวที่สมบูรณ์ที่สุด แต่ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นการเลือกสรรหลักฐานได้ตาม อาเภอใจเพราะหลักฐานมีส่วนกาหนดการวิเคราะห์ของนักประวัติศาสตร์ด้วย เพราะถ้าหลักฐานปรากฏออกมาเป็นอีกอย่างหนึ่ง นักประวัติศาสตร์ก็ต้องวิเคราะห์ออกมาบนพื้นฐานของหลักฐานนั้น จึงจะถือได้ว่าเป็นผลงานประวัติศาสตร์ที่มีคุณภาพ ความ เป็นกลางของการศึกษาประวัติศาสตร์ที่จะต้องไม่ใช้มาตรฐาน ค่านิยม ความรู้สึกส่วนตัวของตนเข้าไปพิพากษาและตัดสิน เหตุการณ์ในอดีต พร้อม ๆ กับที่ต้องคานึงถึงว่านักประวัติศาสตร์นั้นก็เป็นมนุษย์ธรรมดา ซึ่งยังมีโลภ โกรธ หลงอยู่ในตัวและไม่ สามารถมี “ความเป็นคนกลาง” อย่างสมบูรณ์ที่สุดได้ ดังนั้นการศึกษาประวัติศาสตร์จะต้องทาไปพร้อมกับความสานึกว่าตนกาลังทางานอะไร ได้ค้นคว้าเลือกสรรหลักฐาน ข้อมูลอย่างรอบคอบแล้วหรือไม่ ได้จัดลาดับความสาคัญของหลักฐานข้อมูลเพียงพอหรือไม่ ได้ประเมินคุณค่าของหลักฐาน ข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ และมีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างดีแล้วหรือไม่ เพื่อท้ายที่สุดจะได้นาการวิเคราะห์ที่ได้ไปสู่การเขียนงาน ประวัติศาสตร์ให้แยกออกไปจากนวนิยาย เรื่องลึกลับตื่นเต้น แต่เป็นศาสตร์ที่มีกระบวนการ ขั้นตอน การพัฒนาและ คลี่คลายในตัวของมันเอง และได้นาไปสู่ความเป็นจริงให้ใกล้เคียงที่สุดเท่าที่จะทาได้ดังที่มหาตมา คานธี กล่าวไว้ “ข้าพเจ้าเกิด ความเชื่อมั่นว่า สัจธรรมนั้นแหละ คือพระเป็นเจ้าอันสูงสุด”