SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ความสาคัญและประโยชน์ของประกันภัย
พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและการประกันชีวิต
จัดทาโดย
น.ส. ชนากานต์ สุขะ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 13
น.ส. ปฐมาวดี ศรีสุข ชั้น ม.6/1 เลขที่ 18
เสนอ
อาจารย์ ศิริรัตน์ นาไทย
ความสาคัญของการประกันภัย
ความสาคัญของการประกันภัย แบ่งได้ดังนี้
1. ความสาคัญของการประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย คือ การให้ความคุ้มครองและ
เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินให้แก่ชีวิตของตนเองและ
ครอบครัว
2. ความสาคัญของการประกันภัยต่อสังคม คือ เป็นหลักประกันความมั่นคงให้แก่ผู้
เอาประกันภัย และช่วยแบ่งเบาภาระของสังคมทาให้เกิดความมั่นใจ หากเกิด
อุบัติภัยและความเสียหายขึ้น ผู้ประสบภัยจะได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. ความสาคัญของการประกันภัยต่อเศรษฐกิจ เงินที่ได้จากการเก็บเบี้ยประกันภัย
เป็นแหล่งเงินทุนที่สาคัญแหล่งหนึ่งของประเทศในการกู้ยืมมาลงทุนทาธุรกิจหรือ
ขยายธุรกิจให้มีความเจริญก้าวหน้า สาหรับธุรกิจที่ทาการประกันภัยจะได้รับความ
คุ้มครองในทรัพย์สินที่ได้ทาประกันภัยไว้ ทาให้เกิดความมั่นคงในกิจการ
ประโยชน์ของการประกันภัย
 ประโยชน์ของการประกันภัย
1. ประโยชน์ต่อผู้เอาประกันภัย ดังนี้
- ให้ความคุ้มครองต่อบุคคล ครอบครัวและทรัพย์สินของผู้เอาประกัน
- ช่วยปลูกฝังให้เกิดนิสัยประหยัดและช่วยให้เกิดการออม
 2. ประโยชน์ต่อธุรกิจ ดังนี้
- ช่วยให้เกิดความมั่นคงในการประกอบธุรกิจ
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ เพราะผู้บริหารไม่ต้อง
เสียเวลาเป็นกังวลเกี่ยวกับการเสี่ยงภัย
- ช่วยในการขยายเครดิต ลดความเสี่ยงของผู้ให้กู้จากหนี้สูญ
- ช่วยให้เกิดเสถียรภาพในต้นทุนการผลิต
- ช่วยส่งเสริมธุรกิจบางประเภทให้เจริญก้าวหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงภัยมาก ๆ
 3. ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม ดังนี้
- ช่วยระดมทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ
- ช่วยลดภาระแก่สังคมและรัฐบาล
การบริหารความเสี่ยงภัย
 การบริหารความเสี่ยงภัย
ความเสี่ยงภัย คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติขึ้น ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่
ก่อให้เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายทั้งทางด้านร่างกายหรือทรัพย์สิน ซึ่ง
ส่งผลให้เกิดการสูญเสียทางการเงิน
ลักษณะของการเสี่ยงภัยที่สามารถจะเอาประกันภัยได้มีดังนี้
 ลักษณะของการเสี่ยงภัยที่สามารถจะเอาประกันภัยได้ มีดังนี้
1. ความเสี่ยงภัยนั้นควรเป็นความเสี่ยงภัยที่แท้จริงและเป็นความเสี่ยงภัยจาเพาะ
2. ความเสี่ยงภัยนั้นจะต้องมีหน่วยที่คล้ายคลึงกันเป็นจานวนมาก
3. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นนั้น ต้องเป็นอุบัติเหตุและไม่ได้เกิดจากการกระทา โดย
เจตนาของผู้เอาประกันภัย
4. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ต้องสามารถหาสาเหตุและประเมินความเสียหายเป็น
ตัวเงินได้
5. ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นต้องไม่เป็นมหันตภัย
6. ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น ผู้เอาประกันต้องมีส่วนได้ส่วนเสียด้วย
7. โอกาสที่จะเกิดความเสียหายต้องคานวณหรือประมาณได้
การหาวิธีจัดการกับความเสี่ยงภัย โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น
 การหาวิธีจัดการกับความเสี่ยงภัย โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น
1. การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัย (RISK AVOIDANCE)
โดยการพยายามหลีกเลี่ยงงานหรือสาเหตุที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายนั้น
2. การลดความเสี่ยงภัย (RISK REDUCTION) ทาได้โดย
การป้องกันการเกิดความเสียหาย จะกระทาก่อนที่จะมีความเสียหายขึ้น เช่น
การตรวจสภาพเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพปลอดภัยอยู่เสมอ
การควบคุมความเสียหาย กระทาในขณะหรือภายหลังจากที่มีความเสียหาย
เกิดขึ้น เช่นการที่เจ้าหน้าที่ดับเพลิงทาการดับเพลิงที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที
การแยกทรัพย์สิน เช่นการตั้งโรงงานและโกดังไว้คนละสถานที่
 3. การรับเสี่ยงภัยไว้เอง (RISK RETENTION)
คือการรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากภัยไว้เอง เนื่องจากภัยบางอย่างอาจเล็กมาก จน
ไม่จาเป็นต้องหาวีจัดการกับความเสี่ยงภัย เช่น ความเสื่อมสภาพของวัสดุสานักงาน
การเอาประกันภัยรถยนต์แบบมีความรับผิดชอบต่อความเสียหายส่วนแรกไม่เกิน
1,000 บาท เป็นต้น
4. การโอนความเสี่ยงภัย (RISKTRANFER)
เป็นวิธีการจัดการกับความเสี่ยงภัยที่ได้รับความนิยมมากที่สุดวิธีหนึ่ง ด้วยการโอน
ความเสี่ยงภัยเกี่ยวกับความเสียหายทางการเงินและความรับผิดต่าง ๆ ไปให้บุคคล
อื่นรับภาระแทน ทาได้ 2 วิธี คือ
 4.1 การโอนความเสี่ยงภัยในรูปแบบของการประกันภัย (INSURANCE
TRANSFER)
4.2 การโอนความเสี่ยงภัยไปให้บุคคลอื่นที่ไม่ใช่การประกันภัย (NON-
INSURANCETRANSFER)
เช่น การจ้างบริษัทอื่นทาความสะอาดภายนอกอาคารสูง ๆ
การประกันภัย สามารถจาแนกได้ดังนี้
 การประกันภัย สามารถจาแนกได้ดังนี้
1. การประกันชีวิต (Life Insurance)
2. การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance)
การประกันชีวิต
เป็นการบรรเทาหรือชดเชยความสูญเสียในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่ทาให้
เกิดการสูญเสียชีวิต หรือสูญเสียความสามารถในการหารายได้ในอนาคต ในรูปแบบ
ของเงินทดแทนที่จ่ายโดยบริษัทประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์
การออมทรัพย์ที่เกิดขึ้นจากการประกันชีวิตเป็นผลจากจานวนเบี้ยประกันภัยที่ผู้เอา
ประกันภัยจะต้องจ่ายเงินจานวนเท่า ๆ กันอย่าสม่าเสมอ
ชนิดของการประกันชีวิต
 ชนิดของการประกันชีวิต
1. ประกันชีวิตแบบช่วงระยะเวลา (Term) เป็นกรมธรรม์ที่มีอายุจากัด บริษัทจะจ่ายเงินสินไหมให้
ผู้รับผลประโยชน์ หากผู้เอาประกันเสียชีวิตในขณะที่กรมธรรม์มีผลบังคับ แต่ไม่มีเงินคืนเมื่อครบอายุ
กรมธรรม์ ตัวอย่างการเลือกประกันประเภทนี้ เช่น เพื่อการประกันความเสี่ยงในการผ่อนบ้าน ถึงแม้ว่า
ผู้ที่เป็นรายได้หลักของครอบครัวเกิดเสียชีวิต สมาชิกในครอบครัวซึ่งเป็นผู้รับประโยชน์ จะได้เงิน
ประกันสาหรับชาระค่าผ่อนต่อโดยไม่มีภาระทางการเงิน
2. ประกันชีวิตแบบออมทรัพย์ (Endowment) เป็นกรมธรรม์ที่มีอายุจากัด บริษัทจะจ่ายเงิน
จานวนหนึ่งให้กับผู้รับผลประโยชน์เมื่อเสียชีวิต แต่หากมีชีวิตครบอายุกรมธรรม์ก็จะมอบเงินจานวน
หนึ่งให้กับผู้เอาประกัน
3. ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ (Wholelife) เป็นการรับประกันชีวิตตลอดอายุผู้เอาประกัน (ในทาง
การค้า 90-99 ปี)
4. ประกันชีวิตแบบบานาญ (Annuity) ล้ายกับแบบออมทรัพย์ โดยบริษัทประกันชีวิตจะเก็บเบี้ย
ประกันจนถึงอายุระดับหนึ่งแล้วทยอยจ่ายคืนเงินให้กับผู้เอาประกัน
และอาจมีความคุ้มครองอื่น ๆ เพิ่มเติมเช่น
การประกันอุบัติเหตุและสูญเสียอวัยวะ (Accident and dismemberment), การ
ประกันกรณีทุพพลภาพ (Total Disability) ,หรือ การประกันสุขภาพ (Health
Insurance)
 การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance)
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1. การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance)
2. การประกันทางทะเลและการขนส่ง (Marine Insurance)
3. การประกันรถยนต์ (Motor Insurance)
4. การประกันเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous)
1. การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance) หมายถึง การประกันภัยที่คุ้มครองทรัพย์สิน
จากภัยไฟไหม้ ฟ้ าผ่า และการระเบิดของแก๊สที่ใช้หุงต้มหรือให้แสงสว่างเพื่อการอยู่อาศัย และยัง
สามารถขยายความคุ้มครองภัยอื่น ๆ ได้อีกด้วย
2. การประกันทางทะเลและการขนส่ง (Marine Insurance) เป็นการประกันภัยที่
คุ้มครองความเสียหายของตัวเรือ และสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่งทั้งภายในและระหว่างประเทศ
3. การประกันรถยนต์ (Motor Insurance)จะให้ความคุ้มครองความเสียหายที่เกิด
ขึ้นกับตัวรถ ผู้ขับขี่รถยนต์และผู้โดยสารที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต บุคคลภายนอกที่ได้รับ
บาดเจ็บหรือเสียชีวิตหรือทรัพย์สินของบุคคลภายนอกที่ได้รับความเสียหายหรือเมื่อรถคันที่เอา
ประกันสูญหาย
การประกันวินาศภัย
การประกันภัยรถยนต์
 การประกันภัยรถยนต์ แบ่งออกเป็น
การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1) การประกันภัยรถยนต์ประเภทหนึ่ง คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตัวรถยนต์
คันที่เอาประกันภัย ความเสียหายที่เกิดจากไฟไหม้หรือรถยนต์ที่ถูกโจรกรรม และ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ซึ่งผู้ขัยขี่รถจะต้องรับผิดชอบ
2) การประกันภัยประเภทสอง คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตัวรถยนต์คันที่เอา
ประกันภัยเฉพาะในกรณีที่มีสาเหตุมาจากไฟไหม้หรือการโจรกรรม และความ
เสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ซึ่งผู้ขับขี่จะต้องรับผิดชอบ
3) การประกันภัยประเภทสาม คุ้มครองเฉพาะความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ
บุคคลภายนอกซึ่งผู้ขับขี่รถจะต้องรับผิดชอบ
4) การประกันภัยประเภทสี่ คุ้มครองความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกเฉพาะความ
รับผิดชอบต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก โดยจานวนเงินคุ้มครองจานวน 100,000
บาท ต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง
การประกันภัยรถภาคบังคับ
 การประกันภัยรถภาคบังคับ (Compulsory Motor
Insurance)
หมายถึงการประกันภัยรถประเภทที่ กฎหมายให้เจ้าของรถซึ่งใช้หรือมีรถไว้
เพื่อใช้ ต้องจัดให้มีการประกันความเสียหายสาหรับ ผู้ประสบภัยโดยประกัน
ภัยกับบริษัทตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยที่ได้รับอนุญาตให้
ประกอบ กิจการประเภทการประกันภัยรถ โดยรัฐบาลมีเจตจานงเพื่อให้เกิด
ความคุ้มครองแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชนที่ประสบภัยเป็นสาคัญ
คาถามความสาคัญและประโยชน์ของประกันภัย
พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและการประกันชีวิต
 1. ความสาคัญของการประกันภัย แบ่งได้กี่อย่าง อะไรบ้าง ?

ก. 1 อย่าง คือ การเอาประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ค. 3 อย่าง คือ 1. การเอาประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย
2.การประกันภัยต่อสังคม
3.การประกันภัยต่อเศรษฐกิจ
ข. 2 อย่าง คือ 1.การเอาประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย
2.การประกันภัยต่อสังคม
คาถามความสาคัญและประโยชน์ของประกันภัย
พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและการประกันชีวิต
 2. การประกันภัยคืออะไร ?

ก. การบรรเทาหรือชดเชยความสูญเสียในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่ทาให้เกิดการ
สูญเสียชีวิตในรูปแบบของเงินทดแทนที่จ่ายโดยบริษัทประกันภัย
ง.การประกันภัยที่คุ้มครองความเสียหาย
ค.กฎหมายให้เจ้าของรถซึ่งใช้หรือมีรถไว้เพื่อใช้ ต้องจัดให้มีการประกันความเสียหาย
สาหรับ
ข. การประกันภัยที่คุ้มครองทรัพย์สินจากภัยไฟไหม้ ฟ้าผ่า
ผิดง่า กลับไปตอบใหม่เด้
ถูกต้องนะคร้าบบบ วัยรุ่นนนน

More Related Content

What's hot

ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยคิง เกอร์
 
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553tiffany14021975
 
การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์KruPor Sirirat Namthai
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรwanarrom
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัยBank Kitsana
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 

What's hot (8)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัยความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย
 
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
ความรู้ด้านการประกันภัย ชุดที่ 2 09072553
 
การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
การประกันภัยรถยนต์
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไร
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
การประกันภัย
การประกันภัยการประกันภัย
การประกันภัย
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 

Similar to คปภ ประกันภัย

งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยDiZz Tang Art Zii
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55nontiya1110
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )Maneerat Amrapal
 
การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)Maneerat Amrapal
 
ทำอย่างไร
ทำอย่างไรทำอย่างไร
ทำอย่างไรtanutta
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชลประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชลNisachon Siwongssa
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61Manow Butnow
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตchakaew4524
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยonchuda
 

Similar to คปภ ประกันภัย (14)

งานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ยงานคอมประก นภ ย
งานคอมประก นภ ย
 
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
ความสำคัญและประโยชน์ของการทำประกันภัย55
 
คปภ
คปภคปภ
คปภ
 
การประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พการประกันภัยตาม พ
การประกันภัยตาม พ
 
การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )การประกันภัย ( คปภ )
การประกันภัย ( คปภ )
 
การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)การประกันภัย (สลุตา)
การประกันภัย (สลุตา)
 
ทำอย่างไร
ทำอย่างไรทำอย่างไร
ทำอย่างไร
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชลประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
ประกันชีวิตและพ.ร.บ นิศาชล
 
น ด
น ดน ด
น ด
 
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
การประกันชีวิต นางสาว ณัฏฐณิชา หุนสนธิ ม.61
 
Doc2
Doc2Doc2
Doc2
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิต
 
การขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัยการขนส่งและประกันภัย
การขนส่งและประกันภัย
 

คปภ ประกันภัย

  • 1. ความสาคัญและประโยชน์ของประกันภัย พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและการประกันชีวิต จัดทาโดย น.ส. ชนากานต์ สุขะ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 13 น.ส. ปฐมาวดี ศรีสุข ชั้น ม.6/1 เลขที่ 18 เสนอ อาจารย์ ศิริรัตน์ นาไทย
  • 2. ความสาคัญของการประกันภัย ความสาคัญของการประกันภัย แบ่งได้ดังนี้ 1. ความสาคัญของการประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย คือ การให้ความคุ้มครองและ เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สินให้แก่ชีวิตของตนเองและ ครอบครัว 2. ความสาคัญของการประกันภัยต่อสังคม คือ เป็นหลักประกันความมั่นคงให้แก่ผู้ เอาประกันภัย และช่วยแบ่งเบาภาระของสังคมทาให้เกิดความมั่นใจ หากเกิด อุบัติภัยและความเสียหายขึ้น ผู้ประสบภัยจะได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 3. ความสาคัญของการประกันภัยต่อเศรษฐกิจ เงินที่ได้จากการเก็บเบี้ยประกันภัย เป็นแหล่งเงินทุนที่สาคัญแหล่งหนึ่งของประเทศในการกู้ยืมมาลงทุนทาธุรกิจหรือ ขยายธุรกิจให้มีความเจริญก้าวหน้า สาหรับธุรกิจที่ทาการประกันภัยจะได้รับความ คุ้มครองในทรัพย์สินที่ได้ทาประกันภัยไว้ ทาให้เกิดความมั่นคงในกิจการ
  • 3. ประโยชน์ของการประกันภัย  ประโยชน์ของการประกันภัย 1. ประโยชน์ต่อผู้เอาประกันภัย ดังนี้ - ให้ความคุ้มครองต่อบุคคล ครอบครัวและทรัพย์สินของผู้เอาประกัน - ช่วยปลูกฝังให้เกิดนิสัยประหยัดและช่วยให้เกิดการออม
  • 4.  2. ประโยชน์ต่อธุรกิจ ดังนี้ - ช่วยให้เกิดความมั่นคงในการประกอบธุรกิจ - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ เพราะผู้บริหารไม่ต้อง เสียเวลาเป็นกังวลเกี่ยวกับการเสี่ยงภัย - ช่วยในการขยายเครดิต ลดความเสี่ยงของผู้ให้กู้จากหนี้สูญ - ช่วยให้เกิดเสถียรภาพในต้นทุนการผลิต - ช่วยส่งเสริมธุรกิจบางประเภทให้เจริญก้าวหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงภัยมาก ๆ
  • 5.  3. ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม ดังนี้ - ช่วยระดมทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ - ช่วยลดภาระแก่สังคมและรัฐบาล
  • 6. การบริหารความเสี่ยงภัย  การบริหารความเสี่ยงภัย ความเสี่ยงภัย คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติขึ้น ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายทั้งทางด้านร่างกายหรือทรัพย์สิน ซึ่ง ส่งผลให้เกิดการสูญเสียทางการเงิน
  • 7. ลักษณะของการเสี่ยงภัยที่สามารถจะเอาประกันภัยได้มีดังนี้  ลักษณะของการเสี่ยงภัยที่สามารถจะเอาประกันภัยได้ มีดังนี้ 1. ความเสี่ยงภัยนั้นควรเป็นความเสี่ยงภัยที่แท้จริงและเป็นความเสี่ยงภัยจาเพาะ 2. ความเสี่ยงภัยนั้นจะต้องมีหน่วยที่คล้ายคลึงกันเป็นจานวนมาก 3. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นนั้น ต้องเป็นอุบัติเหตุและไม่ได้เกิดจากการกระทา โดย เจตนาของผู้เอาประกันภัย 4. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ต้องสามารถหาสาเหตุและประเมินความเสียหายเป็น ตัวเงินได้ 5. ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นต้องไม่เป็นมหันตภัย 6. ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น ผู้เอาประกันต้องมีส่วนได้ส่วนเสียด้วย 7. โอกาสที่จะเกิดความเสียหายต้องคานวณหรือประมาณได้
  • 8. การหาวิธีจัดการกับความเสี่ยงภัย โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น  การหาวิธีจัดการกับความเสี่ยงภัย โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 1. การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัย (RISK AVOIDANCE) โดยการพยายามหลีกเลี่ยงงานหรือสาเหตุที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายนั้น 2. การลดความเสี่ยงภัย (RISK REDUCTION) ทาได้โดย การป้องกันการเกิดความเสียหาย จะกระทาก่อนที่จะมีความเสียหายขึ้น เช่น การตรวจสภาพเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพปลอดภัยอยู่เสมอ การควบคุมความเสียหาย กระทาในขณะหรือภายหลังจากที่มีความเสียหาย เกิดขึ้น เช่นการที่เจ้าหน้าที่ดับเพลิงทาการดับเพลิงที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที การแยกทรัพย์สิน เช่นการตั้งโรงงานและโกดังไว้คนละสถานที่
  • 9.  3. การรับเสี่ยงภัยไว้เอง (RISK RETENTION) คือการรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากภัยไว้เอง เนื่องจากภัยบางอย่างอาจเล็กมาก จน ไม่จาเป็นต้องหาวีจัดการกับความเสี่ยงภัย เช่น ความเสื่อมสภาพของวัสดุสานักงาน การเอาประกันภัยรถยนต์แบบมีความรับผิดชอบต่อความเสียหายส่วนแรกไม่เกิน 1,000 บาท เป็นต้น 4. การโอนความเสี่ยงภัย (RISKTRANFER) เป็นวิธีการจัดการกับความเสี่ยงภัยที่ได้รับความนิยมมากที่สุดวิธีหนึ่ง ด้วยการโอน ความเสี่ยงภัยเกี่ยวกับความเสียหายทางการเงินและความรับผิดต่าง ๆ ไปให้บุคคล อื่นรับภาระแทน ทาได้ 2 วิธี คือ  4.1 การโอนความเสี่ยงภัยในรูปแบบของการประกันภัย (INSURANCE TRANSFER) 4.2 การโอนความเสี่ยงภัยไปให้บุคคลอื่นที่ไม่ใช่การประกันภัย (NON- INSURANCETRANSFER) เช่น การจ้างบริษัทอื่นทาความสะอาดภายนอกอาคารสูง ๆ
  • 10. การประกันภัย สามารถจาแนกได้ดังนี้  การประกันภัย สามารถจาแนกได้ดังนี้ 1. การประกันชีวิต (Life Insurance) 2. การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance) การประกันชีวิต เป็นการบรรเทาหรือชดเชยความสูญเสียในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่ทาให้ เกิดการสูญเสียชีวิต หรือสูญเสียความสามารถในการหารายได้ในอนาคต ในรูปแบบ ของเงินทดแทนที่จ่ายโดยบริษัทประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ การออมทรัพย์ที่เกิดขึ้นจากการประกันชีวิตเป็นผลจากจานวนเบี้ยประกันภัยที่ผู้เอา ประกันภัยจะต้องจ่ายเงินจานวนเท่า ๆ กันอย่าสม่าเสมอ
  • 11. ชนิดของการประกันชีวิต  ชนิดของการประกันชีวิต 1. ประกันชีวิตแบบช่วงระยะเวลา (Term) เป็นกรมธรรม์ที่มีอายุจากัด บริษัทจะจ่ายเงินสินไหมให้ ผู้รับผลประโยชน์ หากผู้เอาประกันเสียชีวิตในขณะที่กรมธรรม์มีผลบังคับ แต่ไม่มีเงินคืนเมื่อครบอายุ กรมธรรม์ ตัวอย่างการเลือกประกันประเภทนี้ เช่น เพื่อการประกันความเสี่ยงในการผ่อนบ้าน ถึงแม้ว่า ผู้ที่เป็นรายได้หลักของครอบครัวเกิดเสียชีวิต สมาชิกในครอบครัวซึ่งเป็นผู้รับประโยชน์ จะได้เงิน ประกันสาหรับชาระค่าผ่อนต่อโดยไม่มีภาระทางการเงิน 2. ประกันชีวิตแบบออมทรัพย์ (Endowment) เป็นกรมธรรม์ที่มีอายุจากัด บริษัทจะจ่ายเงิน จานวนหนึ่งให้กับผู้รับผลประโยชน์เมื่อเสียชีวิต แต่หากมีชีวิตครบอายุกรมธรรม์ก็จะมอบเงินจานวน หนึ่งให้กับผู้เอาประกัน 3. ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ (Wholelife) เป็นการรับประกันชีวิตตลอดอายุผู้เอาประกัน (ในทาง การค้า 90-99 ปี) 4. ประกันชีวิตแบบบานาญ (Annuity) ล้ายกับแบบออมทรัพย์ โดยบริษัทประกันชีวิตจะเก็บเบี้ย ประกันจนถึงอายุระดับหนึ่งแล้วทยอยจ่ายคืนเงินให้กับผู้เอาประกัน และอาจมีความคุ้มครองอื่น ๆ เพิ่มเติมเช่น การประกันอุบัติเหตุและสูญเสียอวัยวะ (Accident and dismemberment), การ ประกันกรณีทุพพลภาพ (Total Disability) ,หรือ การประกันสุขภาพ (Health Insurance)
  • 12.  การประกันวินาศภัย (Non-Life Insurance) แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance) 2. การประกันทางทะเลและการขนส่ง (Marine Insurance) 3. การประกันรถยนต์ (Motor Insurance) 4. การประกันเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous) 1. การประกันอัคคีภัย (Fire Insurance) หมายถึง การประกันภัยที่คุ้มครองทรัพย์สิน จากภัยไฟไหม้ ฟ้ าผ่า และการระเบิดของแก๊สที่ใช้หุงต้มหรือให้แสงสว่างเพื่อการอยู่อาศัย และยัง สามารถขยายความคุ้มครองภัยอื่น ๆ ได้อีกด้วย 2. การประกันทางทะเลและการขนส่ง (Marine Insurance) เป็นการประกันภัยที่ คุ้มครองความเสียหายของตัวเรือ และสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่งทั้งภายในและระหว่างประเทศ 3. การประกันรถยนต์ (Motor Insurance)จะให้ความคุ้มครองความเสียหายที่เกิด ขึ้นกับตัวรถ ผู้ขับขี่รถยนต์และผู้โดยสารที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต บุคคลภายนอกที่ได้รับ บาดเจ็บหรือเสียชีวิตหรือทรัพย์สินของบุคคลภายนอกที่ได้รับความเสียหายหรือเมื่อรถคันที่เอา ประกันสูญหาย การประกันวินาศภัย
  • 13. การประกันภัยรถยนต์  การประกันภัยรถยนต์ แบ่งออกเป็น การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1) การประกันภัยรถยนต์ประเภทหนึ่ง คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตัวรถยนต์ คันที่เอาประกันภัย ความเสียหายที่เกิดจากไฟไหม้หรือรถยนต์ที่ถูกโจรกรรม และ ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ซึ่งผู้ขัยขี่รถจะต้องรับผิดชอบ 2) การประกันภัยประเภทสอง คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับตัวรถยนต์คันที่เอา ประกันภัยเฉพาะในกรณีที่มีสาเหตุมาจากไฟไหม้หรือการโจรกรรม และความ เสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ซึ่งผู้ขับขี่จะต้องรับผิดชอบ 3) การประกันภัยประเภทสาม คุ้มครองเฉพาะความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ บุคคลภายนอกซึ่งผู้ขับขี่รถจะต้องรับผิดชอบ 4) การประกันภัยประเภทสี่ คุ้มครองความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกเฉพาะความ รับผิดชอบต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก โดยจานวนเงินคุ้มครองจานวน 100,000 บาท ต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง
  • 14. การประกันภัยรถภาคบังคับ  การประกันภัยรถภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance) หมายถึงการประกันภัยรถประเภทที่ กฎหมายให้เจ้าของรถซึ่งใช้หรือมีรถไว้ เพื่อใช้ ต้องจัดให้มีการประกันความเสียหายสาหรับ ผู้ประสบภัยโดยประกัน ภัยกับบริษัทตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบ กิจการประเภทการประกันภัยรถ โดยรัฐบาลมีเจตจานงเพื่อให้เกิด ความคุ้มครองแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชนที่ประสบภัยเป็นสาคัญ
  • 15. คาถามความสาคัญและประโยชน์ของประกันภัย พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและการประกันชีวิต  1. ความสาคัญของการประกันภัย แบ่งได้กี่อย่าง อะไรบ้าง ?  ก. 1 อย่าง คือ การเอาประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง ค. 3 อย่าง คือ 1. การเอาประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย 2.การประกันภัยต่อสังคม 3.การประกันภัยต่อเศรษฐกิจ ข. 2 อย่าง คือ 1.การเอาประกันภัยต่อผู้เอาประกันภัย 2.การประกันภัยต่อสังคม
  • 16. คาถามความสาคัญและประโยชน์ของประกันภัย พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและการประกันชีวิต  2. การประกันภัยคืออะไร ?  ก. การบรรเทาหรือชดเชยความสูญเสียในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่ทาให้เกิดการ สูญเสียชีวิตในรูปแบบของเงินทดแทนที่จ่ายโดยบริษัทประกันภัย ง.การประกันภัยที่คุ้มครองความเสียหาย ค.กฎหมายให้เจ้าของรถซึ่งใช้หรือมีรถไว้เพื่อใช้ ต้องจัดให้มีการประกันความเสียหาย สาหรับ ข. การประกันภัยที่คุ้มครองทรัพย์สินจากภัยไฟไหม้ ฟ้าผ่า