SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว
กับ
การคุ้มครองผู้บริโภค
วิชาการคุ้มครองผู้
บริโภคทางสาธารณสุข
หากท่านเป็นดังภาพ
จะทำาอย่างไร
การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
สาธารณสุข
(CONSUMERPROTECTION IN PUBLIC HEALTH)
การคุ้มครอง (Protection) : การป้องกัน ปกป้อง
ระวัง ดูแล พิทักษ์รักษา ให้อารักขา กันไว้ไม่ให้
เกิดภัยอันตราย บาดเจ็บ หรือเกิดความเสียหาย
การส่งเสริม (Promotion) : การเกื้อหนุน หนุนหลัง
เกื้อกุล เอื้อเฟื่อ เผื่อแผ่ อุดหนุน เพิ่มเติม เอาใจ
ช่วย ช่วยเหลืออยู่ข้างหลัง
การป้องกัน (Prevention) : การกันเอาไว้ก่อน เพื่อ
ไม่ให้เกิดภัยอันตราย หรือที่รู้จักกันว่าป้องกัน
ไว้ก่อนดีกว่าแก้ทีหลัง
การอนุรักษ์ (Preservation) : การป้องกัน สงวน
รักษาสิ่งที่มีอยู่ ให้คงเดิม คงสภาพความอุดม
ความจำาเป็นในการคุ้มครองผู้
บริโภค
 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ให้เสีย
เปรียบผู้ผลิต
 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ไม่ให้ตกเป็น
เหยื่อของการโฆษณา
 เพื่อควบคุมสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่
ปลอดภัย หรือเป็นอันตรายต่อผู้
บริโภค
 เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ระหว่างผู้
       ซื้อ และขาย
สิทธิผู้บริโภคที่ควรทราบ
ความหมาย
 สิทธิ คือ อำานาจที่จะกระทำาการใดๆ
ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรอง
จากกฎหมาย
 สิทธิตามรัฐธรรมนนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย
 สิทธิตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิของผู้บริโภค ตาม
พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค
มาตรา 4ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความ
คุ้มครองดังต่อไปนี้
(1) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำา
พรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอ
เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้า
หรือบริการ
(3) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการ
ใช้สินค้าหรือบริการ
(4) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการ
หน่วยงานดูแลการคุ้มครองผู้
บริโภคทั่วไป
หน่วยงานรัฐ
สำานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สังกัด
สำานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
กฎหมายที่ใช้บังคับ คือ
. . 2522พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ ศ
และ . . 2541พ ศ
หน่วยงานเอกชน
"สมาคมพลังผู้บริโภคแห่งประเทศไทย"ตั้งที่
645/64
ถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพฯ
10400 โทร.653-6040-44 โทรสาร 252-5742
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
"การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
สาธารณสุข "
ในปัจจุบัน คำาว่า "การคุ้มครองผู้
บริโภคด้านสาธารณสุข"ครอบคลุมถึง
1. การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
บริการสาธารณสุข
2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ
สาธารณสุข
การใช้บริการสาธารณสุข ซึ่งได้แก่
- การส่งเสริมสุขภาพ
- การป้องกันโรค
- การรักษาพยาบาล
- การฟื้นฟูสุขภาพ
หน่วยงานที่ดูแล: กองการประกอบโรคศิลปะ
สังกัดสำานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
กฎหมาย: . . .2541พรบ สถานพยาบาล พ ศ
หน่วยงานขององค์กรวิชาชีพทางการแพทย์ต่างๆ
หน่วยงานขององค์กรวิชาชีพทางการ
แพทย์ต่างๆ
 แพทยสภา ซึ่งมีกฎหมายใช้บังคับคือ
พรบ. วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525
 สภาเภสัชกรรม ซึ่งมีกฎหมายใช้บังคับคือ
พรบ. วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537
 ทันตแพทยสภา ซึ่งมีกฎหมายบังคับใช้คือ
พรบ. วิชาชีพทันตกรรม พ.ศ. 2537
 สภาการพยาบาล ซึ่งมีกฎหมายบังคับใช้คือ
พรบ. วิชาชีพการพยาบาลและการ
ผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์
สุขภาพ
 ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 8 ประเภท ซึ่งได้แก่
 อาหาร ยา เครื่องสำาอาง เครื่องมือแพทย์ ยาเสพติด
ให้โทษ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท วัตถุมีพิษ
หรือวัตถุอันตราย และสารระเหย
 หน่วยงานที่ดูแล: สำานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และกรม
วิทยาศาสตร์การแพทย์์
(รวมถึงศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์)
อาหาร
ยา
เครื่องสำาอาง
เครื่องมือแพทย์
ยาเสพติดให้โทษ
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
Dormicum(Midazolam)
GHBหรือ Gamma-hydroxybutyrate
Alprazolam
Ketamine
Diazepam
วัตถุอันตราย
ผลิตภัณฑ์ดับกลิ่น
กาว
ผลิตภัณฑ์ลบคำาผิดหรือสารละลายใช้เจือจาง
ผลิตภัณฑ์ทำาความสะอาด
ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรค
ผลิตภัณฑ์ทำาความสะอาด
พื้น ห้องนำ้า
สารระเหย
ทินเนอร์
(Thinners)
แลคเกอร์
(Lacquers)
ลูกโป่ง
วิทยาศาสตร์
Blowing Balloon
กฎหมายที่ควรรู้ เกี่ยวกับ 8
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
พระราชบัญญัติเครื่องสำาอาง พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2531
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
พ.ศ.2518
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
พระราชกำาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.
2533
หน้าที่ของผู้บริโภค
 ระมัดระวังในการซื้อสินค้าหรือรับบริการ เช่น ตรวจ
สอบฉลากแสดงราคาและปริมาณ ไม่หลงเชื่อในคำา
โฆษณาคุณภาพสินค้า
 การเข้าทำาสัญญาผูกมัดการตามกฎหมาย โดยการ
ลงมือชื่อ ต้องตรวจสอบความชัดเจนของภาษาที่ใช้
ตามสัญญาให้เข้าใจรัดกุม หรือควรปรึกษาผู้รู้ทาง
กฎหมายหากไม่เข้าใจ
 ข้อตกลงต่างๆ ที่ต้องการให้มีผลบังคับใช้ ควรทำาเป็น
หนังสือและลงลายมือชื่อผู้ประกอบธุรกิจด้วย
 ผู้บริโภคมีหน้าที่เก็บหลักฐานไว้ เพื่อประโยชน์ในการ
เรียกร้องค่าเสียหาย
 เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค ผู้บริโภคควร
ดำาเนินการเรียกร้องต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือต่อ
คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
สรุป ซักถาม ?

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
guestabb00
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
Sambushi Kritsada
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
Watcharin Chongkonsatit
 

What's hot (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 

Viewers also liked

การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัน พัน
 
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
ปุ๊โก๊ะ โก๊ะ
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมาย
Gawewat Dechaapinun
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
SPipe Pantaweesak
 
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
Gawewat Dechaapinun
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
 
เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
เนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมายเนื้อหาบท4กฎหมาย
เนื้อหาบท4กฎหมาย
 
Gain Profile
Gain ProfileGain Profile
Gain Profile
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Normativa urbana Ibarra
Normativa urbana IbarraNormativa urbana Ibarra
Normativa urbana Ibarra
 
Smallholders participation in contract farming and comparison with global exp...
Smallholders participation in contract farming and comparison with global exp...Smallholders participation in contract farming and comparison with global exp...
Smallholders participation in contract farming and comparison with global exp...
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
ANALYSING THE SUCCESS OF VERTICAL INTEGRATION THROUGH SMALL COFFEE GROWERS CO...
ANALYSING THE SUCCESS OF VERTICAL INTEGRATION THROUGH SMALL COFFEE GROWERS CO...ANALYSING THE SUCCESS OF VERTICAL INTEGRATION THROUGH SMALL COFFEE GROWERS CO...
ANALYSING THE SUCCESS OF VERTICAL INTEGRATION THROUGH SMALL COFFEE GROWERS CO...
 
Six Sigma v. PQMI (process improvement methodologies)
Six Sigma v. PQMI (process improvement methodologies)Six Sigma v. PQMI (process improvement methodologies)
Six Sigma v. PQMI (process improvement methodologies)
 
INDIA : TOWARDS UNIVERSAL HEALTH COVERAGE
INDIA : TOWARDS UNIVERSAL HEALTH COVERAGEINDIA : TOWARDS UNIVERSAL HEALTH COVERAGE
INDIA : TOWARDS UNIVERSAL HEALTH COVERAGE
 
O CLUB DA CALCETA
O CLUB DA CALCETAO CLUB DA CALCETA
O CLUB DA CALCETA
 
Sustainability Science in a Global Landscape
Sustainability Science in a Global LandscapeSustainability Science in a Global Landscape
Sustainability Science in a Global Landscape
 
Things Connected: Open Call
Things Connected: Open CallThings Connected: Open Call
Things Connected: Open Call
 
Community-led IoT projects
Community-led IoT projectsCommunity-led IoT projects
Community-led IoT projects
 
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
 
Question 3 Ayaan
Question 3 AyaanQuestion 3 Ayaan
Question 3 Ayaan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

บท2