SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
กฎหมายธุรกิจ
และภาษีอากร
BUS 226
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
 นางสาววนิ ชยา ต้นประสงค์
 จรัญยา งามสิ ทธิ รุ่งเรื อง
 นายนพรัตน์ มืดอินทร์
 นางสาวพิมพ์ลดา นะราชา

 นายจตุภทร ซื่ อตรง
ั

55032076
55027806
55005795
55029635
55018105

SEC.03
SEC.03
SEC.03
SEC.03
SEC.03

เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่
เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่
เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่
เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่
เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่
กฎระเบียบและวิธีการจัดตั้งธุรกิจ
โดยจะครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้
1.
การจดทะเบียนกิจการ
2.
การส่ งงบการเงิน
3.
การเสี ยภาษีเงินได้
4.
การจดทะเบียนโรงงาน
5.
การขอสิ ทธิประโยชน์ดานการลงทุน
้
6.
การขอใช้เครื่ องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์
7.
การขออนุญาตจากองค์กรอาหารและยา (อย.)
1. การจดทะเบียนกิจการ
1.1) กิจการเจ้ าของคนเดียว
 มีเจ้าของเพียงคนเดียว
 มุ่งหวังกาไรของตนเอง
 รับผิดชอบหนี้ สินไม่จากัดจานวน
 รายได้จากการประกอบกิจการจะนามาเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 ต้องจดทะเบียนเจ้าของกิจการต้องยืนขอจดทะเบียนพาณิ ชย์ภายใน 30 วัน นับ
่
ต้องแต่วนที่ได้เริ่ มประกอบกิจการ
ั
การจดทะเบียนพาณิ ชย์
1. กิจการที่ตองจดทะเบียนพาณิ ชย์
้
 การทาโรงสี ขาวและการทาโรงเลื่อยที่ใช้เครื่ องจักร
้
 การขายสิ นค้า ในหนึ่ งวันขายได้เป็ นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป มูลค่าของสิ นค้าที่มีไว้
เพื่อขายตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป
 นายหน้าหรื อตัวแทนค้าต่าง สิ นค้ามีค่ารวมในหนึ่ งวันเป็ นเงินตั้งแต่ 20 บาทเป็ นต้น
ไป
 การหัตกรรมหรื ออุตสาหกรรม ในหนึ่ งวันขายสิ นค้าได้เป็ นเงินตั้งแต่ 20ขึ้ นไป หรื อ
ในหนึ่งวันมีสินค้าที่ผลิตได้เป็ นเงินตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป
 การขนส่ งทางทะเล การขนส่ งโดยเรื อกลไฟ หรื อเรื อยนต์ประจาทาง การขนส่ งโดย
รถไฟ รถยนต์ประจาทาง การขายทอดตลาด การรับซื้ อขายที่ดิน การให้กยมเงิน การ
ู้ ื
รับแลกเปลี่ยน หรื อซื้ อขายเงินตราต่างประเทศ การซื้ อขายตัวเงิน การธนาคาร การ
๋
โพยก๊วน การทาโรงรับจานา และการทาโรงแรม
2. ระยะเลาที่ที่ตองจดทะเบียนพาณิ ชย์และค่าธรรมเนียม
้
 เจ้าของกิจการมีหน้าที่ตองยืนขอจดทะเบียนพาณิ ชย์ภายใน 30 วันนับตั้งแต่
้ ่
วันที่ได้เริ่ มประกอบกิจการ
 ฝ่ าฝื นต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท และปรับต่อเนื่ องอีกวันละไม่เกิน
100 บาท จนกว่าจะจดทะเบียน
 จดทะเบียนพาณิ ชย์ตองเสี ยค่าธรรมเนี ยม 50 บาท
้
3. กิจการที่ได้รับยกเว้นไม่ตองจดทะเบียนพาณิ ชย์
้
 การค้าเร่ การค้าแผงลอย
 พาณิ ชยกิจเพื่อบารุ งศาสนา หรื อเพื่อการกุศล
 พาณิ ชยกิจของนิ ติบุคคลซึ่ งได้มีพระราชบัญญัติหรื อพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น
 พาณิ ชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม

 พาณิ ชยกิจของมูลนิ ธิ สมาคม สหกรณ์
 พาณิ ชยกิจของห้างหุ นส่ วนสามัญนิ ติบุคคล
้

ห้างหุนส่ วนจากัดและบริ ษทจากัดที่
้
ั

จดทะเบียนในประเทศไทย
 กลุ่มเกษตรกรซึ่ งได้จดทะเบียนตามประกาศคณะปฏิวติฉบับที่ 141
ั
คณะบุคคล

 บุคคล 2 คนขึ้นไปตกลงทากิจกรรมร่ วมกันโดยมีวตถุประสงค์ที่จะแบ่งปั นผลกาไร
ั

ตามที่ตกลงกันหรื อตามสัดส่ วนของการลงทุน
 มีลกษณะเหมือนกับห้างหุ นส่ วนที่ไม่ได้จดทะเบียน
ั
้
1.2) กิจการห้ างหุ้นส่ วน(Partnership)
 เป็ นธุรกิจที่มีเจ้าของอย่างน้อยตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ซึ่ งตกลงทาธุรกิจร่ วมกัน ห้าง
หุนส่ วนแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
้
1) ห้างหุนส่ วนสามัญ
้
จดทะเบียน (นิติบุคล)
- ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
- ไม่จากัดความรับผิดชอบ
- ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
ไม่จดทะเบียน
- ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
- ไม่จากัดความรับผิดชอบ
็
- จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์หรื อไม่กได้
2) ห้างหุนส่วนจากัด จากัดความรับผิดชอบ
้
- ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
- ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
ไม่จากัดความรับผิดชอบ
- ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
- ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
การจดทะเบียน
ห้างหุนส่วนสามัญนิติบุคคล/ห้างหุนส่วนจากัด
้
้
-ยืนแบบขอจองชื่อห้างหุนส่วน
่
้
-กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อของห้างหุนส่วนพร้อมกับประทับตราสาคัญของห้างในแบบพิมพ์คาจด
้
ทะเบียนจัดตั้งและให้หุนส่วนผูจดการเป็ นผูยนขอจดทะเบียน
้
้ั
้ ื่
-เสี ยค่าธรรมเนียมโดยนับจานวนผูเ้ ป็ นหุนส่วนกล่าวคือผูเ้ ป็ นหุนส่วนไม่เกินสามคนเสี ย
้
้
ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท กรณี เกินสามคนจะเสี ยค่าธรรมเนียมหุนส่วนที่เกินเพิ่มอีกคนละ 200
้
บาท
-เมื่อจดทะเบียนจัดตั้งแล้วจะได้รับหนังสือรับรองและใบสาคัญเป็ นหลักฐาน
1.3) บริษัทจากัด
บริ ษทจากัด
ั
- ประกอบธุรกิจที่มีบุคคล 3 คนขึ้นไป
- รับผิดชอบหนี้สินตามมูลค่าที่ลงทุนไป
- รายได้จากการดาเนินงานจะถูกนามาคานวณเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล
บริ ษทหมาชนจากัด
ั
- ประกอบธุรกิจที่มีบุคล 15 คนขึ้นไป
- รับผิดชอบหนี้สินตามมูลค่าที่ลงทุนไป
- สามารถนาหุนออกเสนอขายต่อประชาชนโดยทัวไป
้
่
- ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติบริ ษทมหาชนจากัด
ั
การจดทะเบียน
 1. บริ ษทจากัด
ั
- ยืนแบบขอจองชื่อบริ ษทจัดทาหนังสื อบริ คณห์สนธิโดยกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ บริ ษท และ
่
ั
ั
รายมือชื่อผูเ้ ริ่ มก่อตั้งบริ ษททุกคน (หนังสื อบริ คณห์สนธิตองผนึกอากร แสตมป์ 200 บาท) และให้ผู้
ั
้
จัดตั้งคนหนึ่งคนใดก็ได้ เป็ นผูยนขอจดทะเบียน หรื อจะ มอบอานาจให้ผอื่นก็ได้ การจดทะเบียน
้ ื่
ู้
หนังสื อบริ คณห์สนธิตองเสี ยค่าธรรมเนียม ตามจานวนทุกคน กล่าวคือ ทุนจดทะเบียน 100,000 ละ 50
้
บาท แต่ไม่ต่ากว่า 500 บาท และสูงสุดไม่เกิน 25,000 บาท
- เมื่อจดหนังสื อบริ คณห์สนธิแล้วผูจดตั้งจะต้องนัดประชุมผูจองซื้อหุนและเรี ยกเก็บเงิน ค่าหุน (ไม่ต่า
้ั
้
้
้
กว่าร้อยละ 25)และกรรมการผูมีอานาจลงลายมือชื่อกระทาแทนบริ ษท จะต้องจัดทาคาขอและยืน
้
ั
่
ภายใน 3 เดือน นับจากวันประชุม และบริ ษทต้องเสี ย ค่าธรรมเนียมตามจานวนทุน คือ 100,000 ละ
ั
500 แต่ไม่ต่ากว่า 5,000 และสูงไม่เกิน 250,000 บาท
- การยืนจดทะเบียนหนังสื อบริ คณห์สนธิ ผูมีอานาจแทนบริ ษทจะต้องลงรายมือชื่ อต่อ หน้านาย
่
้
ั
ทะเบียนถ้าไม่สะดวกให้ลงลายมือชื่อต่อหน้าสามัญหรื อวิสามัญสมาชิกแห่งเนติบญญัติฑิตยสภา
ั
เพื่อให้รับรองลายมือได้

2. บริ ษทมหาชนจากัด การเป็ นบริ ษทมหาชนจากัดมีวธีดาเนินการได้ 3 วิธีคือ
ั
ั
ิ
บริ ษทมหาชนจัดขึ้นใหม่
ั
- ยืนแบบขอจองชื่อบริ ษท
่
ั
- จัดทาหนังสื อบริ คณห์สนธิโดยกรอกรายละเอียดชื่อบริ ษททั้งภาษาไทย
ั
และภาษาต่างประเทศ (ภาษาไทยต้องมีคาว่า ”บริ ษท” นาหน้าชื่อและ
ั
ต่อท้ายด้วยคาว่า ”จากัด(มหาชน)” ส่ วนภาษาต่างประเทศต้องมีคาว่า
”public company limited” ต่อท้ายชื่อ) การจดทะเบียนหนังสื อบริ คณห์
สนธิตองเสี ยค่าธรรมเนียมตามจานวนทุน กล่าวคือทุนจดทะเบียนทุก
้
1,000,000 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 1,000 บาท เศษของ 1,000,000 บาทให้
คิดเป็ น 1,000,000 บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วจะเสี ยค่าธรรมเนียมไม่เกิน
25,000 บาท
- เมื่อจดทะเบียนหนังสื อบริ คณห์สนธิแล้วผูเ้ ริ่ มจัดตั้งสามารถขายหุนให้ใครก็ได้
้
เมื่อมีผจองซื้อหุนครบแล้วผูเ้ ริ่ มจัดตั้งบริ ษทจะเรี ยกประชุมจัดตั้งบริ ษทภายใน 2
ู้
้
ั
ั
เดือน ตั้งแต่จองหุนครบหลังจากนั้นจะเรี ยกชาระเงินค่าหุนเต็มจานวนในคราว
้
้
เดียวและจัดธรรมคาขอจดทะเบียนบริ ษทมหาชนเพื่อยืนขอจดทะเบียนภายใน 3
ั
่
เดือน การจดทะเบียนจะต้องเสี ยค่าธรรมเนียมตามจานวนทุน กล่าวคือทุกจานวน
เงินทุน 1,000,000 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 1,000 บาท เศษของ 1,000,000 บาทให้
คิดเป็ น 1,000,000 บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน 250,000 บาท
- ผูมีอานาจแทนบริ ษทจะต้องลงรายมือชื่อในคาขอจดทะเบียนต่อหน้านาย
้
ั
ทะเบียนบริ ษทมหาชนจากัด กรณี ผมีอานาจไม่ประสงค์ไม่ไปลงชื่อต่อหน้านาย
ั
ู้
ทะเบียนก็สามารถลงชื่อต่อหน้าทนายความหรื อผูสอบบัญชีซ่ ึ งได้ข้ ึนทะเบียนไว้
้
กับนายทะเบียนมหาชนจากัดเพื่อให้รับรองรายมือชื่อของตน
การแปลสภาพบริ ษทจากัดเป็ นบริ ษทมหาชนจากัด
ั
ั
 จัดประชุมผูถือหุ นเพื่อให้มีมติพิเศษให้บริ ษทจากัดแปรสภาพเป็ นบริ ษทมหาชนจากัด
้ ้
ั
ั
 แก้ไขหนังสื อบริ คณห์สนธิ และข้อบังคับให้สอดคล้องกับข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติบริ ษท
ั
มหาชนจากัด(พ.ศ.2535)
 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและผูสอบบัญชี ข้ ึนใหม่
้
 หลังจากนั้นให้กรรมการยืนจดทะเบียนแปรสภาพภายใน 14 วัน นับตั้งแต่วนที่มีมติให้แปรสภาพ
่
ั
 การจดทะเบียนแปรสภาพจะต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยม 10,000 บาท
การควบบริ ษทจากัดกับบริ ษทมหาชนจากัด
ั
ั
 ทาได้โดยภายหลังควบบริ ษทที่จะตั้งขึ้นใหม่ มีสภาพเป็ นบริ ษทมหาชนจากัด
ั
ั
 บริ ษทจากัดต้องทามติพิเศษตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์และมหาชนจากัด
ั
 ต้องมีการประชุมผูถือหุ นเพื่อลงมติ 3 ใน 4 ของจานวนเสี ยง
้ ้
 ต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยม 5,000บาท
2. การส่ งงบการเงิน
กฎหมายบัญชี (ประกาศของคณะปฏิวติ ฉบับที่ 285 ) ประมวลกฎหมายแพ่ง
ั
และพาณิ ชย์และพระราชบัญญัติบริ ษทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 ได้กาหนดให้นิติ
ั
บุคคลที่เป็ นบริ ษทจากัด บริ ษทมหาชนจากัดห้างหุนส่ วนจากัดห้างหุนส่ วนสามัญ
ั
ั
้
้
นิติบุคคล และนิติบุคคลต่างประเทศ จะต้องนาส่ งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจ
การค้าภายในระยะเวลาที่กฎหมายได้กาหนดไว้ คือ
1. บริ ษทจากัดและบริ ษทมหาชนจากัด ต้องนาส่ งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจ
ั
ั
การค้าภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วนที่ งบการเงินได้รับอนุมติจากที่ประชุมใหญ่
ั
ั
สามัญประจาปี โดยการประชุมต้องจัดให้มีข้ ึนภายใน 4 เดือน นับตั้งแต่ วันปิ ด
บัญชี
2. ห้างหุนส่ วนจากัด ห้างหุนส่ วนสามัญนิติบุคคลและนิติบุคคลต่างประเทศ ต้อง
้
้
นาส่ งงบการเงินต่อกรมทะเบียนการค้าภายใน 5 เดือน นับตั้งแต่วนปิ ดบัญชี
ั
3. การเสี ยภาษีเงินได้
4. การจัดตั้งโรงงาน (การจดทะเบียนโรงงาน)
พระราชบัญญัติ พ.ศ.2535 กาหนดให้แบ่งโรงงานออกเป็ น 3 จาพวก คือ
- โรงงานจาพวกที่ 1 ประกอบกิจการได้ทนทีตามความประสงค์ของผูประกอบ
ั
้
กิจการแต่ตองปฏิบติตามกฎเกณฑ์ที่กาหนดในกระทรวงและประกาศ
้
ั
กระทรวง
- โรงงานจาพวกที่ 2 ไม่ตองขออนุญาตแต่ตองปฏิบติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด
้
้
ั
เช่นกันและเมื่อจะเริ่ มประกอบกิจการโรงงานให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ทราบก่อน (ขอรับและยืนแบบไปแจ้งการประกอบกิจการ โรงงานจาพวกที่ 2
่
ได้ที่ สานักควบคุมและตรวจโรงงาน)
- โรงงานจาพวกที่ 3 เป็ นโรงงานที่ตองได้รับใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน
้
(ซื้ อคาขอฯได้ที่กองคลัง ชั้น 1 และยืนคาขอฯ ที่สานักงานเลขานุการกรม ชั้น
่
1)
่
รัฐมนตรี วาการกระทรวงอุสาหกรรม มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดว่า
โรงงานประเภท ชนิด และขนาดใด เป็ นโรงงานจาพวกที่ 1,2,3 ซึ่งตามกระทรวง
ได้กาหนดประเภทและชนิดของโรงงาน ได้ 104 รายการ เช่น ลาดับที่ 40(2) การ
ทาผลิตภัณฑ์ซ่ ึงมิใช่ภาชนะบรรจุเยือกระดาษ หรื อกระดาษแข็ง
่
โรงงานจาพวกที่ 1 เครื่ องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และคนงานไม่เกิน 20 คน
โรงงานจาพวกที่ 2 เครื่ องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า และคางานไม่เกิน 50 คน
โรงงานจาพวกที่ 3 เครื่ องจักรเกิน 50 แรงม้า หรื อคนงาน 50 คน
4.1 ทาเลที่ต้งตามกฎหมาย
ั
ข้อ 1 ห้ามตั้งโรงงานจาพวกที่ 1 และ 2 ในบริ เวณต่อไปนี้
- ที่พกอาศัย
ั
- ภายในระยะ 50 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะสถาน ได้แก่
สถานศึกษา วัด โรงพยาบาล โบราณสถาน และ สถานที่ทางานของ
หน่วยงานรัฐรวมถึงแหล่ง อนุรักษณ์อื่น ๆ ด้วย
ข้อ 2 ห้ามตั้งโรงงานจาพวกที่ 3 บริ เวณดังต่อไปนี้
- ที่พกอาศัย
ั
ภายในระยะ 100 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะสถาน ได้แก่ สถานศึกษา วัด
โรงพยาบาล โบราณสถาน และ สถานที่ทางานของหน่วยงานรัฐรวมถึงแหล่ง
อนุรักษณ์อื่น ๆ ด้วย
ข้อ 3 สถานที่ทางานของหน่วยงานของรัฐตามข้อ 1(2) หรื อ ข้อ 2(2) ไม่รวมถึง
สถานที่ทาการงานโดยเฉพาะเพื่อการควบคุมกากับดูแลอานวยความสะดวกหรื อ
ให้บริ การแก่การประกอบกิจการของโรงงานแห่งนั้น ๆ ในกรณี มีเหตุผลอันสมควร
รัฐมนตรี จากาหนด โดยประกาศในกิจจานุเบกษา ให้ร่นหรื อขยายระยะทางที่กาหนด
ในข้อ 1(2) หรื อข้อ 2(2) หรื อ ไม่ให้ใช้บงคับ ข้อ 1(2) แก่โรงงานประเภทใดตาม
ั
เงื่อนไขที่กาหนดก็ได้
่
ข้อ 4 โรงงานจาพวกที่ 3 นอกจากห้ามตั้งในบริ เวณตามข้อ 2 แล้วต้องตั้งอยูใน
ทาเลและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบริ เวณเพียงพอ ที่จะประกอบกิจการ
อุสาหกรรม ขนาดและประเภทหรื อชนิดของโรงงานโดยไม่อาจก่อให้เกิดอันตราย
เหตุราคาญ หรื อ ความเสี ยหายต่อบุคคลหรื อทรัพย์สินของผูอื่น
้
4.2 การควบคุม
่
รัฐมนตรี วาการกระทรวงอุสาหกรรม มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด
- หลักเกณฑ์เกี่ยวกับที่ต้ งสภาพแวดล้อม ลักษณะอาคาร หรื อลักษณะภายในของ
ั
โรงงาน
- ลักษณะ ประเภท และชนิ ดของเครื่ องจักร เครื่ องอุปกรณ์ หรื อสิ่ งที่ตองนามาใช้ในการ
้
ประกอบกิจการ
- มีคนงานที่มีความรู ้เฉพาะตามประเภท ชนิ ด หรื อขนาดของโรงงานเพื่อปฏิบติหน้าที่
ั
ประจาโรงงาน
- หลักเกณฑ์ที่ตองปฏิบติกรรมวิธีการผลิต และการจัดให้มีอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือใด
้
ั
เพื่อป้ องกัน ระงับ บรรเทาอันตราย ความเสี ยหายความเดือดร้อนที่อาจเกิดกับบุคคล
หรื อทรัพย์สิน
- มาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสี ย มลพิษ หรื อสิ่ งใดที่มีผลกระทบต่อ
สิ่ งแวดล้อม
- เพื่อคุมครองความปลอดภัยในการดาเนิ นงาน ป้ องกัน ระงับ บรรเทาอันตราย ความ
้
เสี ยหายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการ
4.3 การประกอบกิจการ
- ผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 1 จะปฏิบติได้ตองอยูในหลักเกณฑ์ที่กาหนด
้
ั
้ ่
- ผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 2 จะต้องแจ้งพนักงานก่อนและทาตาม
้
หลักเกณฑ์เพื่อควบคุม การเลิก โอน ให้เช่า ต้องแจ้งพนักงานก่อนภายใน 30
วัน
- ผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 3 ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงตั้งโรงงานได้และ
้
ปฏิบติตามหลักเกณฑ์
ั
4.4 การขออนุญาต
ผูประสงค์จะขออนุญาตประกอบกิจการต้องยืนตามคาขอแบบ ร.ง. ท้าย
้
่
กฎกระทรวง
- ใน กทม. ทาคาขอ 2 ฉบับ ยืนต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม
่
- จังหวัดอื่น ทา 3 ฉบับ ยืนสานักงานอุสาหกรรมจังหวัด
่
- เมื่อยืนแล้วเจ้าหน้าที่ตองตรวจสอบทาเล ที่ต้ ง อาคาร โรงงาน
่
้
ั
เครื่ องจักร และความถูกต้องของเอกสารและจัดทารายงานตรวจสอบภายใน
30 วัน ดาเนินการพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 50 วัน และแจ้งผลให้ผยน
ู้ ื่
ภายใน 10 วัน
การขออนุญาตขยายโรงงานทาเหมือนการขอประกอบกิจการ
ใบอนุญาตใช้ได้อีก 5 ปี ของวันประกอบกิจการ และต้องยืนขอต่อก่อนวัน
่
หมดใบอนุญาตจึงดาเนินการต่อได้ คาสังไม่ออกใบขออนุญาตผูขอสามารถยืน
้
่
่
่
อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี วาการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน
4.5 ค่าธรรมเนียม
- คาขอฉบับละ 10 บาท
- ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (กาหนดตามแรงม้าของเครื่ องจักร) ฉบับ
ละ 500 ถึง 60,000 บาท
- ค่าธรรมเนียมรายปี สาหรับผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 2 และ 3 (จาแนก
้
ตามแรงม้าของเครื่ องจักร) ปี ละ 150 ถึง 180,000 บาท
4.6 สถานที่ต้ง
ั
- ห้ามตั้งโรงงานใกล้ที่พก
ั
- ห้ามตั้งโรงงานพวกที่ 1 2 (ระยะ 50 เมตร) และ 3 (100 เมตร) จากเขตติดต่อ
สาธารณะสถาน
่
- โรงงานจาพวกที่ 3 ต้องอยูในสถานที่เหมาะสมไม่เป็ นเหตุให้เกิดความ
เสี ยหาย
4.7 อาคารโรงงาน
- มันคงเหมาะสมและมีบริ เวณเพียงพอ โดยมีคารับรองของผูประกอบวิชาชี พวิศวกรรมควบคุม
้
่
- มีการระบายอากาศที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
- มีประตูหรื อทางออกให้พอกับจานวนคนในโรงงานที่จะหลบหนี ภยออกได้ทนท่วงทีเมื่อมีเหตุ
ั
ั
ฉุกเฉินตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
- บันไดต้องมันคงแข็งแรง มีลกษณะ ขนาด และจานวนเหมาะสมกับอาคารตามมาตรฐานที่
ั
่
กาหนด
- ระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงเพดานโดยเฉลี่ยต้องไม่ต่าว่า 3 เมตร
- พื้นต้องมันคงแข็งแรง ไม่มีน้ าขังหรื อลื่น
่
- บริ เวณหรื อห้องทางานต้องมีพ้ืนที่ปฏิบติงานไม่นอยกว่า 3 ตารางเมตร ต่อคนงาน 1 คน
ั
้
- วัสดุในการก่อสร้างต้องเหมาะสมกับการประกอบการ
- มีสายล่อฟ้ าตามความจาเป็ น
- มีที่เก็บรักษาวัสดุหรื อสิ่ งของที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
- ลิฟท์ตองมีมาตรฐานตามที่กาหนด
้
- มีหองส้วมและสถานที่ทาความสะอาดร่ างกายตามจานวนที่กาหนด
้
4.8 เครื่ องจักร
สิ่ งที่นามาใช้ในโรงงานต้องแข็งแรง ปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดความ
สันสะเทือน เสี ยง คลื่นวิทยุรบกวนผูอยูอาศัยใกล้เคียงมีเครื่ องป้ องกันอันตราย
้ ่
่
จากเครื่ องจักร
บ่อหรื อถังเปิ ดต้องมีขอบกั้นแข็งแรงสูงไม่นอยกว่า 100 ซ.ม. หม้อไอ
้
น้ า หม้อต้ม เครื่ องอัดก๊าซ ภาชนะบรรจุความกดดันต่างจากบรรยากาศ ภาชนะ
บรรจุวตถุอนตรายต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนด
ั ั
่
เครื่ องยก เครื่ องลาเลียงขนส่ งต้องจัดให้อยูในลักษณะที่ปลอดภัย ระบบ
ไฟฟ้ าต้องเป็ นไปตามหลักที่กาหนด
4.9 การควบคุมการปล่อยของเสี ย
การกาจัดขยะ สิ่ งปฏิกลและวัสดุที่ไม่ได้ใช้การระบายน้ าทิ้ง ระบบ
ู
บาบัดน้ าเสี ย การระบายอากาศเสี ย และการควบคุมเสี ยง ต้องควบคุมตามหลัก
ที่กาหนด
5. การขอรับการส่ งเสริ มและสิ ทธิ ประโยชน์ในการลงทุน
5.1 มาตรการทางภาษี มีสาระสาคัญดังนี้
- เรื่ องนโยบายส่ งเสริ มการลงทุนในประกาศฯ ข้อ 1.5 กล่าวว่าให้
ความสาคัญกับการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมระดับกลางและขนาดย่อมโดยไม่
เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเงินลงทุนขั้นต่าของโครงการที่จะได้รับการส่ งเสริ มเพียง
1,000,000 บาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน
- โครงการที่มีเงินลงทุนไม่เกิน 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุน
หมุนเวียน) จะใช้หลักเกณฑ์พิจารณาอนุมติโครงการ
ั
- หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์ดานภาษีอากร ตามประกาศฯ ข้อ 4
้
คณะกรรมการได้แบ่งออกเป็ น 3 เขต ตามปัจจัยทางเศรษฐกิจ โดยใช้รายได้
และสิ่ งอานวยความสะดวกเป็ นเกณฑ์
5.2 การขอรับการส่ งเสริ มจาก BOI
สานักงานส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) อาจอนุมติให้การส่ งเสริ มการลงทุนหาก
ั
พิจารณาเห็นว่า
- ผลิตภัณฑ์ ผลิตผล หรื อบริ การนั้น ไม่มีในราชอาณาจักรหรื อมีแต่ยงไม่
ั
เพียงพอ
- ผลิตภัณฑ์ ผลิตผล หรื อบริ การนั้น มีความสาคัญและเป็ นประโยชน์ในด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และความมันคงของประเทศ
่
- โครงการหรื อการลงทุนนั้นมีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
หรื อป้ องกันการเสี ยหายของสภาพแวดล้อม
5.3 การเกณฑ์การอนุมติโครงการ
ั
- โครงการที่มีเงินลงทุนไม่เกิน 200 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินลงทุน
หมุนเวียน) จะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุมติโครงการตามคณะกรรมการ
ั
กาหนด
- โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 200 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินลงทุน
หมุนเวียน) จะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุมติโครงการตามคณะกรรมการ
ั
กาหนด
- โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินลงทุน
หมุนเวียน) จะต้องแนบรายงานการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
(Feasibility Study) ตามที่คณะกรรมการกาหนด
5.4 เขตส่ งเสริ มการลงทุน
ให้พ้ืนที่เขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังและท้องที่จงหวัดทุกจังหวัดเป็ นเขต
ั
ส่ งเสริ มการลงทุนยกเว้น กรุ งเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี
นนทบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม ราชบุรี กาญจนบุรี สุ พรรณบุรี อ่างทอง
อยุธยา นครนายก ฉะเชิงเทรา และชลบุรี

5.5 หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์ดานภาษีอากร
้
เขต 1 กรุ งเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นนทบุรี และนครปฐม
- ให้ได้รับการลดหย่อนขาเข้าสาหรับเครื่ องจักรกึ่งหนึ่งเฉพาะรายการที่ไม่มีอยู่
ในประกาศกระทรวงการคลังฉบับที่ ศก.13/2533 ลงวันที่ 18 กันยายน 2533
เว้นแต่เครื่ องจักรที่มีอากรขาเข้าต่ากว่าร้อยละ 10 จะไม่ได้ลด
- ให้ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 3 ปี สาหรับโครงการส่งออกไม่ต่ากว่าร้อยละ 80
ของยอดขาย และตั้งแหล่งส่งออกในเขตที่กาหนด
- ได้รับการยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบหรื อวัสดุจาเป็ นสาหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออกเป็ น
ระยะเวลา 1 ปี
เขต 2 จังหวัดสมุทรสงคราม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง อยุธยา นครนายก ฉะเชิงเทรา และ
ชลบุรี
เขต 3 โครงการที่ประกอบการหรื อจัดตั้งโรงงานในเขตส่งเสริ มการลงทุน
- ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักร
- ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้เป็ นระยะเวลา ทั้งหมด 8 ปี
- ได้รับยกเว้นอากรสาหรับวัตถุดิบหรื อวัสดุจาเป็ นสาหรับส่วนที่ผลิตเพื่อการส่งออกเป็ นระยะเวลา
5 ปี
- ได้รับลดหย่อนการนาเข้าร้อยละ 75 ของอัตราปกติสาหรับวัตถุดิบหรื อวัสดุที่จาเป็ นในการผลิต
เพื่อจาหน่ายในราชอาณาจักรเป็ นเวลา 5 ปี โดยกรรมการจะอนุมติให้คราวละ 1 ปี
ั
- ให้ได้รับ สิ ทธิและประโยชน์ดงนี้
ั
- ลดภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็ นเวลา 5 ปี
- อนุญาตให้หกค่า ประปา ไฟฟ้ า เป็ น 2 เท่า เป็ นเวลา 10 ปี นับจากมีรายได้
ั
- อนุญาตให้หกค่าติดตั้งหรื อสร้างสิ่ งอานวยความสะดวกจากกาไรสุทธิร้อยละ 25 ของเงินลงทุน
ั
6. การขอใช้เครื่ องหมายมาตราฐาน
 ผูผลิตจะใช้ประโยชน์จากเครื่ องหมายเพื่อเป็ นการยืนยันว่าสิ นค้าของตัวเองมี
้

คุณภาพ มีมาตราฐาน
ในการค้าระหว่างประเทศ เครื่ องหมายมาตราฐาน
จะช่วยเพิมความเชื่อถือในสิ นค้า เป็ นการรักษาระดับคุณภาพให้สม่าเสมอ และ
่
ยังประหยัดค่าใช้จ่ายและลดต้นทุน
 สาหรับผูซ้ื อ เครื่ องหมายมาตราฐาน จะสร้างความมังใจในคุณภาพของสิ นค้า
้
่
 ผูที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมายจะออกใบอนุญาตให้ก็ต่อเมื่อเจ้าหน้าที่ได้
้
ตรวจสอบจนเป็ นที่แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์น้ นๆเป็ นไปตามมาตราฐานที่กาหนด
ั
6.1 หลักเกณฑ์การออกใบอนุญาต
สานักงานมาตราฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) จะเป็ นผูออกใบอนุญาตให้แสดงเครื่ องหมาย
้
มาตราฐานเพื่อแสดงว่าผลิตภัณฑ์น้ นมีคุณภาพเป็ นไปตามมาตราฐาน ซึ่งหลักเกณฑ์วิธีการการ
ั
ตรวจสอบแต่ออกใบอนุญาตแสดงเครื่ องหมาย จะเป็ นไปตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติมาตราฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511
6.2 วิธีการประเมินตามหลักเกณฑ์การับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์
สมอ. ได้กาหนดกลุ่มโรงงานที่ขอรับ การรับรองณคุณภาพผลิตภัณฑ์ทางเทคนิคของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่1. โรงงานที่ได้รับ ISO 9000 และการรับรองห้องปฏิบติการ จากการอนุญาติของ สมอ.
ั
1 ยกเว้นการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ
2.ใช้ผลการทดสอบของโรงงาน
กลุ่มที่2. โรงงานที่ได้รับ ISO 9000 และการรับรองห้องปฏิบติการ จากการอนุญาติของ สมอ.
ั
กรณี ได้รับ ISO 9000
1. ยกเว้นการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ
้
2. ทดสอบที่โรงงานโดยมีพนักงานเป็ นพยาน
กรณี ได้รับการรับรองห้องปฏิบติการ
ั
1. ผลการทดสอบของโรงงาน
2. ประเมินระบบควบคุมคุณภาพ
้
กลุ่มที่3. โรงงานไม่ได้รับ ISO 9000 และการรับรองห้องปฏิบติการ จากการอนุญาติ
ั
ของ สมอ.
กรณี โรงงานมีเครื่ องมือทดสอบครบตามเงื่อนไข
1. ประเมินระบบควบคุมคุณภาพ
้
2. ทดสอบที่โรงงานโดยมีพนักงานเป็ นพยาน
กรณี อื่น
1. ประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ
2. เก็บตัวอย่างส่ งหน่วยตรวจสอบที่ได้รับการแต่งตั้ง
6.3 การตรวจโรงงาน
 การประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ สมอ. โดยทัวไปจะใช้เวลา 1-2 วัน ขึ้นอยู่
่
กับความสลับซับซ้อนของกรรมวิธีการผลิตและประเมินละความพร้อมของ
ตัวอย่างที่จดเก็บ
ั
่
1.ตรวจสอบข้อมูลทัวไปของโรงงาน ตรวจสอบและประเมินการทาผลิตภัณฑ์วา
่
เป็ นไปตามมาตราฐาน สมอ. ที่จะขอใช้เครื่ องหมายมาตราฐานหรื อไม่ โรงงานมี
แผนควบคุมการผลิตเพียงพอที่จะทาผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตามมาตราฐานหรื อไม่
2.สอบถามรายละเอียดกรรมวิธีการผลิตเช้าชมกรรมวิธีการผลิตในแต่ละขั้นตอน
3. การตรวจโรงงานจะสอบถามรายละเอียดการควบคุมคุณภาพในแต่ละขั้นตอน
พร้อมทั้งตรวจสอบการปฏิบติของผูยนคาขอจากบันทึกผลการตรวจสอบของ
ั
้ ื่
โรงงานพิจารณาว่าผูยนคาขอสามารถรักษาคุณภาพการผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตาม
้ ื่
มาตรฐานได้อย่างสม่าเสมอหรื อไม่
7.4 การเก็บตัวอย่าง
เจ้าหน้าที่จะเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ หรื อวสดุผลิตภัณฑ์ตามวิธีการ จานวนที่กาหนอดไว้ในมาตรฐานหรื อ
ตามที่เห็นสมควร เพื่อนาไปตรวจสอบว่าเป็ นไปตามที่ได้กาหนดไว้ในมาตรฐานหรื อไม่
7.5การประเมินระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์
การประเมินจะเริ่ มตั้งแต่วิธีการจัดหาวัตถุดิบ การควบคุมคุณภาพระหว่างการผลิตและผลิตภัณฑ์สาเร็จรู ป
ตลอดจนการควบคุมเคท่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบ
1.กรณี เป็ นไปตามเกณฑ์หาหนดมาตรฐานที่กาหนด สมอ. จะสรุ ปรายงานเสนอคณะกรรมการมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกใบอนุญาตและแจ้งเงื่อนไขวิธีการควบคุมคุณภาพให้ผยนคาขอทราบ
ู้ ื่
2. หากผลการประเมินไม่เป็ นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานที่กาหนดจะแจ้งให้ทราบเพื่อแก้ไขปรับปรุ ง
3. สมอ. จะให้ความช่วยเหลือแนะนาในการปรังปรุ งข้อบกพร่ องต่างๆเท่าที่ทาได้และส่งพนักงานเจ้าหน้าที่ไป
ตรวจโรงงาน และหรื อเก็บตัวอย่างอีกครั้ง หลังจากที่ได้รับแจ้งจากผูขอรับใบอนุญาว่าได้ทาการแก้ไขปรังปรุ ง
้
จนสามารถปฏิบติได้ตามหลังเกณฑ์ที่กาหนดแล้ว สมอ.
ั
4. หากปรากฏว่าผ็ขอใบอนุญาต ไม่ได้ทาการแก้ไขปรับปรุ งข้อบกพร่ องต่างๆ ได้ หลังจากจากที่ สมอ.แจ้งให้
ทราบ เจ้าหน้าที่ สมอ.จะมีคาสังไม่อนุญาตให้คืนค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบคืนให้แก่ผขอรับ
ู้
่
ใบอนุญาต
7.6 การออกใบอนุญาติ
8. การขออนุญาตตังโรงงานผลิตอาหาร
้
พระราชบัญญัตอาหาร พ.ศ. 2522
ิ
ฉลากอาหาร หมายถึง รูป รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือข้อความใด ๆ ทีแสดงรายละเอียด
่
เกี่ยวกับอาหารทีตดไว้ทภาชนะบรรจุอาหาร หรือหีบห่อของภาชนะทีบรรจุอาหาร
่ ิ ่ี
่
ตามกฏหมายกาหนดประเภทขออาหารทีตองแสดงฉลาก ไว้ 3 ประเภท
่ ้
1. อาหารคบคุมเฉพาะ
อาหารทีรฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เป็ นอาหารทีอยู่ในควบคุมเกี่ยวกับคุณภาพและ
่ั
่
มาตรฐาน ปัจจุบนมี 39 ชนิด ซึงโรงงานทุกโงงานทีผลิต นาเข้า จาหน่ายอาหารจะต้องขอใบอนุ ญาต พร้อมทังขอ
ั
่
่
้
ขึ้นทะเบียนตารับอาหาร หลัจากนันจึงจะสามารถนาเข้าสินค้าประเภทอาหารและยาเพือนาเข้ามาจาหน่าย
้
่
2.อาหารกาหนดคุณภาพพรือมาตรฐาน
นอกจากต้องขอใบอนุญาต ผลิต นาเข้า และขายอาหารของแต่ละโรงงานแล้ว โรงงานทีไม่ได้ผลิต
่
อาหารเองจะต้องอนุญาตใช้ฉลากอาหารด้วย
อาหารกาหนดคุณภาพหรือมาตราฐานแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทคือ
2.1อาหารกาหนดคุณภาพ มาตรฐาน ต้องขออนุญาตใช้ฉลากอาหารมีทงหมด 5 ชนิด
ั้
ได้แก่
- นาทีเ่ หลือจากการผลิตโมโนโซเดียมกลูตาเมท (ชูรส)
้
- ช็อกโกแลต
- ไข่เยียวม้า
่
- ผลิตภัณฑ์ปรุงรสทีได้จากการย่อยโปรตีนของถัวเหลือง
่
่
- ข้าวเสริมวิตามิน
2.2 อาหารกาหนดคุณภาพ มาตรฐานทีเ่ ว้นให้ไม่ตองขออนุญาตช้ฉลากอาหารมี 1 ชนิด
้
ได้แก่
- เกลือแร่
2.3 อาหารทีนาหรือสังเข้ามาในราชอาณาจักร กรณีไม่ใช่อาหารควบคุมเฉพาะ
่
่
3. อาหารที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดให้เป็ นอาหารที่ตองมีฉลาก
้
3.1 อาหารที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดให้เป็ นอาหารที่ตองมีฉลาก ผูผลิต และ
้
้
ผูนาเข้าจะต้องยืนขออนุญาตใช้ ฉลากอาหารมีท้ งหมด 12 ชนิด ได้แก่
้
่
ั
1. แป้ งข้าวกล้อง
2. น้ าเกลือปรุ งรส
3. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
4. ขนมปั ง
5. อาหารที่มีวตถุประสงค์พิเศษ
ั
6. หมากฝรั่งและลูกอม
7. วุนสาเร็ จรู ป และ ขนมเยลลี่
้
8. อาหารฉายรังสี
่
9. อาหารที่มีวตถุกนชื้นรวมอยูในภาชนะบรรจุ
ั ั
10. ผลิตภัณฑ์กระเทียม
11. วัตถุแต่งกลิ่นรส
12. อาหารที่มีส่วนผสมของว่านหางจระเข้
3.2 อาหารที่ตองมีฉลากแต่ไม่ตองยืนขออนุญาตผูผลิตหรื อนาเข้าปฏิบติได้เลย
้
้ ่
้
ั
มี 3 ชนิด
1. ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ได้แก่ ลูกชิ้น ไส้กรอก แหนม หมูยอ กุนเชียง และ
ผลิตภัณฑ์ลกษณะเดียวกัน ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจ่าย
ั
2. อาหารสาเร็จรู ปที่พร้อมบริ โภค
3. อาหารพร้อมปรุ ง
3.3 อาหารอื่นที่นาหรื อสังเข้ามาในราชอาณาจักรนอกเหนือจาก ข้อ 3.1-3.3
่
จะต้องยืนขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร
่
แสดงได้ชดเจนและสี ตดกับพื้นฉลากดังน
ั
ั
1. ชื่อฉลากของอาหาร กากับชื่ออาหาร
2. ชื่อและที่ต้ งของผ้ผลิต กรณี เป็ นอาหารนาเข้าให้แจ้งประเทศผูผลิตด้วย
ั
้
3. เลขทะเบียนตารับอาหาร
4. ของแข็งแจ้งเป็ นน้ าหนักสุ ทธิ ของเหลวแจ้งป็ นปริ มาตรสุ ทธิ
5. กรณี เป็ นเม็ดหรื อเป็ นแคปซูลให้แจ้งปริ มาณต่อหน่วย
6. วัน เดือน ปี ที่ผลิตอาหาร หรื อวัน เดือน ปี ที่หมดอายุของอาหาร
7. ถ้ามีการแต่งสี ตองมีขอความว่า "เจือสี ธรรมชาติ" หรื อ "เจือสี สังเคราะห์" แล้วแต่กรณี
้
้
8. ถ้ามีการแต่งกลิ่นรสต้องมีขอความว่า "แต่งกลิ่นธรรมชาติ”
้
ั
9. วัตถุเจือปนอาหารโดยเฉพาะวัตถุกนเสี ยต้องมีขอความ "ใช้วตถุกนเสี ย”
้
ั ั
10. แจ้งวิธีปรุ งเพื่อรับประทาน(ถ้ามี)
11. แจ้งคาแนะนาในการเก็บรักษา
12. แจ้งคาเตือน(ถ้ามี)
ข้อความที่ตองแสดงส่ วนหน้าของฉลาก
้
1. ชื่ออาหาร
2. ปริ มาณสุ ทธิ
3. วันเดือนปี ที่ผลิต หรื อเดือนปี ที่ผลิต วันเดือนปี ที่หมดอายุ หรื อควรบริ โภคก่อน
เครื่ องหมายการค้า คือ เครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์ หรื อตรา ซึ่ งอาจเป็ นภาพ
่
คา ชื่อ หรื อตัวอักษรที่ใช้กากับสิ นค้าและบริ การ เพื่อทาให้สามารถแยกแยะได้วาสิ นค้า
นั้นมีความแตกต่างจากสิ นค้าของผูอื่น
้
ั
เครื่ องหมายบริ การ คือ เครื่ องหมายที่ใช้กบธุรกิจบริ การ เครื่ องหมายของ
สถาบันการบิน
เครื่ องหมายรับรอง คือ เครื่ องหมายที่เจ้าของเครื่ องหมายใช้รับรองคุณภาพ
สิ นค้าหรื อบริ การของผูอื่น เช่น เครื่ องหมายเชลล์ชวนชิม แม่ชอยนางรา
้
้
ั
เครื่ องหมายร่ วม คือ เครื่ องหมายที่ใช้กบสิ นค้าหรื อบริ การที่ผลิตจากกลุ่ม
บริ ษทหรื อบริ ษทในเครื อเดียวกัน เช่น ตราช้างของบริ ษท ปูนซี เมนต์ไทย จากัด (มหาชน)
ั
ั
ั
พ.ร.บ. เครื่ องหมายการค้าได้กาหนดลักษณะของเครื่ องหมายการค้า เครื่ องหมาย
บริ การ เครื่ องหมายรับรองและเครื่ องหมายร่ วมที่สามารถขอจดทะเบียน ได้ดงนี้
ั
1. จะต้องมีลกษณะบ่งเฉพาะ ที่ทาให้ทราบและเข้าใจว่าสิ นเค้าที่ใช้เครื่ องหมายนั้น
ั
แตกต่างจากสิ นค้าอื่น
2. จะต้องไม่มกษณะต้องห้ามตามกฏหมาย เช่น เครื่ องหมายราชการ ธงชาติ พระ
ั
บรมฉายาลักษณ์
3. จะต้องไม่เหมือนหรื อคล้ายกับเครื่ องหมายของบุคคลอื่น
กฎหมายจะให้ความคุมครองเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วเป็ นเวลา 10ปี
้
นับจากวันที่จดทะเบียน หากครบกาหนดก็สามารถขอต่ออายุได้ครั้งละ 10 ปี
ขั้นตอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าของประเทศไทย
การตรวจค้น
1. แนะนาให้ผยนคาขอจดทะเบียนตรวจค้นเครื่ องหมายว่าเหมือนหรื อคล้าย
ู้ ื่
เครื่ องหมายการค้าของผูอื่นหรื อไม่
้
2. ผูคนต้องเสี ยค่าธรรมเนียมในการตรวจค้น 100 บาท/ชัวโมง
้้
่
การยืนคาขอจดทะเบียน
่
1. การบริ การทัวไป
่
2. การให้บริ การทางอินเตอร์เน็ต
3. การปกป้ องกันสิ ทธิในเครื่ องหมายการค้า
4. รายละเอียดอื่นๆ
พระราชบัญญัติสิทธิบตร พ.ศ.2522 ดังนี้
ั
1.คาจากัดความโดยทัวไปของสิ ทธิ บตร
ั
่
เป็ นพระราชบัญญัติของทรัพย์สินทางปั ญญาที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐซึ่ งให้
เจ้าของมีสิทธิ ผกขาดผูเ้ ดียวในการหาประโยชน์ในช่วงเวลาที่จากัดในอาณาเขตที่ให้ไว้ และ
ู
ยังรวมถึงการ ขาย โอน ยินยอมให้ผอื่นใช้สิทธิ ได้โดยอนุญาตให้ใช้สิทธิ
ู้
2. ประเภทของสิ ทธิ บตร
ั
พ.ร.บ.ของสิ ทธิ บตรได้แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
ั
2.1 สิ ทธิ บตรการประดิษฐ์
ั
2.2 สิ ทธิ บตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
ั
ระยะเวลาการให้ความคุมครองสิ ทธิ บตร
้
ั
- สิ ทธิ บตรการประดิษฐ์เป็ นเวลา 20 ปี นับแต่วนยืนขอ
ั
ั ่
- สิ ทธิ บตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 10 ปี นับแต่วนยืนขอ
ั
ั ่
การประดิษฐ์ที่มีคุณสมบัติขอรับสิ ทธิบตรได้
ั
(Patentable Invention)
ต้องประกอบด้วย 3 ลักษณะ ดังนี้
1. เป็ นการประดิษฐ์ข้ ึนใหม่
2. เป็ นการประดิษฐ์ที่มีข้นการประดิษฐ์สูงขึ้น
ั
3. เป็ นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม
การประดิษฐ์ข้ ึนใหม่
(Novelty)
พ.ร.บ. สิ ทธิบตรได้ให้ความหมายว่า “การประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ได้แก่การประดิษฐ์ที่
ั
่
ไม่เป็ นงานที่ปรากฎอยูแล้ว”

ขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น
(Inventive Step)
่
พ.ร.บ. สิ ทธิบตรบัญญัติวา “การประดิษฐ์ที่มีข้นสูงขึ้น ได้แก่เป็ นการประดิษฐ์ที่
ั
ั
ไม่เป็ นที่ประจักษ์ได้โดยง่าย”
การประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรม
(Industrial Applicability)
การประดิษฐ์จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์หรื อกรรมวิธีที่สามารถทาให้เกิดขึ้นได้จริ งและ
เป็ นสิ่ งที่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
่
พ.ร.บ. สิ ทธิบตรระบุวา “การประดิษฐ์สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทางอุตสาหกรรม
ั
ได้แก่ การประดิษฐ์ที่สามารถนาไปใช้ได้ในทางอุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรม
เกษตรกรรม และพาณิ ชยกรรม”
การประดิษฐ์ที่ขอรับสิ ทธิ บตรไม่ได้
ั
(Unpatentable Invention)
-

่
จุลชีพ และส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยูตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรื อสารสกัด
จากสัตว์ พืช แต่ในกรณี ที่มีการสังเคราะห์ข้ ึนแล้วได้จุลชีพชนิดใหม่ข้ ึนมานั้น ถือว่าไม่ผดกฎข้อนี้
ิ
่
กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การค้นพบกฎเกณฑ์หรื อหลักการที่มีอยูตาม
ธรรมชาติไม่ใช่การประดิษฐ์
ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ (Software) พ.ร.บ. สิ ทธิบตรไม่คุมครอง
ั
้
ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์ หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพราะโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ไม่ใช่การประดิษฐ์ เนื่องจากไม่ใช่ความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โดยตรง หากแต่มี
ลักษณะเพียงวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ให้ทางานตามคาสังของผูใช้เท่านั้น
้
่
ความคุมครองตามกฎหมายสิ ทธิบตร
้
ั
-

วิธีวนิจฉัยบาบัด หรื อ รักษาโรคมนุษย์หรื อสัตว์โดยแพทย์ เช่นการหาสมมุติฐาน
ิ
ของโรคโดยแพทย์ (มิใช่เครื่ องมือ) จะไม่ได้รับการคุมครองตามกฎหมายนี้
้
การประดิษฐ์ที่ขดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดี อนามัยสวัสดิภาพของ
ั
ประชาชน
บุคคลที่มีสิทธิขอรับสิ ทธิบตร
ั
- ผูประดิษฐ์หรื อผูออกแบบหรื อทายาทของบุคคลดังกล่าว
้
้
- นายจ้างหรื อผูวาจ้างหน่วยราชการองค์การของรัฐหรื อ
้่
รัฐวิสาหกิจ
- ผูรับโอนสิ ทธิ ขอรับสิ ทธิ จากสิ ทธิ บตรของผูอื่น
้
ั
้
บุคคลที่มีสิทธิ ขอรับสิ ทธิ บตรทั้งสามข้อข้างต้นจะต้องเป็ นบุคคลสัญชาติไทย หรื อมี
ั
สัญชาติของประเทศที่ยนยอมให้บุคคลสัญชาติไทยขอรับสิ ทธิ บตรในประเทศนั้นได้
ิ
ั
อายุสิทธิ บตร
ั
- สิ ทธิ บตรสิ่ งประดิษฐ์มีอายุ 20 ปี นับตั้งแต่วนขอสิ ทธิ บตร
ั
ั
ั
- สิ ทธิ บตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ 10 ปี นับตั้งแต่วนขอสิ ทธิ บตร
ั
ั
ั
พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซึ่งได้กาหนดไว้ในกฎกระทรงฉบับที่ 5 (พ.ศ.2516)
1. ผูประสงค์จะทาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมใดที่มีพระราชกฏษฎีกากาหนดให้ ต้องยืนคาขอ
้
่
ใบอนุญาตทาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นต่อสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม พร้อมทั้งส่งมอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์โดยละเอียด ซึ่งต้องมีหลักฐานดังต่อไปนี้
1.1 แผนผังแสดงกรรมวิธีการทาโดยย่อ
1.2 รายการเครื่ องมือที่ใช้ในการผลิต
1.3 แผนภูมิหรื อรายละเอียดต่างๆ
1.4 แสดงวิธีการตรวจสอบคุณภาพ
1.5 รายการเครื่ องมือที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ
1.6 ปริ มาณผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่สามารถทาได้
หมายเหตุ : ในกรณี ที่ผขออนุญาตแสดงเครื่ องมือมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสาหรับ
ู้
่
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นอยูก่อนแล้ว ผูขอรับใบอนุญาตจะไม่ส่งมอบข้อที่ 1.1-1.3-1.5 ก็ได้
้
2. เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่รับคาขอพร้อมทั้งหลักฐานตามข้อที่ 1 แล้ว เจ้าหน้าที่จะสังให้ผขอรับ
่ ู้
ใบอนุญาตส่งมอบหลักฐานเพิ่มเติมอีกก็ได้
3. ใบอนุญาตทาผลิตภัณฑ์ อุตสากรรมมีพระราชฎีกากาหนดให้ตองเป็ นไปตามมาตรฐาน
้

ประมวลกฏหมายกรมสรรพากร
ว่าด้วยการกาหนดมูลค่าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่อม ซึ่งได้รับยกเว้น
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 354) พ.ศ. 2542
โดยกาหนดให้กิจการที่มีมูลค่าของฐานภาษีไม่เกิน 1,200,000 บาทต่อปี และยกเลิก
การกาหนดมูลค่าฐานภาษีของกิจการที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มมาตรา 82/16 แห่งประมวลรัษฎากร
กฎหมายเกี่ยวกับโรงงานอุสาหกรรม
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมกากับดูแลและตรวจสอบ
โรงงานอุตสาหกรรมทัวประเทศ เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติโรงงาน โดยมี
่
สาระสาคัญดังนี้
1. เป็ นผูกาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเกี่ยวกับที่ต้ง และลักษณะของโรงงาน
้
ั
2. กาหนดประเภทหรื อชนิดของเครื่ องจักร เครื่ องอุปกรณ์ หรื อสิ่ งที่ตองนามาใช้
้
ในโรงงาน
3. กาให้ให้มีพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง
4. กาหนดหลักเกณฑ์ที่ตองปฏิบติ เพื่อป้ องกันอันตรายหรื อความเสี ยหาย
้
ั
ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัวไป
่
(Generalized System of Preferences – GSP)
GSP คืออะไร
คือ ระบบการให้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัวไปที่ประเทศที่พฒนาแล้ว
ั
่
ให้แก่สินค้าที่มีแหล่งกาเนิดใน ประเทศที่กาลังพัฒนา โดยลดหย่อนหรื อยกเว้นอากรขาเข้าแก่สินค้า
่
ที่มีอยูในข่ายได้รับสิ ทธิ พิเศษทางการค้าทั้งนี้ประเทศผูให้สิทธิพิเศษฯ จะเป็ นผูให้แต่เพียงฝ่ ายเดียว
้
้
ไม่หวังผลตอบ แทนใดๆทั้งสิ้น
วัตถุประสงค์ ของ GSP
ั
- เพื่อเพิ่มรายได้จากการส่ งออกให้กบประเทศที่กาลังพัฒนา
- เพื่อส่ งเสริ มอุตสาหกรรมของประเทศที่กาลังพัฒนา
- เพื่อเพิ่มอัตราการเจริ ญเติมโตทางเศรษฐกิจประเทศที่กาลังพัฒนา
หลักการของ GSP
- เป็ นการทัวไป
่
- ไม่เป็ นการตอบแทน
- ไม่เลือกปฏิบติ
ั
สาระสาคัญของระบบ GSP
ในปัจจุบนประเทศให้ GSP รวม 28 ประเทศ แบ่งออกเป็ น 13 ระบบ สาระสาคัญของ
ั
ระบบGSPโดยทัวไปมี ดังนี้
่
- ออสเตรเลีย กลุ่มสหภาพยุโรป (15 ประเทศ) ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ แคนาดาสหรัฐอเมริ กา
- สมาคมการค้าเสรี แห่งยุโรป (EFTA) นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ สังคมนิยมยุโรปตะวันออก
รัสเซีย ฮังการี บัลกาเรี ย สาธารณะรัฐเชคและสโลวาเกีย โปแลนด์

เงือนไขการส่ งมอบสิ นค้ า
่
สิ นค้าที่มีแหล่งกาเนิดในประเทศจะต้องส่งมอบโดยตรงจากประเทศผูรับสิ ทธิ GSP
้
ไปยังประเทศผูให้สิทธิ GSP เป็ นลักษณะสาคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสิ นค้าของระบบ GSP
้
เกือบทุกระบบเลยนะคร๊ า
ประโยชน์ ของของ GSP
-

-

ส่ งเสริ มการส่ งออก และเปิ ดโอกาสให้สินค้าใหม่ๆ สามารถเข้าสู่ ตลาดเหล่านี้
ได้โดยอาศัยสิ ทธิพิเศษเป็ นเครื่ องมือในการเจาะการตลาด
ส่ งเสริ มด้านการผลิต โดยเฉพาะสิ นค้าอุตสาหกรรม ซึ่ งจะนาไปสู่ การเพิ่มการ
ลงทุนการจ้างงาน
ส่ งเสริ มให้มีการใช้วตถุดิบภายในประเทศ
ั

กฎหมายในความรับผิดชอบของกรมการค้าภายใน
การควบคุมราคาของสิ นค้า เพื่อป้ องกันการกาหนดราคาที่สูงหรื อต่า
เกินไป โดยมีรายการทั้งหมด 15 รายการ ตามหน้า 57
่
่
ซึ่งสิ นค้าที่ได้รับการควบคุมนั้น จะต้องอยูภายใต้พระราชบัญญัติวาด้วย
ราคาสิ นค้าและบริ การ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ให้ จัดตั้งสานักงานขึนเรียกว่ า "สานักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง
้
และขนาดย่ อม" และให้ เป็ นนิติบุคคล ภารกิจตามพระราชบัญญัติ ส่ งเสริม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม มีวตถุประสงค์ ดงต่ อไปนี้
ั
ั
1. กาหนดประเภทและขนาดวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม
เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม
2. กาหนดวิสาหกิจที่สมควร ได้รับการส่ งเสริ มรวมทั้งเสนอแนะ
นโยบายและแผนการส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม
3. ประสานและจัดทาแผนปฏิบติการส่ งเสริ มวิสาหกิจกับส่ วนราชการ
ั
หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรื อองค์การเอกชนที่เกี่ยวข้อง
4. ศึกษาและจัดทารายงานสถานการณ์วสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ิ
ย่อมของ ประเทศ
5. เสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการปรับปรุ งพระราชบัญญัติน้ ี
6. บริ หารกองทุนตามนโยบายและมติของคณะกรรมการและ
คณะกรรมการ บริ หาร
7. ดาเนินงานธุรการของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ หาร และ
คณะ อนุกรรมการ ซึ่ งคณะกรรมการหรื อคณะกรรมการบริ หารแต่งตั้ง
8. ปฏิบติงานอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของ
ั
สานักงาน หรื อตามที่คณะกรรมการหรื อคณะกรรมการบริ หารมอบหมาย
9. ให้ความอุดหนุนหรื อช่วยเหลือ
10. ให้กยมเงิน เข้าร่ วมกิจการกับบุคคลอื่น หรื อ ถือหุน
ู้ ื
้
11. ร่ วมมือกับหน่วยงานรัฐ ราชการ ทั้งในและต่างประเทศ
พระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541
้
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน บัญญัติถึงสิ ทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
โดยกาหนดมาตรฐานขั้นต่าในการใช้แรงงาน การจ่ายค่าตอบแทนการทางานเพื่อให้ลูกจ้างทางาน
ด้วยความปลอดภัย
มีสูขภาพอนามัยอันดีได้รับต่าตอบแทน และสวัสดิการตามสมควร

หมวด 1 บททัวไป
่
มีขอกาหนดสาคัญ กาหนดห้ามมิให้นายจ้างเรี ยกเงินประกันความเสี ยหายยกเว้นงานที่
้
เกี่ยวกับเงินและทรัพย์สินที่อาจเสี ยหายได้
หนี้เกี่ยวกับการจ้างงานเป็ นหนี้ที่มีบุริมสิ ทธิ์เหนือ
ทรัพย์สินทั้งหมดของนายจ้างในระดับเดียวกับบุริมสิ ทธิ์ในค่าภาษีอากร
การจ้างงาน จะสิ้นสุดลงเมื่อครบกาหนดระยะเวลา โดยไม่ตองบอกล่วงหน้า
้
ถ้ามีการกาหนด ต้องบอกล่วงหน้า 1 เดือน
หมวด 2 ว่ าด้ วยการใช้ แรงงานทัวไป
่
ให้ นายจ้างกาหนดเวลางานปกติไม่เกินวันละ 8 ชัวโมง และไม่เกิน 48 ชัวโมงต่อ สัปดาห์
่
่
ให้มีการประกาศวันหยุดตามประเพณี ปี หนึ่งไม่นอยกว่า 13 วัน รวมวันแรงงานแห่ งชาติ
้
ลูกจ้างทางานครบ หนึ่งปี มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจาปี ไม่นอยกว่า หกวันทางาน
้

หมวด 3 ว่ าด้ วยการใช้ แรงงานหญิง
- กาหนดประเภทของการทางานที่หามมิให้ลูกจ้างหญิงทางาน
้
- กาหนดการทางานของหญิงมีครรภ์
- สิ ทธิ ลาคลอด

หมวด 4 ว่ าด้ วยการใช้ งานแรงงานเด็ก
- ห้ามมิให้จางเด็กอายุต่ากว่าสิ บห้าปี เป็ นลูกจ้าง
้
- เด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ต้องแจ้งพนักงานตรวจแรงงาน
หมวด 5 ว่ าด้ วยค่ าจ้ าง ค่ าล่ วงเวลา ค่ าทางานในวันหยุด และค่ าล่ วงเวลาในวันหยุด
ข้อกาหนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินค่าจ้างในวันหยุด
การจ่ายเงินค่าจ้างในวันลาป่ วย รับราชการทหาร คลอดบุตร
การจ่ายค่าล่วงเวลา

หมวด 6 ว่ าด้ วยคณะกรรมการค่ าจ้ าง
ให้ มีคณะกรรมการค่าจ้ างที่ประกอบด้ วยตัวแทนฝ่ ายรัฐบาล ลูกจ้ างและนายจ้ าง
กาหนดอัตราค่าจ้ างขั้นตา เสนอความคิดเห็นเกียวกับการพัฒนาระบบค่ าจ้ าง
่
่

หมวด 7 ว่ าด้ วยสวัสดีการ
กาหนดให้ มีคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน เพือเสนอความเห็นต่ อ ครม.
่
เกียวกับนโยบายสวัสดิการแรงงาน
่
ให้ สถานประกอบการมีแรงงานมากกว่า 50 คน จัดให้ มีคณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบการ
หมวด 8 ว่ าด้ วยความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน
ให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย เพื่อเสนอความเห็นรัฐมนตรี เกี่ยวกับ
นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้อง

หมวด 9 ว่ าด้ วยการควบคุม
กาหนดให้สถานประกอบการที่มีแรงงานมากกว่า 10 คน จัดให้มีขอบังคับการทางาน
้
ที่มีรายละเอียดวันเวลาทางาน วันหยุด การทางานล่วงเวลา การจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา วันลา การ
จัดทา ทะเบียนลูกจ้าง เอกสารการจ่ายค่าจ้าง และให้เก็บรักษาทะเบียนไว้อย่างน้อย 2 ปี

หมวด 10 ว่ าด้ วยการพักงาน
การสอบสวนความผิดลูกจ้างจะพักงานได้ไม่เกิน 7 วัน และต้องจ่ายค่าจ้างร้อยละ 50
ถ้าพบว่าไม่มีความผิดต้องคานวณค่าจ้างจ่ายให้พร้อมดอกเบี้ย
หมวด 11 ว่าด้วยค่าชดเชย
กาหนดอัตราการจ่ายค่าชดเชยแก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง
ทางานครบ 120 วัน จ่ายอัตราสุดท้าย 30 วัน
ทางานครบ 1-3 ปี จ่ายเท่ากับ 90 วัน
ทางานครบ 3-6 ปี จ่ายเท่ากับ 180 วัน
ทางานครบ 6-10 ปี จ่ายเท่ากับ 240 วัน
ทางานครบ 10 ปี ขึ้นไปจ่ายเท่ากับ 300 วัน
นายจ้างจะไม่จ่ายค่าชดเชยได้เฉพาะกรณี ลูกจ้างทุจริ ต ทาให้เกิดความเสี ยหาย
ฝ่ าฝื นข้อบังคับ ละทิ้งหน้าที่เกิน 3 วัน
การย้ายที่ทางาน ถ้าลูกจ้างไม่ประสงค์ยาย รับค่าเชยร้อยละ 50 ของค่าชดเชยการเลิก
้
จ้าง
การเลิกจ้างเพราะเปลี่ยนกระบวนการผลิดต้องแจ้งล่วงหน้า 60 วัน
หมวด 12 ว่าด้วยการยืนข้อเรี ยกร้องและการพิจารณาคาร้อง
่
ลูกจ้างสามารถยืนคาร้องแก่พนักงานตรวจแรงงานเกี่ยวกับการไม่ปฎิบติของนายจ้าง
่
ั
หมวด 13 ว่ าด้ วยกองทุนสงเคราะห์ ลูกจ้ าง
ให้มีกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างในกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
้

หมวด 14 ว่ าด้ วยพนักงานตรวจแรงงาน
กาหนดอานาจหน้าที่ของพนักงานตรวจแรงงาน

หมวด 15 ว่ าด้ วยการส่ งหนังสื อ
กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการส่งหนังสื อ คาสังของอธิบดีหรื อพนักงานตรวจแรงงาน
่

หมวด 16 ว่ าด้ วยบทกาหนดโทษ
กาหนดโทษของการไม่ปฏิบติตามกฏหมาย ให้มีท้งโทษปรับและโทษจาคุกสูงสุดถึง 1 ปี
ั
ั
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226
SlideBus226

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1Athita Vivatpinyo
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบสื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบSuradet Sriangkoon
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองPimporn Ploy
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นDr.Choen Krainara
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 

What's hot (20)

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1การภาษีอากร 1
การภาษีอากร 1
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบสื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง
 
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่นโลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โลกาภิวัฒน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 

Viewers also liked

การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย Saharat Yimpakdee
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยคิง เกอร์
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61Manow Butnow
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดchakaew4524
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตchakaew4524
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งchakaew4524
 

Viewers also liked (11)

การประกันภัย
การประกันภัย การประกันภัย
การประกันภัย
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิต
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่งบทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
บทที่ 8 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
 

Similar to SlideBus226

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
Preparation company limited registration
Preparation company limited registrationPreparation company limited registration
Preparation company limited registrationAvirot Mitamura
 
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศHIPO_Training
 
คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558
คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558
คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558Thailand Board of Investment North America
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1Somchart Phaeumnart
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 

Similar to SlideBus226 (20)

งานนำเสนอจัดตั้งบริษัท
งานนำเสนอจัดตั้งบริษัทงานนำเสนอจัดตั้งบริษัท
งานนำเสนอจัดตั้งบริษัท
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Preparation company limited registration
Preparation company limited registrationPreparation company limited registration
Preparation company limited registration
 
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
12 กลยุทธ์การจัดซื้อสินค้าจากต่างประเทศ
 
O14 2
O14 2O14 2
O14 2
 
คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558
คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558
คู่มือประกอบธุรกิจในประเทศไทย 2558
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
B11112008
B11112008B11112008
B11112008
 
Law3015 2 RU
Law3015 2 RULaw3015 2 RU
Law3015 2 RU
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
Tax year 2012
Tax year 2012Tax year 2012
Tax year 2012
 
160214 drug shop association
160214 drug shop association160214 drug shop association
160214 drug shop association
 
profile-3p2
profile-3p2profile-3p2
profile-3p2
 
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
คู่มือสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแม่ฮ่องสอน1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
1
11
1
 

SlideBus226

  • 2. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม  นางสาววนิ ชยา ต้นประสงค์  จรัญยา งามสิ ทธิ รุ่งเรื อง  นายนพรัตน์ มืดอินทร์  นางสาวพิมพ์ลดา นะราชา  นายจตุภทร ซื่ อตรง ั 55032076 55027806 55005795 55029635 55018105 SEC.03 SEC.03 SEC.03 SEC.03 SEC.03 เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่ เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่ เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่ เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่ เจ้าของธุรกิจสมัยใหม่
  • 3. กฎระเบียบและวิธีการจัดตั้งธุรกิจ โดยจะครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้ 1. การจดทะเบียนกิจการ 2. การส่ งงบการเงิน 3. การเสี ยภาษีเงินได้ 4. การจดทะเบียนโรงงาน 5. การขอสิ ทธิประโยชน์ดานการลงทุน ้ 6. การขอใช้เครื่ องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ 7. การขออนุญาตจากองค์กรอาหารและยา (อย.)
  • 4. 1. การจดทะเบียนกิจการ 1.1) กิจการเจ้ าของคนเดียว  มีเจ้าของเพียงคนเดียว  มุ่งหวังกาไรของตนเอง  รับผิดชอบหนี้ สินไม่จากัดจานวน  รายได้จากการประกอบกิจการจะนามาเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  ต้องจดทะเบียนเจ้าของกิจการต้องยืนขอจดทะเบียนพาณิ ชย์ภายใน 30 วัน นับ ่ ต้องแต่วนที่ได้เริ่ มประกอบกิจการ ั
  • 5. การจดทะเบียนพาณิ ชย์ 1. กิจการที่ตองจดทะเบียนพาณิ ชย์ ้  การทาโรงสี ขาวและการทาโรงเลื่อยที่ใช้เครื่ องจักร ้  การขายสิ นค้า ในหนึ่ งวันขายได้เป็ นเงินตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป มูลค่าของสิ นค้าที่มีไว้ เพื่อขายตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป  นายหน้าหรื อตัวแทนค้าต่าง สิ นค้ามีค่ารวมในหนึ่ งวันเป็ นเงินตั้งแต่ 20 บาทเป็ นต้น ไป  การหัตกรรมหรื ออุตสาหกรรม ในหนึ่ งวันขายสิ นค้าได้เป็ นเงินตั้งแต่ 20ขึ้ นไป หรื อ ในหนึ่งวันมีสินค้าที่ผลิตได้เป็ นเงินตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป  การขนส่ งทางทะเล การขนส่ งโดยเรื อกลไฟ หรื อเรื อยนต์ประจาทาง การขนส่ งโดย รถไฟ รถยนต์ประจาทาง การขายทอดตลาด การรับซื้ อขายที่ดิน การให้กยมเงิน การ ู้ ื รับแลกเปลี่ยน หรื อซื้ อขายเงินตราต่างประเทศ การซื้ อขายตัวเงิน การธนาคาร การ ๋ โพยก๊วน การทาโรงรับจานา และการทาโรงแรม
  • 6. 2. ระยะเลาที่ที่ตองจดทะเบียนพาณิ ชย์และค่าธรรมเนียม ้  เจ้าของกิจการมีหน้าที่ตองยืนขอจดทะเบียนพาณิ ชย์ภายใน 30 วันนับตั้งแต่ ้ ่ วันที่ได้เริ่ มประกอบกิจการ  ฝ่ าฝื นต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท และปรับต่อเนื่ องอีกวันละไม่เกิน 100 บาท จนกว่าจะจดทะเบียน  จดทะเบียนพาณิ ชย์ตองเสี ยค่าธรรมเนี ยม 50 บาท ้
  • 7. 3. กิจการที่ได้รับยกเว้นไม่ตองจดทะเบียนพาณิ ชย์ ้  การค้าเร่ การค้าแผงลอย  พาณิ ชยกิจเพื่อบารุ งศาสนา หรื อเพื่อการกุศล  พาณิ ชยกิจของนิ ติบุคคลซึ่ งได้มีพระราชบัญญัติหรื อพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น  พาณิ ชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม  พาณิ ชยกิจของมูลนิ ธิ สมาคม สหกรณ์  พาณิ ชยกิจของห้างหุ นส่ วนสามัญนิ ติบุคคล ้ ห้างหุนส่ วนจากัดและบริ ษทจากัดที่ ้ ั จดทะเบียนในประเทศไทย  กลุ่มเกษตรกรซึ่ งได้จดทะเบียนตามประกาศคณะปฏิวติฉบับที่ 141 ั
  • 8. คณะบุคคล  บุคคล 2 คนขึ้นไปตกลงทากิจกรรมร่ วมกันโดยมีวตถุประสงค์ที่จะแบ่งปั นผลกาไร ั ตามที่ตกลงกันหรื อตามสัดส่ วนของการลงทุน  มีลกษณะเหมือนกับห้างหุ นส่ วนที่ไม่ได้จดทะเบียน ั ้ 1.2) กิจการห้ างหุ้นส่ วน(Partnership)  เป็ นธุรกิจที่มีเจ้าของอย่างน้อยตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ซึ่ งตกลงทาธุรกิจร่ วมกัน ห้าง หุนส่ วนแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ้ 1) ห้างหุนส่ วนสามัญ ้ จดทะเบียน (นิติบุคล) - ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป - ไม่จากัดความรับผิดชอบ - ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ไม่จดทะเบียน - ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป - ไม่จากัดความรับผิดชอบ ็ - จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์หรื อไม่กได้
  • 9. 2) ห้างหุนส่วนจากัด จากัดความรับผิดชอบ ้ - ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป - ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ไม่จากัดความรับผิดชอบ - ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป - ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ การจดทะเบียน ห้างหุนส่วนสามัญนิติบุคคล/ห้างหุนส่วนจากัด ้ ้ -ยืนแบบขอจองชื่อห้างหุนส่วน ่ ้ -กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อของห้างหุนส่วนพร้อมกับประทับตราสาคัญของห้างในแบบพิมพ์คาจด ้ ทะเบียนจัดตั้งและให้หุนส่วนผูจดการเป็ นผูยนขอจดทะเบียน ้ ้ั ้ ื่ -เสี ยค่าธรรมเนียมโดยนับจานวนผูเ้ ป็ นหุนส่วนกล่าวคือผูเ้ ป็ นหุนส่วนไม่เกินสามคนเสี ย ้ ้ ค่าธรรมเนียม 1,000 บาท กรณี เกินสามคนจะเสี ยค่าธรรมเนียมหุนส่วนที่เกินเพิ่มอีกคนละ 200 ้ บาท -เมื่อจดทะเบียนจัดตั้งแล้วจะได้รับหนังสือรับรองและใบสาคัญเป็ นหลักฐาน
  • 10. 1.3) บริษัทจากัด บริ ษทจากัด ั - ประกอบธุรกิจที่มีบุคคล 3 คนขึ้นไป - รับผิดชอบหนี้สินตามมูลค่าที่ลงทุนไป - รายได้จากการดาเนินงานจะถูกนามาคานวณเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล บริ ษทหมาชนจากัด ั - ประกอบธุรกิจที่มีบุคล 15 คนขึ้นไป - รับผิดชอบหนี้สินตามมูลค่าที่ลงทุนไป - สามารถนาหุนออกเสนอขายต่อประชาชนโดยทัวไป ้ ่ - ต้องจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามพระราชบัญญัติบริ ษทมหาชนจากัด ั
  • 11. การจดทะเบียน  1. บริ ษทจากัด ั - ยืนแบบขอจองชื่อบริ ษทจัดทาหนังสื อบริ คณห์สนธิโดยกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ บริ ษท และ ่ ั ั รายมือชื่อผูเ้ ริ่ มก่อตั้งบริ ษททุกคน (หนังสื อบริ คณห์สนธิตองผนึกอากร แสตมป์ 200 บาท) และให้ผู้ ั ้ จัดตั้งคนหนึ่งคนใดก็ได้ เป็ นผูยนขอจดทะเบียน หรื อจะ มอบอานาจให้ผอื่นก็ได้ การจดทะเบียน ้ ื่ ู้ หนังสื อบริ คณห์สนธิตองเสี ยค่าธรรมเนียม ตามจานวนทุกคน กล่าวคือ ทุนจดทะเบียน 100,000 ละ 50 ้ บาท แต่ไม่ต่ากว่า 500 บาท และสูงสุดไม่เกิน 25,000 บาท - เมื่อจดหนังสื อบริ คณห์สนธิแล้วผูจดตั้งจะต้องนัดประชุมผูจองซื้อหุนและเรี ยกเก็บเงิน ค่าหุน (ไม่ต่า ้ั ้ ้ ้ กว่าร้อยละ 25)และกรรมการผูมีอานาจลงลายมือชื่อกระทาแทนบริ ษท จะต้องจัดทาคาขอและยืน ้ ั ่ ภายใน 3 เดือน นับจากวันประชุม และบริ ษทต้องเสี ย ค่าธรรมเนียมตามจานวนทุน คือ 100,000 ละ ั 500 แต่ไม่ต่ากว่า 5,000 และสูงไม่เกิน 250,000 บาท - การยืนจดทะเบียนหนังสื อบริ คณห์สนธิ ผูมีอานาจแทนบริ ษทจะต้องลงรายมือชื่ อต่อ หน้านาย ่ ้ ั ทะเบียนถ้าไม่สะดวกให้ลงลายมือชื่อต่อหน้าสามัญหรื อวิสามัญสมาชิกแห่งเนติบญญัติฑิตยสภา ั เพื่อให้รับรองลายมือได้ 
  • 12. 2. บริ ษทมหาชนจากัด การเป็ นบริ ษทมหาชนจากัดมีวธีดาเนินการได้ 3 วิธีคือ ั ั ิ บริ ษทมหาชนจัดขึ้นใหม่ ั - ยืนแบบขอจองชื่อบริ ษท ่ ั - จัดทาหนังสื อบริ คณห์สนธิโดยกรอกรายละเอียดชื่อบริ ษททั้งภาษาไทย ั และภาษาต่างประเทศ (ภาษาไทยต้องมีคาว่า ”บริ ษท” นาหน้าชื่อและ ั ต่อท้ายด้วยคาว่า ”จากัด(มหาชน)” ส่ วนภาษาต่างประเทศต้องมีคาว่า ”public company limited” ต่อท้ายชื่อ) การจดทะเบียนหนังสื อบริ คณห์ สนธิตองเสี ยค่าธรรมเนียมตามจานวนทุน กล่าวคือทุนจดทะเบียนทุก ้ 1,000,000 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 1,000 บาท เศษของ 1,000,000 บาทให้ คิดเป็ น 1,000,000 บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วจะเสี ยค่าธรรมเนียมไม่เกิน 25,000 บาท
  • 13. - เมื่อจดทะเบียนหนังสื อบริ คณห์สนธิแล้วผูเ้ ริ่ มจัดตั้งสามารถขายหุนให้ใครก็ได้ ้ เมื่อมีผจองซื้อหุนครบแล้วผูเ้ ริ่ มจัดตั้งบริ ษทจะเรี ยกประชุมจัดตั้งบริ ษทภายใน 2 ู้ ้ ั ั เดือน ตั้งแต่จองหุนครบหลังจากนั้นจะเรี ยกชาระเงินค่าหุนเต็มจานวนในคราว ้ ้ เดียวและจัดธรรมคาขอจดทะเบียนบริ ษทมหาชนเพื่อยืนขอจดทะเบียนภายใน 3 ั ่ เดือน การจดทะเบียนจะต้องเสี ยค่าธรรมเนียมตามจานวนทุน กล่าวคือทุกจานวน เงินทุน 1,000,000 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 1,000 บาท เศษของ 1,000,000 บาทให้ คิดเป็ น 1,000,000 บาท แต่เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน 250,000 บาท - ผูมีอานาจแทนบริ ษทจะต้องลงรายมือชื่อในคาขอจดทะเบียนต่อหน้านาย ้ ั ทะเบียนบริ ษทมหาชนจากัด กรณี ผมีอานาจไม่ประสงค์ไม่ไปลงชื่อต่อหน้านาย ั ู้ ทะเบียนก็สามารถลงชื่อต่อหน้าทนายความหรื อผูสอบบัญชีซ่ ึ งได้ข้ ึนทะเบียนไว้ ้ กับนายทะเบียนมหาชนจากัดเพื่อให้รับรองรายมือชื่อของตน
  • 14. การแปลสภาพบริ ษทจากัดเป็ นบริ ษทมหาชนจากัด ั ั  จัดประชุมผูถือหุ นเพื่อให้มีมติพิเศษให้บริ ษทจากัดแปรสภาพเป็ นบริ ษทมหาชนจากัด ้ ้ ั ั  แก้ไขหนังสื อบริ คณห์สนธิ และข้อบังคับให้สอดคล้องกับข้อกาหนดตามพระราชบัญญัติบริ ษท ั มหาชนจากัด(พ.ศ.2535)  มีการแต่งตั้งคณะกรรมการและผูสอบบัญชี ข้ ึนใหม่ ้  หลังจากนั้นให้กรรมการยืนจดทะเบียนแปรสภาพภายใน 14 วัน นับตั้งแต่วนที่มีมติให้แปรสภาพ ่ ั  การจดทะเบียนแปรสภาพจะต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยม 10,000 บาท การควบบริ ษทจากัดกับบริ ษทมหาชนจากัด ั ั  ทาได้โดยภายหลังควบบริ ษทที่จะตั้งขึ้นใหม่ มีสภาพเป็ นบริ ษทมหาชนจากัด ั ั  บริ ษทจากัดต้องทามติพิเศษตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์และมหาชนจากัด ั  ต้องมีการประชุมผูถือหุ นเพื่อลงมติ 3 ใน 4 ของจานวนเสี ยง ้ ้  ต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยม 5,000บาท
  • 15. 2. การส่ งงบการเงิน กฎหมายบัญชี (ประกาศของคณะปฏิวติ ฉบับที่ 285 ) ประมวลกฎหมายแพ่ง ั และพาณิ ชย์และพระราชบัญญัติบริ ษทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 ได้กาหนดให้นิติ ั บุคคลที่เป็ นบริ ษทจากัด บริ ษทมหาชนจากัดห้างหุนส่ วนจากัดห้างหุนส่ วนสามัญ ั ั ้ ้ นิติบุคคล และนิติบุคคลต่างประเทศ จะต้องนาส่ งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจ การค้าภายในระยะเวลาที่กฎหมายได้กาหนดไว้ คือ 1. บริ ษทจากัดและบริ ษทมหาชนจากัด ต้องนาส่ งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจ ั ั การค้าภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วนที่ งบการเงินได้รับอนุมติจากที่ประชุมใหญ่ ั ั สามัญประจาปี โดยการประชุมต้องจัดให้มีข้ ึนภายใน 4 เดือน นับตั้งแต่ วันปิ ด บัญชี 2. ห้างหุนส่ วนจากัด ห้างหุนส่ วนสามัญนิติบุคคลและนิติบุคคลต่างประเทศ ต้อง ้ ้ นาส่ งงบการเงินต่อกรมทะเบียนการค้าภายใน 5 เดือน นับตั้งแต่วนปิ ดบัญชี ั
  • 16. 3. การเสี ยภาษีเงินได้ 4. การจัดตั้งโรงงาน (การจดทะเบียนโรงงาน) พระราชบัญญัติ พ.ศ.2535 กาหนดให้แบ่งโรงงานออกเป็ น 3 จาพวก คือ - โรงงานจาพวกที่ 1 ประกอบกิจการได้ทนทีตามความประสงค์ของผูประกอบ ั ้ กิจการแต่ตองปฏิบติตามกฎเกณฑ์ที่กาหนดในกระทรวงและประกาศ ้ ั กระทรวง - โรงงานจาพวกที่ 2 ไม่ตองขออนุญาตแต่ตองปฏิบติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ้ ้ ั เช่นกันและเมื่อจะเริ่ มประกอบกิจการโรงงานให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ทราบก่อน (ขอรับและยืนแบบไปแจ้งการประกอบกิจการ โรงงานจาพวกที่ 2 ่ ได้ที่ สานักควบคุมและตรวจโรงงาน) - โรงงานจาพวกที่ 3 เป็ นโรงงานที่ตองได้รับใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ้ (ซื้ อคาขอฯได้ที่กองคลัง ชั้น 1 และยืนคาขอฯ ที่สานักงานเลขานุการกรม ชั้น ่ 1)
  • 17. ่ รัฐมนตรี วาการกระทรวงอุสาหกรรม มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดว่า โรงงานประเภท ชนิด และขนาดใด เป็ นโรงงานจาพวกที่ 1,2,3 ซึ่งตามกระทรวง ได้กาหนดประเภทและชนิดของโรงงาน ได้ 104 รายการ เช่น ลาดับที่ 40(2) การ ทาผลิตภัณฑ์ซ่ ึงมิใช่ภาชนะบรรจุเยือกระดาษ หรื อกระดาษแข็ง ่ โรงงานจาพวกที่ 1 เครื่ องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานจาพวกที่ 2 เครื่ องจักรไม่เกิน 50 แรงม้า และคางานไม่เกิน 50 คน โรงงานจาพวกที่ 3 เครื่ องจักรเกิน 50 แรงม้า หรื อคนงาน 50 คน 4.1 ทาเลที่ต้งตามกฎหมาย ั ข้อ 1 ห้ามตั้งโรงงานจาพวกที่ 1 และ 2 ในบริ เวณต่อไปนี้ - ที่พกอาศัย ั - ภายในระยะ 50 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะสถาน ได้แก่ สถานศึกษา วัด โรงพยาบาล โบราณสถาน และ สถานที่ทางานของ หน่วยงานรัฐรวมถึงแหล่ง อนุรักษณ์อื่น ๆ ด้วย
  • 18. ข้อ 2 ห้ามตั้งโรงงานจาพวกที่ 3 บริ เวณดังต่อไปนี้ - ที่พกอาศัย ั ภายในระยะ 100 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะสถาน ได้แก่ สถานศึกษา วัด โรงพยาบาล โบราณสถาน และ สถานที่ทางานของหน่วยงานรัฐรวมถึงแหล่ง อนุรักษณ์อื่น ๆ ด้วย ข้อ 3 สถานที่ทางานของหน่วยงานของรัฐตามข้อ 1(2) หรื อ ข้อ 2(2) ไม่รวมถึง สถานที่ทาการงานโดยเฉพาะเพื่อการควบคุมกากับดูแลอานวยความสะดวกหรื อ ให้บริ การแก่การประกอบกิจการของโรงงานแห่งนั้น ๆ ในกรณี มีเหตุผลอันสมควร รัฐมนตรี จากาหนด โดยประกาศในกิจจานุเบกษา ให้ร่นหรื อขยายระยะทางที่กาหนด ในข้อ 1(2) หรื อข้อ 2(2) หรื อ ไม่ให้ใช้บงคับ ข้อ 1(2) แก่โรงงานประเภทใดตาม ั เงื่อนไขที่กาหนดก็ได้ ่ ข้อ 4 โรงงานจาพวกที่ 3 นอกจากห้ามตั้งในบริ เวณตามข้อ 2 แล้วต้องตั้งอยูใน ทาเลและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบริ เวณเพียงพอ ที่จะประกอบกิจการ อุสาหกรรม ขนาดและประเภทหรื อชนิดของโรงงานโดยไม่อาจก่อให้เกิดอันตราย เหตุราคาญ หรื อ ความเสี ยหายต่อบุคคลหรื อทรัพย์สินของผูอื่น ้
  • 19. 4.2 การควบคุม ่ รัฐมนตรี วาการกระทรวงอุสาหกรรม มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด - หลักเกณฑ์เกี่ยวกับที่ต้ งสภาพแวดล้อม ลักษณะอาคาร หรื อลักษณะภายในของ ั โรงงาน - ลักษณะ ประเภท และชนิ ดของเครื่ องจักร เครื่ องอุปกรณ์ หรื อสิ่ งที่ตองนามาใช้ในการ ้ ประกอบกิจการ - มีคนงานที่มีความรู ้เฉพาะตามประเภท ชนิ ด หรื อขนาดของโรงงานเพื่อปฏิบติหน้าที่ ั ประจาโรงงาน - หลักเกณฑ์ที่ตองปฏิบติกรรมวิธีการผลิต และการจัดให้มีอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือใด ้ ั เพื่อป้ องกัน ระงับ บรรเทาอันตราย ความเสี ยหายความเดือดร้อนที่อาจเกิดกับบุคคล หรื อทรัพย์สิน - มาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสี ย มลพิษ หรื อสิ่ งใดที่มีผลกระทบต่อ สิ่ งแวดล้อม - เพื่อคุมครองความปลอดภัยในการดาเนิ นงาน ป้ องกัน ระงับ บรรเทาอันตราย ความ ้ เสี ยหายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการ
  • 20. 4.3 การประกอบกิจการ - ผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 1 จะปฏิบติได้ตองอยูในหลักเกณฑ์ที่กาหนด ้ ั ้ ่ - ผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 2 จะต้องแจ้งพนักงานก่อนและทาตาม ้ หลักเกณฑ์เพื่อควบคุม การเลิก โอน ให้เช่า ต้องแจ้งพนักงานก่อนภายใน 30 วัน - ผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 3 ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงตั้งโรงงานได้และ ้ ปฏิบติตามหลักเกณฑ์ ั
  • 21. 4.4 การขออนุญาต ผูประสงค์จะขออนุญาตประกอบกิจการต้องยืนตามคาขอแบบ ร.ง. ท้าย ้ ่ กฎกระทรวง - ใน กทม. ทาคาขอ 2 ฉบับ ยืนต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม ่ - จังหวัดอื่น ทา 3 ฉบับ ยืนสานักงานอุสาหกรรมจังหวัด ่ - เมื่อยืนแล้วเจ้าหน้าที่ตองตรวจสอบทาเล ที่ต้ ง อาคาร โรงงาน ่ ้ ั เครื่ องจักร และความถูกต้องของเอกสารและจัดทารายงานตรวจสอบภายใน 30 วัน ดาเนินการพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 50 วัน และแจ้งผลให้ผยน ู้ ื่ ภายใน 10 วัน การขออนุญาตขยายโรงงานทาเหมือนการขอประกอบกิจการ ใบอนุญาตใช้ได้อีก 5 ปี ของวันประกอบกิจการ และต้องยืนขอต่อก่อนวัน ่ หมดใบอนุญาตจึงดาเนินการต่อได้ คาสังไม่ออกใบขออนุญาตผูขอสามารถยืน ้ ่ ่ ่ อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี วาการกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน
  • 22. 4.5 ค่าธรรมเนียม - คาขอฉบับละ 10 บาท - ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (กาหนดตามแรงม้าของเครื่ องจักร) ฉบับ ละ 500 ถึง 60,000 บาท - ค่าธรรมเนียมรายปี สาหรับผูประกอบการโรงงานจาพวกที่ 2 และ 3 (จาแนก ้ ตามแรงม้าของเครื่ องจักร) ปี ละ 150 ถึง 180,000 บาท 4.6 สถานที่ต้ง ั - ห้ามตั้งโรงงานใกล้ที่พก ั - ห้ามตั้งโรงงานพวกที่ 1 2 (ระยะ 50 เมตร) และ 3 (100 เมตร) จากเขตติดต่อ สาธารณะสถาน ่ - โรงงานจาพวกที่ 3 ต้องอยูในสถานที่เหมาะสมไม่เป็ นเหตุให้เกิดความ เสี ยหาย
  • 23. 4.7 อาคารโรงงาน - มันคงเหมาะสมและมีบริ เวณเพียงพอ โดยมีคารับรองของผูประกอบวิชาชี พวิศวกรรมควบคุม ้ ่ - มีการระบายอากาศที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ - มีประตูหรื อทางออกให้พอกับจานวนคนในโรงงานที่จะหลบหนี ภยออกได้ทนท่วงทีเมื่อมีเหตุ ั ั ฉุกเฉินตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ - บันไดต้องมันคงแข็งแรง มีลกษณะ ขนาด และจานวนเหมาะสมกับอาคารตามมาตรฐานที่ ั ่ กาหนด - ระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงเพดานโดยเฉลี่ยต้องไม่ต่าว่า 3 เมตร - พื้นต้องมันคงแข็งแรง ไม่มีน้ าขังหรื อลื่น ่ - บริ เวณหรื อห้องทางานต้องมีพ้ืนที่ปฏิบติงานไม่นอยกว่า 3 ตารางเมตร ต่อคนงาน 1 คน ั ้ - วัสดุในการก่อสร้างต้องเหมาะสมกับการประกอบการ - มีสายล่อฟ้ าตามความจาเป็ น - มีที่เก็บรักษาวัสดุหรื อสิ่ งของที่อาจก่อให้เกิดอันตราย - ลิฟท์ตองมีมาตรฐานตามที่กาหนด ้ - มีหองส้วมและสถานที่ทาความสะอาดร่ างกายตามจานวนที่กาหนด ้
  • 24. 4.8 เครื่ องจักร สิ่ งที่นามาใช้ในโรงงานต้องแข็งแรง ปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดความ สันสะเทือน เสี ยง คลื่นวิทยุรบกวนผูอยูอาศัยใกล้เคียงมีเครื่ องป้ องกันอันตราย ้ ่ ่ จากเครื่ องจักร บ่อหรื อถังเปิ ดต้องมีขอบกั้นแข็งแรงสูงไม่นอยกว่า 100 ซ.ม. หม้อไอ ้ น้ า หม้อต้ม เครื่ องอัดก๊าซ ภาชนะบรรจุความกดดันต่างจากบรรยากาศ ภาชนะ บรรจุวตถุอนตรายต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ั ั ่ เครื่ องยก เครื่ องลาเลียงขนส่ งต้องจัดให้อยูในลักษณะที่ปลอดภัย ระบบ ไฟฟ้ าต้องเป็ นไปตามหลักที่กาหนด 4.9 การควบคุมการปล่อยของเสี ย การกาจัดขยะ สิ่ งปฏิกลและวัสดุที่ไม่ได้ใช้การระบายน้ าทิ้ง ระบบ ู บาบัดน้ าเสี ย การระบายอากาศเสี ย และการควบคุมเสี ยง ต้องควบคุมตามหลัก ที่กาหนด
  • 25. 5. การขอรับการส่ งเสริ มและสิ ทธิ ประโยชน์ในการลงทุน 5.1 มาตรการทางภาษี มีสาระสาคัญดังนี้ - เรื่ องนโยบายส่ งเสริ มการลงทุนในประกาศฯ ข้อ 1.5 กล่าวว่าให้ ความสาคัญกับการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมระดับกลางและขนาดย่อมโดยไม่ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเงินลงทุนขั้นต่าของโครงการที่จะได้รับการส่ งเสริ มเพียง 1,000,000 บาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน - โครงการที่มีเงินลงทุนไม่เกิน 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและทุน หมุนเวียน) จะใช้หลักเกณฑ์พิจารณาอนุมติโครงการ ั
  • 26. - หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์ดานภาษีอากร ตามประกาศฯ ข้อ 4 ้ คณะกรรมการได้แบ่งออกเป็ น 3 เขต ตามปัจจัยทางเศรษฐกิจ โดยใช้รายได้ และสิ่ งอานวยความสะดวกเป็ นเกณฑ์ 5.2 การขอรับการส่ งเสริ มจาก BOI สานักงานส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) อาจอนุมติให้การส่ งเสริ มการลงทุนหาก ั พิจารณาเห็นว่า - ผลิตภัณฑ์ ผลิตผล หรื อบริ การนั้น ไม่มีในราชอาณาจักรหรื อมีแต่ยงไม่ ั เพียงพอ - ผลิตภัณฑ์ ผลิตผล หรื อบริ การนั้น มีความสาคัญและเป็ นประโยชน์ในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และความมันคงของประเทศ ่ - โครงการหรื อการลงทุนนั้นมีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี หรื อป้ องกันการเสี ยหายของสภาพแวดล้อม
  • 27. 5.3 การเกณฑ์การอนุมติโครงการ ั - โครงการที่มีเงินลงทุนไม่เกิน 200 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินลงทุน หมุนเวียน) จะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุมติโครงการตามคณะกรรมการ ั กาหนด - โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 200 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินลงทุน หมุนเวียน) จะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุมติโครงการตามคณะกรรมการ ั กาหนด - โครงการที่มีเงินลงทุนมากกว่า 500 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและเงินลงทุน หมุนเวียน) จะต้องแนบรายงานการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) ตามที่คณะกรรมการกาหนด
  • 28. 5.4 เขตส่ งเสริ มการลงทุน ให้พ้ืนที่เขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังและท้องที่จงหวัดทุกจังหวัดเป็ นเขต ั ส่ งเสริ มการลงทุนยกเว้น กรุ งเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม ราชบุรี กาญจนบุรี สุ พรรณบุรี อ่างทอง อยุธยา นครนายก ฉะเชิงเทรา และชลบุรี 5.5 หลักเกณฑ์การให้สิทธิและประโยชน์ดานภาษีอากร ้ เขต 1 กรุ งเทพฯ สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี นนทบุรี และนครปฐม - ให้ได้รับการลดหย่อนขาเข้าสาหรับเครื่ องจักรกึ่งหนึ่งเฉพาะรายการที่ไม่มีอยู่ ในประกาศกระทรวงการคลังฉบับที่ ศก.13/2533 ลงวันที่ 18 กันยายน 2533 เว้นแต่เครื่ องจักรที่มีอากรขาเข้าต่ากว่าร้อยละ 10 จะไม่ได้ลด
  • 29. - ให้ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นเวลา 3 ปี สาหรับโครงการส่งออกไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของยอดขาย และตั้งแหล่งส่งออกในเขตที่กาหนด - ได้รับการยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบหรื อวัสดุจาเป็ นสาหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออกเป็ น ระยะเวลา 1 ปี เขต 2 จังหวัดสมุทรสงคราม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง อยุธยา นครนายก ฉะเชิงเทรา และ ชลบุรี เขต 3 โครงการที่ประกอบการหรื อจัดตั้งโรงงานในเขตส่งเสริ มการลงทุน - ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักร - ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้เป็ นระยะเวลา ทั้งหมด 8 ปี - ได้รับยกเว้นอากรสาหรับวัตถุดิบหรื อวัสดุจาเป็ นสาหรับส่วนที่ผลิตเพื่อการส่งออกเป็ นระยะเวลา 5 ปี - ได้รับลดหย่อนการนาเข้าร้อยละ 75 ของอัตราปกติสาหรับวัตถุดิบหรื อวัสดุที่จาเป็ นในการผลิต เพื่อจาหน่ายในราชอาณาจักรเป็ นเวลา 5 ปี โดยกรรมการจะอนุมติให้คราวละ 1 ปี ั - ให้ได้รับ สิ ทธิและประโยชน์ดงนี้ ั - ลดภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เป็ นเวลา 5 ปี - อนุญาตให้หกค่า ประปา ไฟฟ้ า เป็ น 2 เท่า เป็ นเวลา 10 ปี นับจากมีรายได้ ั - อนุญาตให้หกค่าติดตั้งหรื อสร้างสิ่ งอานวยความสะดวกจากกาไรสุทธิร้อยละ 25 ของเงินลงทุน ั
  • 30. 6. การขอใช้เครื่ องหมายมาตราฐาน  ผูผลิตจะใช้ประโยชน์จากเครื่ องหมายเพื่อเป็ นการยืนยันว่าสิ นค้าของตัวเองมี ้ คุณภาพ มีมาตราฐาน ในการค้าระหว่างประเทศ เครื่ องหมายมาตราฐาน จะช่วยเพิมความเชื่อถือในสิ นค้า เป็ นการรักษาระดับคุณภาพให้สม่าเสมอ และ ่ ยังประหยัดค่าใช้จ่ายและลดต้นทุน  สาหรับผูซ้ื อ เครื่ องหมายมาตราฐาน จะสร้างความมังใจในคุณภาพของสิ นค้า ้ ่  ผูที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมายจะออกใบอนุญาตให้ก็ต่อเมื่อเจ้าหน้าที่ได้ ้ ตรวจสอบจนเป็ นที่แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์น้ นๆเป็ นไปตามมาตราฐานที่กาหนด ั
  • 31. 6.1 หลักเกณฑ์การออกใบอนุญาต สานักงานมาตราฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) จะเป็ นผูออกใบอนุญาตให้แสดงเครื่ องหมาย ้ มาตราฐานเพื่อแสดงว่าผลิตภัณฑ์น้ นมีคุณภาพเป็ นไปตามมาตราฐาน ซึ่งหลักเกณฑ์วิธีการการ ั ตรวจสอบแต่ออกใบอนุญาตแสดงเครื่ องหมาย จะเป็ นไปตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติมาตราฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 6.2 วิธีการประเมินตามหลักเกณฑ์การับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ สมอ. ได้กาหนดกลุ่มโรงงานที่ขอรับ การรับรองณคุณภาพผลิตภัณฑ์ทางเทคนิคของแต่ละกลุ่ม กลุ่มที่1. โรงงานที่ได้รับ ISO 9000 และการรับรองห้องปฏิบติการ จากการอนุญาติของ สมอ. ั 1 ยกเว้นการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ 2.ใช้ผลการทดสอบของโรงงาน กลุ่มที่2. โรงงานที่ได้รับ ISO 9000 และการรับรองห้องปฏิบติการ จากการอนุญาติของ สมอ. ั
  • 32. กรณี ได้รับ ISO 9000 1. ยกเว้นการประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ ้ 2. ทดสอบที่โรงงานโดยมีพนักงานเป็ นพยาน กรณี ได้รับการรับรองห้องปฏิบติการ ั 1. ผลการทดสอบของโรงงาน 2. ประเมินระบบควบคุมคุณภาพ ้ กลุ่มที่3. โรงงานไม่ได้รับ ISO 9000 และการรับรองห้องปฏิบติการ จากการอนุญาติ ั ของ สมอ. กรณี โรงงานมีเครื่ องมือทดสอบครบตามเงื่อนไข 1. ประเมินระบบควบคุมคุณภาพ ้ 2. ทดสอบที่โรงงานโดยมีพนักงานเป็ นพยาน กรณี อื่น 1. ประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ 2. เก็บตัวอย่างส่ งหน่วยตรวจสอบที่ได้รับการแต่งตั้ง
  • 33. 6.3 การตรวจโรงงาน  การประเมินระบบการควบคุมคุณภาพ สมอ. โดยทัวไปจะใช้เวลา 1-2 วัน ขึ้นอยู่ ่ กับความสลับซับซ้อนของกรรมวิธีการผลิตและประเมินละความพร้อมของ ตัวอย่างที่จดเก็บ ั ่ 1.ตรวจสอบข้อมูลทัวไปของโรงงาน ตรวจสอบและประเมินการทาผลิตภัณฑ์วา ่ เป็ นไปตามมาตราฐาน สมอ. ที่จะขอใช้เครื่ องหมายมาตราฐานหรื อไม่ โรงงานมี แผนควบคุมการผลิตเพียงพอที่จะทาผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตามมาตราฐานหรื อไม่ 2.สอบถามรายละเอียดกรรมวิธีการผลิตเช้าชมกรรมวิธีการผลิตในแต่ละขั้นตอน 3. การตรวจโรงงานจะสอบถามรายละเอียดการควบคุมคุณภาพในแต่ละขั้นตอน พร้อมทั้งตรวจสอบการปฏิบติของผูยนคาขอจากบันทึกผลการตรวจสอบของ ั ้ ื่ โรงงานพิจารณาว่าผูยนคาขอสามารถรักษาคุณภาพการผลิตภัณฑ์ให้เป็ นไปตาม ้ ื่ มาตรฐานได้อย่างสม่าเสมอหรื อไม่
  • 34. 7.4 การเก็บตัวอย่าง เจ้าหน้าที่จะเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ หรื อวสดุผลิตภัณฑ์ตามวิธีการ จานวนที่กาหนอดไว้ในมาตรฐานหรื อ ตามที่เห็นสมควร เพื่อนาไปตรวจสอบว่าเป็ นไปตามที่ได้กาหนดไว้ในมาตรฐานหรื อไม่ 7.5การประเมินระบบการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ การประเมินจะเริ่ มตั้งแต่วิธีการจัดหาวัตถุดิบ การควบคุมคุณภาพระหว่างการผลิตและผลิตภัณฑ์สาเร็จรู ป ตลอดจนการควบคุมเคท่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบ 1.กรณี เป็ นไปตามเกณฑ์หาหนดมาตรฐานที่กาหนด สมอ. จะสรุ ปรายงานเสนอคณะกรรมการมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ออกใบอนุญาตและแจ้งเงื่อนไขวิธีการควบคุมคุณภาพให้ผยนคาขอทราบ ู้ ื่ 2. หากผลการประเมินไม่เป็ นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานที่กาหนดจะแจ้งให้ทราบเพื่อแก้ไขปรับปรุ ง 3. สมอ. จะให้ความช่วยเหลือแนะนาในการปรังปรุ งข้อบกพร่ องต่างๆเท่าที่ทาได้และส่งพนักงานเจ้าหน้าที่ไป ตรวจโรงงาน และหรื อเก็บตัวอย่างอีกครั้ง หลังจากที่ได้รับแจ้งจากผูขอรับใบอนุญาว่าได้ทาการแก้ไขปรังปรุ ง ้ จนสามารถปฏิบติได้ตามหลังเกณฑ์ที่กาหนดแล้ว สมอ. ั 4. หากปรากฏว่าผ็ขอใบอนุญาต ไม่ได้ทาการแก้ไขปรับปรุ งข้อบกพร่ องต่างๆ ได้ หลังจากจากที่ สมอ.แจ้งให้ ทราบ เจ้าหน้าที่ สมอ.จะมีคาสังไม่อนุญาตให้คืนค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบคืนให้แก่ผขอรับ ู้ ่ ใบอนุญาต 7.6 การออกใบอนุญาติ
  • 35. 8. การขออนุญาตตังโรงงานผลิตอาหาร ้ พระราชบัญญัตอาหาร พ.ศ. 2522 ิ ฉลากอาหาร หมายถึง รูป รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย หรือข้อความใด ๆ ทีแสดงรายละเอียด ่ เกี่ยวกับอาหารทีตดไว้ทภาชนะบรรจุอาหาร หรือหีบห่อของภาชนะทีบรรจุอาหาร ่ ิ ่ี ่ ตามกฏหมายกาหนดประเภทขออาหารทีตองแสดงฉลาก ไว้ 3 ประเภท ่ ้ 1. อาหารคบคุมเฉพาะ อาหารทีรฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เป็ นอาหารทีอยู่ในควบคุมเกี่ยวกับคุณภาพและ ่ั ่ มาตรฐาน ปัจจุบนมี 39 ชนิด ซึงโรงงานทุกโงงานทีผลิต นาเข้า จาหน่ายอาหารจะต้องขอใบอนุ ญาต พร้อมทังขอ ั ่ ่ ้ ขึ้นทะเบียนตารับอาหาร หลัจากนันจึงจะสามารถนาเข้าสินค้าประเภทอาหารและยาเพือนาเข้ามาจาหน่าย ้ ่ 2.อาหารกาหนดคุณภาพพรือมาตรฐาน นอกจากต้องขอใบอนุญาต ผลิต นาเข้า และขายอาหารของแต่ละโรงงานแล้ว โรงงานทีไม่ได้ผลิต ่ อาหารเองจะต้องอนุญาตใช้ฉลากอาหารด้วย
  • 36. อาหารกาหนดคุณภาพหรือมาตราฐานแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทคือ 2.1อาหารกาหนดคุณภาพ มาตรฐาน ต้องขออนุญาตใช้ฉลากอาหารมีทงหมด 5 ชนิด ั้ ได้แก่ - นาทีเ่ หลือจากการผลิตโมโนโซเดียมกลูตาเมท (ชูรส) ้ - ช็อกโกแลต - ไข่เยียวม้า ่ - ผลิตภัณฑ์ปรุงรสทีได้จากการย่อยโปรตีนของถัวเหลือง ่ ่ - ข้าวเสริมวิตามิน 2.2 อาหารกาหนดคุณภาพ มาตรฐานทีเ่ ว้นให้ไม่ตองขออนุญาตช้ฉลากอาหารมี 1 ชนิด ้ ได้แก่ - เกลือแร่ 2.3 อาหารทีนาหรือสังเข้ามาในราชอาณาจักร กรณีไม่ใช่อาหารควบคุมเฉพาะ ่ ่
  • 37. 3. อาหารที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดให้เป็ นอาหารที่ตองมีฉลาก ้ 3.1 อาหารที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดให้เป็ นอาหารที่ตองมีฉลาก ผูผลิต และ ้ ้ ผูนาเข้าจะต้องยืนขออนุญาตใช้ ฉลากอาหารมีท้ งหมด 12 ชนิด ได้แก่ ้ ่ ั 1. แป้ งข้าวกล้อง 2. น้ าเกลือปรุ งรส 3. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท 4. ขนมปั ง 5. อาหารที่มีวตถุประสงค์พิเศษ ั 6. หมากฝรั่งและลูกอม 7. วุนสาเร็ จรู ป และ ขนมเยลลี่ ้ 8. อาหารฉายรังสี ่ 9. อาหารที่มีวตถุกนชื้นรวมอยูในภาชนะบรรจุ ั ั 10. ผลิตภัณฑ์กระเทียม 11. วัตถุแต่งกลิ่นรส 12. อาหารที่มีส่วนผสมของว่านหางจระเข้
  • 38. 3.2 อาหารที่ตองมีฉลากแต่ไม่ตองยืนขออนุญาตผูผลิตหรื อนาเข้าปฏิบติได้เลย ้ ้ ่ ้ ั มี 3 ชนิด 1. ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ ได้แก่ ลูกชิ้น ไส้กรอก แหนม หมูยอ กุนเชียง และ ผลิตภัณฑ์ลกษณะเดียวกัน ที่บรรจุในภาชนะพร้อมจ่าย ั 2. อาหารสาเร็จรู ปที่พร้อมบริ โภค 3. อาหารพร้อมปรุ ง 3.3 อาหารอื่นที่นาหรื อสังเข้ามาในราชอาณาจักรนอกเหนือจาก ข้อ 3.1-3.3 ่ จะต้องยืนขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร ่ แสดงได้ชดเจนและสี ตดกับพื้นฉลากดังน ั ั
  • 39. 1. ชื่อฉลากของอาหาร กากับชื่ออาหาร 2. ชื่อและที่ต้ งของผ้ผลิต กรณี เป็ นอาหารนาเข้าให้แจ้งประเทศผูผลิตด้วย ั ้ 3. เลขทะเบียนตารับอาหาร 4. ของแข็งแจ้งเป็ นน้ าหนักสุ ทธิ ของเหลวแจ้งป็ นปริ มาตรสุ ทธิ 5. กรณี เป็ นเม็ดหรื อเป็ นแคปซูลให้แจ้งปริ มาณต่อหน่วย 6. วัน เดือน ปี ที่ผลิตอาหาร หรื อวัน เดือน ปี ที่หมดอายุของอาหาร 7. ถ้ามีการแต่งสี ตองมีขอความว่า "เจือสี ธรรมชาติ" หรื อ "เจือสี สังเคราะห์" แล้วแต่กรณี ้ ้ 8. ถ้ามีการแต่งกลิ่นรสต้องมีขอความว่า "แต่งกลิ่นธรรมชาติ” ้ ั 9. วัตถุเจือปนอาหารโดยเฉพาะวัตถุกนเสี ยต้องมีขอความ "ใช้วตถุกนเสี ย” ้ ั ั 10. แจ้งวิธีปรุ งเพื่อรับประทาน(ถ้ามี) 11. แจ้งคาแนะนาในการเก็บรักษา 12. แจ้งคาเตือน(ถ้ามี)
  • 40. ข้อความที่ตองแสดงส่ วนหน้าของฉลาก ้ 1. ชื่ออาหาร 2. ปริ มาณสุ ทธิ 3. วันเดือนปี ที่ผลิต หรื อเดือนปี ที่ผลิต วันเดือนปี ที่หมดอายุ หรื อควรบริ โภคก่อน เครื่ องหมายการค้า คือ เครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์ หรื อตรา ซึ่ งอาจเป็ นภาพ ่ คา ชื่อ หรื อตัวอักษรที่ใช้กากับสิ นค้าและบริ การ เพื่อทาให้สามารถแยกแยะได้วาสิ นค้า นั้นมีความแตกต่างจากสิ นค้าของผูอื่น ้ ั เครื่ องหมายบริ การ คือ เครื่ องหมายที่ใช้กบธุรกิจบริ การ เครื่ องหมายของ สถาบันการบิน เครื่ องหมายรับรอง คือ เครื่ องหมายที่เจ้าของเครื่ องหมายใช้รับรองคุณภาพ สิ นค้าหรื อบริ การของผูอื่น เช่น เครื่ องหมายเชลล์ชวนชิม แม่ชอยนางรา ้ ้ ั เครื่ องหมายร่ วม คือ เครื่ องหมายที่ใช้กบสิ นค้าหรื อบริ การที่ผลิตจากกลุ่ม บริ ษทหรื อบริ ษทในเครื อเดียวกัน เช่น ตราช้างของบริ ษท ปูนซี เมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ั ั ั
  • 41. พ.ร.บ. เครื่ องหมายการค้าได้กาหนดลักษณะของเครื่ องหมายการค้า เครื่ องหมาย บริ การ เครื่ องหมายรับรองและเครื่ องหมายร่ วมที่สามารถขอจดทะเบียน ได้ดงนี้ ั 1. จะต้องมีลกษณะบ่งเฉพาะ ที่ทาให้ทราบและเข้าใจว่าสิ นเค้าที่ใช้เครื่ องหมายนั้น ั แตกต่างจากสิ นค้าอื่น 2. จะต้องไม่มกษณะต้องห้ามตามกฏหมาย เช่น เครื่ องหมายราชการ ธงชาติ พระ ั บรมฉายาลักษณ์ 3. จะต้องไม่เหมือนหรื อคล้ายกับเครื่ องหมายของบุคคลอื่น กฎหมายจะให้ความคุมครองเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วเป็ นเวลา 10ปี ้ นับจากวันที่จดทะเบียน หากครบกาหนดก็สามารถขอต่ออายุได้ครั้งละ 10 ปี
  • 42. ขั้นตอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าของประเทศไทย การตรวจค้น 1. แนะนาให้ผยนคาขอจดทะเบียนตรวจค้นเครื่ องหมายว่าเหมือนหรื อคล้าย ู้ ื่ เครื่ องหมายการค้าของผูอื่นหรื อไม่ ้ 2. ผูคนต้องเสี ยค่าธรรมเนียมในการตรวจค้น 100 บาท/ชัวโมง ้้ ่ การยืนคาขอจดทะเบียน ่ 1. การบริ การทัวไป ่ 2. การให้บริ การทางอินเตอร์เน็ต 3. การปกป้ องกันสิ ทธิในเครื่ องหมายการค้า 4. รายละเอียดอื่นๆ
  • 43. พระราชบัญญัติสิทธิบตร พ.ศ.2522 ดังนี้ ั 1.คาจากัดความโดยทัวไปของสิ ทธิ บตร ั ่ เป็ นพระราชบัญญัติของทรัพย์สินทางปั ญญาที่ออกให้โดยหน่วยงานของรัฐซึ่ งให้ เจ้าของมีสิทธิ ผกขาดผูเ้ ดียวในการหาประโยชน์ในช่วงเวลาที่จากัดในอาณาเขตที่ให้ไว้ และ ู ยังรวมถึงการ ขาย โอน ยินยอมให้ผอื่นใช้สิทธิ ได้โดยอนุญาตให้ใช้สิทธิ ู้ 2. ประเภทของสิ ทธิ บตร ั พ.ร.บ.ของสิ ทธิ บตรได้แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ั 2.1 สิ ทธิ บตรการประดิษฐ์ ั 2.2 สิ ทธิ บตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ ั ระยะเวลาการให้ความคุมครองสิ ทธิ บตร ้ ั - สิ ทธิ บตรการประดิษฐ์เป็ นเวลา 20 ปี นับแต่วนยืนขอ ั ั ่ - สิ ทธิ บตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 10 ปี นับแต่วนยืนขอ ั ั ่
  • 44. การประดิษฐ์ที่มีคุณสมบัติขอรับสิ ทธิบตรได้ ั (Patentable Invention) ต้องประกอบด้วย 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. เป็ นการประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ 2. เป็ นการประดิษฐ์ที่มีข้นการประดิษฐ์สูงขึ้น ั 3. เป็ นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม
  • 45. การประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ (Novelty) พ.ร.บ. สิ ทธิบตรได้ให้ความหมายว่า “การประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ได้แก่การประดิษฐ์ที่ ั ่ ไม่เป็ นงานที่ปรากฎอยูแล้ว” ขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Inventive Step) ่ พ.ร.บ. สิ ทธิบตรบัญญัติวา “การประดิษฐ์ที่มีข้นสูงขึ้น ได้แก่เป็ นการประดิษฐ์ที่ ั ั ไม่เป็ นที่ประจักษ์ได้โดยง่าย”
  • 46. การประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรม (Industrial Applicability) การประดิษฐ์จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์หรื อกรรมวิธีที่สามารถทาให้เกิดขึ้นได้จริ งและ เป็ นสิ่ งที่สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ่ พ.ร.บ. สิ ทธิบตรระบุวา “การประดิษฐ์สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทางอุตสาหกรรม ั ได้แก่ การประดิษฐ์ที่สามารถนาไปใช้ได้ในทางอุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิ ชยกรรม”
  • 47. การประดิษฐ์ที่ขอรับสิ ทธิ บตรไม่ได้ ั (Unpatentable Invention) - ่ จุลชีพ และส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยูตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรื อสารสกัด จากสัตว์ พืช แต่ในกรณี ที่มีการสังเคราะห์ข้ ึนแล้วได้จุลชีพชนิดใหม่ข้ ึนมานั้น ถือว่าไม่ผดกฎข้อนี้ ิ ่ กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การค้นพบกฎเกณฑ์หรื อหลักการที่มีอยูตาม ธรรมชาติไม่ใช่การประดิษฐ์ ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ (Software) พ.ร.บ. สิ ทธิบตรไม่คุมครอง ั ้ ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของคอมพิวเตอร์ หรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพราะโปรแกรม คอมพิวเตอร์ไม่ใช่การประดิษฐ์ เนื่องจากไม่ใช่ความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์โดยตรง หากแต่มี ลักษณะเพียงวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ให้ทางานตามคาสังของผูใช้เท่านั้น ้ ่
  • 48. ความคุมครองตามกฎหมายสิ ทธิบตร ้ ั - วิธีวนิจฉัยบาบัด หรื อ รักษาโรคมนุษย์หรื อสัตว์โดยแพทย์ เช่นการหาสมมุติฐาน ิ ของโรคโดยแพทย์ (มิใช่เครื่ องมือ) จะไม่ได้รับการคุมครองตามกฎหมายนี้ ้ การประดิษฐ์ที่ขดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดี อนามัยสวัสดิภาพของ ั ประชาชน
  • 49. บุคคลที่มีสิทธิขอรับสิ ทธิบตร ั - ผูประดิษฐ์หรื อผูออกแบบหรื อทายาทของบุคคลดังกล่าว ้ ้ - นายจ้างหรื อผูวาจ้างหน่วยราชการองค์การของรัฐหรื อ ้่ รัฐวิสาหกิจ - ผูรับโอนสิ ทธิ ขอรับสิ ทธิ จากสิ ทธิ บตรของผูอื่น ้ ั ้ บุคคลที่มีสิทธิ ขอรับสิ ทธิ บตรทั้งสามข้อข้างต้นจะต้องเป็ นบุคคลสัญชาติไทย หรื อมี ั สัญชาติของประเทศที่ยนยอมให้บุคคลสัญชาติไทยขอรับสิ ทธิ บตรในประเทศนั้นได้ ิ ั อายุสิทธิ บตร ั - สิ ทธิ บตรสิ่ งประดิษฐ์มีอายุ 20 ปี นับตั้งแต่วนขอสิ ทธิ บตร ั ั ั - สิ ทธิ บตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ 10 ปี นับตั้งแต่วนขอสิ ทธิ บตร ั ั ั
  • 50. พระราชบัญญัติมาตรฐานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซึ่งได้กาหนดไว้ในกฎกระทรงฉบับที่ 5 (พ.ศ.2516) 1. ผูประสงค์จะทาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมใดที่มีพระราชกฏษฎีกากาหนดให้ ต้องยืนคาขอ ้ ่ ใบอนุญาตทาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นต่อสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม พร้อมทั้งส่งมอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์โดยละเอียด ซึ่งต้องมีหลักฐานดังต่อไปนี้ 1.1 แผนผังแสดงกรรมวิธีการทาโดยย่อ 1.2 รายการเครื่ องมือที่ใช้ในการผลิต 1.3 แผนภูมิหรื อรายละเอียดต่างๆ 1.4 แสดงวิธีการตรวจสอบคุณภาพ 1.5 รายการเครื่ องมือที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพ 1.6 ปริ มาณผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่สามารถทาได้ หมายเหตุ : ในกรณี ที่ผขออนุญาตแสดงเครื่ องมือมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสาหรับ ู้ ่ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนั้นอยูก่อนแล้ว ผูขอรับใบอนุญาตจะไม่ส่งมอบข้อที่ 1.1-1.3-1.5 ก็ได้ ้
  • 51. 2. เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่รับคาขอพร้อมทั้งหลักฐานตามข้อที่ 1 แล้ว เจ้าหน้าที่จะสังให้ผขอรับ ่ ู้ ใบอนุญาตส่งมอบหลักฐานเพิ่มเติมอีกก็ได้ 3. ใบอนุญาตทาผลิตภัณฑ์ อุตสากรรมมีพระราชฎีกากาหนดให้ตองเป็ นไปตามมาตรฐาน ้ ประมวลกฏหมายกรมสรรพากร ว่าด้วยการกาหนดมูลค่าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่อม ซึ่งได้รับยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 354) พ.ศ. 2542 โดยกาหนดให้กิจการที่มีมูลค่าของฐานภาษีไม่เกิน 1,200,000 บาทต่อปี และยกเลิก การกาหนดมูลค่าฐานภาษีของกิจการที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่มมาตรา 82/16 แห่งประมวลรัษฎากร
  • 52. กฎหมายเกี่ยวกับโรงงานอุสาหกรรม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมกากับดูแลและตรวจสอบ โรงงานอุตสาหกรรมทัวประเทศ เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติโรงงาน โดยมี ่ สาระสาคัญดังนี้ 1. เป็ นผูกาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเกี่ยวกับที่ต้ง และลักษณะของโรงงาน ้ ั 2. กาหนดประเภทหรื อชนิดของเครื่ องจักร เครื่ องอุปกรณ์ หรื อสิ่ งที่ตองนามาใช้ ้ ในโรงงาน 3. กาให้ให้มีพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง 4. กาหนดหลักเกณฑ์ที่ตองปฏิบติ เพื่อป้ องกันอันตรายหรื อความเสี ยหาย ้ ั
  • 53. ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัวไป ่ (Generalized System of Preferences – GSP) GSP คืออะไร คือ ระบบการให้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัวไปที่ประเทศที่พฒนาแล้ว ั ่ ให้แก่สินค้าที่มีแหล่งกาเนิดใน ประเทศที่กาลังพัฒนา โดยลดหย่อนหรื อยกเว้นอากรขาเข้าแก่สินค้า ่ ที่มีอยูในข่ายได้รับสิ ทธิ พิเศษทางการค้าทั้งนี้ประเทศผูให้สิทธิพิเศษฯ จะเป็ นผูให้แต่เพียงฝ่ ายเดียว ้ ้ ไม่หวังผลตอบ แทนใดๆทั้งสิ้น วัตถุประสงค์ ของ GSP ั - เพื่อเพิ่มรายได้จากการส่ งออกให้กบประเทศที่กาลังพัฒนา - เพื่อส่ งเสริ มอุตสาหกรรมของประเทศที่กาลังพัฒนา - เพื่อเพิ่มอัตราการเจริ ญเติมโตทางเศรษฐกิจประเทศที่กาลังพัฒนา หลักการของ GSP - เป็ นการทัวไป ่ - ไม่เป็ นการตอบแทน - ไม่เลือกปฏิบติ ั
  • 54. สาระสาคัญของระบบ GSP ในปัจจุบนประเทศให้ GSP รวม 28 ประเทศ แบ่งออกเป็ น 13 ระบบ สาระสาคัญของ ั ระบบGSPโดยทัวไปมี ดังนี้ ่ - ออสเตรเลีย กลุ่มสหภาพยุโรป (15 ประเทศ) ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ แคนาดาสหรัฐอเมริ กา - สมาคมการค้าเสรี แห่งยุโรป (EFTA) นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ สังคมนิยมยุโรปตะวันออก รัสเซีย ฮังการี บัลกาเรี ย สาธารณะรัฐเชคและสโลวาเกีย โปแลนด์ เงือนไขการส่ งมอบสิ นค้ า ่ สิ นค้าที่มีแหล่งกาเนิดในประเทศจะต้องส่งมอบโดยตรงจากประเทศผูรับสิ ทธิ GSP ้ ไปยังประเทศผูให้สิทธิ GSP เป็ นลักษณะสาคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสิ นค้าของระบบ GSP ้ เกือบทุกระบบเลยนะคร๊ า
  • 55. ประโยชน์ ของของ GSP - - ส่ งเสริ มการส่ งออก และเปิ ดโอกาสให้สินค้าใหม่ๆ สามารถเข้าสู่ ตลาดเหล่านี้ ได้โดยอาศัยสิ ทธิพิเศษเป็ นเครื่ องมือในการเจาะการตลาด ส่ งเสริ มด้านการผลิต โดยเฉพาะสิ นค้าอุตสาหกรรม ซึ่ งจะนาไปสู่ การเพิ่มการ ลงทุนการจ้างงาน ส่ งเสริ มให้มีการใช้วตถุดิบภายในประเทศ ั กฎหมายในความรับผิดชอบของกรมการค้าภายใน การควบคุมราคาของสิ นค้า เพื่อป้ องกันการกาหนดราคาที่สูงหรื อต่า เกินไป โดยมีรายการทั้งหมด 15 รายการ ตามหน้า 57 ่ ่ ซึ่งสิ นค้าที่ได้รับการควบคุมนั้น จะต้องอยูภายใต้พระราชบัญญัติวาด้วย ราคาสิ นค้าและบริ การ พ.ศ. 2542
  • 56. พระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้ จัดตั้งสานักงานขึนเรียกว่ า "สานักงานส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง ้ และขนาดย่ อม" และให้ เป็ นนิติบุคคล ภารกิจตามพระราชบัญญัติ ส่ งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม มีวตถุประสงค์ ดงต่ อไปนี้ ั ั 1. กาหนดประเภทและขนาดวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม 2. กาหนดวิสาหกิจที่สมควร ได้รับการส่ งเสริ มรวมทั้งเสนอแนะ นโยบายและแผนการส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม 3. ประสานและจัดทาแผนปฏิบติการส่ งเสริ มวิสาหกิจกับส่ วนราชการ ั หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรื อองค์การเอกชนที่เกี่ยวข้อง 4. ศึกษาและจัดทารายงานสถานการณ์วสาหกิจขนาดกลางและขนาด ิ ย่อมของ ประเทศ 5. เสนอแนะต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการปรับปรุ งพระราชบัญญัติน้ ี
  • 57. 6. บริ หารกองทุนตามนโยบายและมติของคณะกรรมการและ คณะกรรมการ บริ หาร 7. ดาเนินงานธุรการของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ หาร และ คณะ อนุกรรมการ ซึ่ งคณะกรรมการหรื อคณะกรรมการบริ หารแต่งตั้ง 8. ปฏิบติงานอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของ ั สานักงาน หรื อตามที่คณะกรรมการหรื อคณะกรรมการบริ หารมอบหมาย 9. ให้ความอุดหนุนหรื อช่วยเหลือ 10. ให้กยมเงิน เข้าร่ วมกิจการกับบุคคลอื่น หรื อ ถือหุน ู้ ื ้ 11. ร่ วมมือกับหน่วยงานรัฐ ราชการ ทั้งในและต่างประเทศ
  • 58. พระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน บัญญัติถึงสิ ทธิและหน้าที่ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดยกาหนดมาตรฐานขั้นต่าในการใช้แรงงาน การจ่ายค่าตอบแทนการทางานเพื่อให้ลูกจ้างทางาน ด้วยความปลอดภัย มีสูขภาพอนามัยอันดีได้รับต่าตอบแทน และสวัสดิการตามสมควร หมวด 1 บททัวไป ่ มีขอกาหนดสาคัญ กาหนดห้ามมิให้นายจ้างเรี ยกเงินประกันความเสี ยหายยกเว้นงานที่ ้ เกี่ยวกับเงินและทรัพย์สินที่อาจเสี ยหายได้ หนี้เกี่ยวกับการจ้างงานเป็ นหนี้ที่มีบุริมสิ ทธิ์เหนือ ทรัพย์สินทั้งหมดของนายจ้างในระดับเดียวกับบุริมสิ ทธิ์ในค่าภาษีอากร การจ้างงาน จะสิ้นสุดลงเมื่อครบกาหนดระยะเวลา โดยไม่ตองบอกล่วงหน้า ้ ถ้ามีการกาหนด ต้องบอกล่วงหน้า 1 เดือน
  • 59. หมวด 2 ว่ าด้ วยการใช้ แรงงานทัวไป ่ ให้ นายจ้างกาหนดเวลางานปกติไม่เกินวันละ 8 ชัวโมง และไม่เกิน 48 ชัวโมงต่อ สัปดาห์ ่ ่ ให้มีการประกาศวันหยุดตามประเพณี ปี หนึ่งไม่นอยกว่า 13 วัน รวมวันแรงงานแห่ งชาติ ้ ลูกจ้างทางานครบ หนึ่งปี มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจาปี ไม่นอยกว่า หกวันทางาน ้ หมวด 3 ว่ าด้ วยการใช้ แรงงานหญิง - กาหนดประเภทของการทางานที่หามมิให้ลูกจ้างหญิงทางาน ้ - กาหนดการทางานของหญิงมีครรภ์ - สิ ทธิ ลาคลอด หมวด 4 ว่ าด้ วยการใช้ งานแรงงานเด็ก - ห้ามมิให้จางเด็กอายุต่ากว่าสิ บห้าปี เป็ นลูกจ้าง ้ - เด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ต้องแจ้งพนักงานตรวจแรงงาน
  • 60. หมวด 5 ว่ าด้ วยค่ าจ้ าง ค่ าล่ วงเวลา ค่ าทางานในวันหยุด และค่ าล่ วงเวลาในวันหยุด ข้อกาหนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินค่าจ้างในวันหยุด การจ่ายเงินค่าจ้างในวันลาป่ วย รับราชการทหาร คลอดบุตร การจ่ายค่าล่วงเวลา หมวด 6 ว่ าด้ วยคณะกรรมการค่ าจ้ าง ให้ มีคณะกรรมการค่าจ้ างที่ประกอบด้ วยตัวแทนฝ่ ายรัฐบาล ลูกจ้ างและนายจ้ าง กาหนดอัตราค่าจ้ างขั้นตา เสนอความคิดเห็นเกียวกับการพัฒนาระบบค่ าจ้ าง ่ ่ หมวด 7 ว่ าด้ วยสวัสดีการ กาหนดให้ มีคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน เพือเสนอความเห็นต่ อ ครม. ่ เกียวกับนโยบายสวัสดิการแรงงาน ่ ให้ สถานประกอบการมีแรงงานมากกว่า 50 คน จัดให้ มีคณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบการ
  • 61. หมวด 8 ว่ าด้ วยความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน ให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย เพื่อเสนอความเห็นรัฐมนตรี เกี่ยวกับ นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้อง หมวด 9 ว่ าด้ วยการควบคุม กาหนดให้สถานประกอบการที่มีแรงงานมากกว่า 10 คน จัดให้มีขอบังคับการทางาน ้ ที่มีรายละเอียดวันเวลาทางาน วันหยุด การทางานล่วงเวลา การจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา วันลา การ จัดทา ทะเบียนลูกจ้าง เอกสารการจ่ายค่าจ้าง และให้เก็บรักษาทะเบียนไว้อย่างน้อย 2 ปี หมวด 10 ว่ าด้ วยการพักงาน การสอบสวนความผิดลูกจ้างจะพักงานได้ไม่เกิน 7 วัน และต้องจ่ายค่าจ้างร้อยละ 50 ถ้าพบว่าไม่มีความผิดต้องคานวณค่าจ้างจ่ายให้พร้อมดอกเบี้ย
  • 62. หมวด 11 ว่าด้วยค่าชดเชย กาหนดอัตราการจ่ายค่าชดเชยแก่ลูกจ้างซึ่งเลิกจ้าง ทางานครบ 120 วัน จ่ายอัตราสุดท้าย 30 วัน ทางานครบ 1-3 ปี จ่ายเท่ากับ 90 วัน ทางานครบ 3-6 ปี จ่ายเท่ากับ 180 วัน ทางานครบ 6-10 ปี จ่ายเท่ากับ 240 วัน ทางานครบ 10 ปี ขึ้นไปจ่ายเท่ากับ 300 วัน นายจ้างจะไม่จ่ายค่าชดเชยได้เฉพาะกรณี ลูกจ้างทุจริ ต ทาให้เกิดความเสี ยหาย ฝ่ าฝื นข้อบังคับ ละทิ้งหน้าที่เกิน 3 วัน การย้ายที่ทางาน ถ้าลูกจ้างไม่ประสงค์ยาย รับค่าเชยร้อยละ 50 ของค่าชดเชยการเลิก ้ จ้าง การเลิกจ้างเพราะเปลี่ยนกระบวนการผลิดต้องแจ้งล่วงหน้า 60 วัน หมวด 12 ว่าด้วยการยืนข้อเรี ยกร้องและการพิจารณาคาร้อง ่ ลูกจ้างสามารถยืนคาร้องแก่พนักงานตรวจแรงงานเกี่ยวกับการไม่ปฎิบติของนายจ้าง ่ ั
  • 63. หมวด 13 ว่ าด้ วยกองทุนสงเคราะห์ ลูกจ้ าง ให้มีกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้างในกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ้ หมวด 14 ว่ าด้ วยพนักงานตรวจแรงงาน กาหนดอานาจหน้าที่ของพนักงานตรวจแรงงาน หมวด 15 ว่ าด้ วยการส่ งหนังสื อ กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการส่งหนังสื อ คาสังของอธิบดีหรื อพนักงานตรวจแรงงาน ่ หมวด 16 ว่ าด้ วยบทกาหนดโทษ กาหนดโทษของการไม่ปฏิบติตามกฏหมาย ให้มีท้งโทษปรับและโทษจาคุกสูงสุดถึง 1 ปี ั ั