SlideShare a Scribd company logo
1
ทัฬหธัมมชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๔. ทัฬหธัมมชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๙)
ว่าด้วยพระเจ้าทัฬหธรรม
(ช้างกล่าวกับพระโพธิสัตว์ว่า)
[๙๘] ถึงหากข้าพเจ้าจะขนลูกศรผูกติดที่อก
ไปเผชิญหน้ากับศัตรูในสนามรบ ก็หาได้ทาให้พระเจ้าทัฬหธรรมโปรดปรานไม่
[๙๙] หน้าที่ทหารอันเกรียงไกรและการรับใช้สื่อสาร
ที่ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติเป็นอย่างดีในสงคราม พระราชามิได้ทรงทราบแน่
[๑๐๐] ข้าพเจ้านั้นคงจะต้องตายอย่างขาดพวกพ้อง ไร้ที่พึ่งอาศัยแน่
จะเห็นได้ดังที่พระราชทานข้าพเจ้าแก่นายช่างหม้อ ให้ทาหน้าที่ขนอุจจาระ
(พระโพธิสัตว์กราบทูลพระราชาว่า)
[๑๐๑] บุคคลบางคนยังหวังประโยชน์อยู่ตราบใด
ก็ยังคบหากันอยู่ตราบนั้น เมื่อไร้ประโยชน์ พวกคนโง่ก็ทอดทิ้งเขาไป
เหมือนกษัตริย์ทรงทอดทิ้งช้างพังชื่อโอฏฐีพยาธิ
[๑๐๒] ผู้ใดเขาทาความดี ทาประโยชน์ให้ก่อน
ก็ไม่รู้จักคุณประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาก็ย่อมฉิบหายไป
[๑๐๓] ผู้ใดเขาทาความดี ทาประโยชน์ให้ก่อน ก็รู้จักคุณอยู่เสมอ
ประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาก็ย่อมเจริญยิ่งขึ้น
[๑๐๔] เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขอกราบทูลพระองค์
ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ ตลอดทั้งประชาชนที่มาประชุมกัน ณ ที่นี้
ขอท่านทุกคนจงเป็ นผู้กตัญญู จงดารงอยู่ในสวรรค์สิ้นกาลนาน
ทัฬหธัมมชาดกที่ ๔ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ทัฬหธรรมชาดก
ว่าด้วย ความกตัญญู
พระศาสดา เมื่อเสด็จเข้าไปอาศัยเมืองโกสัมพี ประทับอยู่ ณ
โฆสิตาราม ทรงปรารภช้างพังต้นชื่อภัททวดีของพระเจ้าอุเทน แล้วจึงตรัสเรื่องนี้
ดังนี้.
ส่วนวิธีที่พระเจ้าอุเทนทรงได้ช้างพังต้นตัวนั้นก็ดี
ราชวงศ์ของพระเจ้าอุเทนก็ดี จักมีแจ้งในมาตังคชาดก.
ก็วันหนึ่ง ช้างพังต้นเดินออกจากพระนครไป
ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า มีหมู่พระอริยะห้อมล้อม
2
เสด็จเข้าไปในพระนครด้วยพุทธสิริ หาที่เปรียบมิได้เพื่อบิณฑบาตแต่เช้า
จึงหมอบลงแทบบาทมูลของพระพุทธเจ้า ทูลขอพระผู้มีพระภาคเจ้า
โอดครวญไปพลางว่า
ข้าแต่พระสรรเพชญผู้ทรงภาคยธรรม ผู้ทรงช่วยเหลือสัตวโลกทั้งมวล.
พระเจ้าอุเทนทรงโปรดปรานหม่อมฉัน
ในเวลาที่หม่อมฉันยังสามารถช่วยราชการได้ ในเวลายังรุ่นโดยทรงเห็นว่า
ตนเองได้ชีวิตได้ราชสมบัติและพระราชเทวีมาโดยอาศัยหม่อมฉัน
จึงได้พระราชทานการเลี้ยงดูมากมาย
ทรงตกแต่งที่อยู่ประดับประดาด้วยเครื่องอลังการทั้งหลาย
รับสั่งให้ทาการประพรมด้วยของหอม
ทรงให้ติดเพดานประดับดาวทองไว้เบื้องบน ให้กั้นม่านที่วิจิตรไว้โดยรอบ
ให้ตามประทีปด้วยน้ามันเจือด้วยของหอม ให้ตั้งกระถางอบควันไว้
ให้วางกระถางทองไว้ในที่สาหรับเทคูถแล้ว
ให้หม่อมฉันยืนอยู่บนแท่นที่มีเครื่องลาดอันวิจิตร
และได้พระราชทานเครื่องกินที่มีรสเลิศนานาชนิดแก่หม่อมฉัน.
แต่บัดนี้ เวลาหม่อมฉันไม่สามารถช่วยราชการได้ในเวลาแก่
พระองค์ทรงงดการบารุงนั้นทุกอย่าง. หม่อมฉันไม่มีที่พึ่ง
เป็นผู้ไม่มีปัจจัยเครื่องอาศัย หากินต้นลาเจียกในป่าเลี้ยงชีพ
หม่อมฉันไม่มีที่พึ่งอย่างอื่น
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ขอพระองค์จงทรงให้
พระเจ้าอุเทนทรงราลึกถึงคุณความดีของหม่อมฉัน
แล้วทรงกระทาการบารุงอย่างเดิม กลับเป็นปกติแก่หม่อมฉัน.
พระศาสดาตรัสว่า เจ้าจงไปเถิด เราตถาคตจักทูลพระราชา
แล้วแต่งตั้งยศให้กลับเป็นปกติ แล้วได้เสด็จไปประตูพระราชนิเวศน์.
พระราชาได้ให้พระตถาคตเจ้าเสด็จเข้าไปในพระราชนิเวศน์ของพระ
องค์ แล้วทรงถวายมหาทานแด่พระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข.
พระศาสดา เมื่อทรงทาอนุโมทนาในเวลาเสร็จภัตกิจ
แล้วได้ตรัสถามว่า ดูก่อนบพิตรมหาราช พังต้นภัททวดีอยู่ที่ไหน พระราชาทูลว่า
ไม่ทราบ พระพุทธเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสถึงคุณความดีของพังภัททวดี ว่า ดูก่อนบพิตรมหาราช
ขึ้นชื่อว่าการพระราชทานยศแก่ผู้มีอุปการคุณ แล้วทรงทอดทิ้งในเวลาแก่
ย่อมไม่ควร ควรจะเป็นผู้มีกตัญญูกตเวที.
พังต้นภัททวดี บัดนี้แก่ทรุดโทรมมาก เป็นสัตว์อนาถา
หากินต้นลาเจียกในป่าประทังชีวิตอยู่ การทาให้เขาไร้ที่พึ่งในเวลาแก่
ไม่เหมาะสมแก่พระองค์ แล้วตรัสว่า
3
ขอพระองค์จงทรงทาการบารุงอย่างเดิมทุกอย่างให้เป็นปกติ
ดังนี้แล้วจึงเสด็จหลีกไป.
พระราชาได้ทรงกระทาอย่างนั้น.
เสียงเล่าลือได้กระจายไปทั่วพระนครว่า ได้ทราบว่า
พระตถาคตเจ้าตรัสถึงคุณความดีของพังต้นภัททวดี
แล้วทรงให้พระราชาแต่งตั้งยศเก่าให้กลับคืนตามปกติ.
แม้ในหมู่พระสงฆ์ประวัตินั้นก็ปรากฏขึ้น
จึงภิกษุทั้งหลายพากันตั้งเรื่องสนทนากันในธรรมสภาว่า ท่านผู้มีอายุ ได้ทราบว่า
พระศาสดาตรัสถึงคุณความดีของพังต้นภัททวดี
แล้วทรงให้พระเจ้าอุเทนทรงแต่งตั้งยศเก่าให้กลับคืนตามปกติ.
พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ?
เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่าด้วยเรื่องชื่อนี้ แล้วตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลายไม่ใช่ในเวลานี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน
ตถาคตก็กล่าวถึงคุณความดีของพังต้นภัททวดีนี้
แล้วให้พระราชาทรงแต่งตั้งยศตามปกติเหมือนกัน ดังนี้.
แล้วได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล
พระราชาทรงพระนามว่า ทัฬหธรรม เสวยราชสมบัติในนครพาราณสี.
ครั้งนั้น พระโพธิสัตว์ถือกาเนิดในตระกูลอามาตย์
เติบโตแล้วได้รับใช้เป็นมหาดเล็ก พระราชาพระองค์นั้น. ท่านได้ยศสูง
ได้ดารงอยู่ในตาแหน่งรัตนอามาตย์จากราชสานักนั้น.
กาลครั้งนั้น
พระราชาพระองค์นั้นทรงมีช้างพังต้นเชือกหนึ่งชื่อ โอฏฐิพยาธิ มีกาลังวังชามาก
วันหนึ่งเดินทางได้ร้อยโยชน์ ทาหน้าที่นาสิ่งของที่ต้องส่งไปถวายพระราชา
คือสื่อสาร ในสงครามทายุทธหัตถี ทาการย่ายีศัตรู. พระราชาทรงดาริว่า
ช้างพังเชือกนี้มีอุปการะแก่เรามาก จึงพระราชทานเครื่องอลังการ
คือคชาภรณ์ทุกอย่างแก่พังต้นเชือกนั้น แล้วได้พระราชทานการบารุงทุกอย่าง
เช่นกับที่พระเจ้าอุเทนพระราชทานแก่พังต้นภัททวดี.
ภายหลังเวลาพังต้นโอฎฐิพยาธินั้นแก่แล้วหมดกาลัง
ทรงยึดยศทุกอย่างคืน. ต่อแต่นั้นมา มันก็กลายเป็นช้างอนาถา
หากินหญ้าและใบไม้ในป่าประทังชีวิตอยู่.
อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อภาชนะไม่พอใช้ในราชตระกูล
จึงรับสั่งให้หาช่างหม้อเข้าเฝ้ า แล้วตรัสว่า ได้ทราบว่าภาชนะไม่พอใช้
ช่างจึงทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ข้าพระองค์หาโคเทียมเกวียนเข็นโคมัยไม่ได้
4
พระพุทธเจ้าข้า. พระราชาทรงสดับคาของช่างแล้ว จึงตรัสถามว่า
พังต้นโอฏฐิพยาธิของเราอยู่ที่ไหน? อามาตย์จึงทูลว่า
เที่ยวไปตามธรรมดาของตนพระพุทธเจ้าข้า.
พระราชาได้พระราชทานพังต้นเชือกนั้นแก่ช่างหม้อด้วยพระดารัสว่า
ต่อแต่นี้ไปจงเทียมพังต้นเชือกนั้นเข็นโคมัย. ช่างหม้อรับพระดารัสว่า ดีแล้ว
พระพุทธเจ้าข้า แล้วได้ทาอย่างนั้น.
อยู่มาวันหนึ่ง
มันออกจากพระนครไปเห็นพระโพธิสัตว์กาลังเข้าพระนคร
จบแล้วหมอบแทบเท้าของท่าน โอดครวญพลางกล่าวว่า ข้าแต่นาย
พระราชาทรงกาหนดรู้ฉันว่ามีอุปการะมาก ในเวลายังรุ่น ได้พระราชทานยศสูง
แต่บัดนี้ เวลาฉันแก่ งดหมดทุกอย่าง ไม่ทรงทาแม้แต่การคิดถึงฉัน ฉันไม่มีที่พึ่ง
จึงเที่ยวหากินหญ้าและใบไม้ประทังชีวิตอยู่
บัดนี้ได้พระราชทานฉันผู้ตกยากอย่างนี้ให้ช่างหม้อ เพื่อเทียมยานน้อย
เว้นท่านแล้วผู้อื่นที่จะเป็ นที่พึ่งของฉันไม่มี
ท่านรู้อุปการะที่ฉันทาแก่พระราชาแล้ว ได้โปรดเถิด
ขอท่านจงทายศของฉันที่เสื่อมไปแล้วให้กลับคืนมาตามปกติเถิด
แล้วได้กล่าวคาถา ๓ คาถาว่า :-
ก็ฉันเมื่อนาพาราชกิจของพระเจ้าทัฬหธรรม ได้คาดลูกศรไว้ที่หน้าอก
มีปกติประพฤติความกล้าหาญในการรบ ก็ไม่ยังพระองค์ให้โปรดปรานได้.
พระราชาไม่ทรงทราบความเพียรของลูกผู้ชายของฉัน
และการสื่อสารที่ฉันทาได้อย่างดีในสงคราม เป็นแน่.
ฉันนั้นไม่มีพวกพ้อง ไม่มีที่พึ่ง จักตายแน่ๆ มิหนาซ้า
พระราชายังได้พระราชทานฉันแก่ช่างหม้อ ให้เป็นผู้ขนมูลสัตว์โคมัย.
พระโพธิสัตว์สดับถ้อยคาของเขาแล้วจึงปลอบใจว่า
เจ้าอย่าโศกเศร้าไปเลย ฉันจักทูลพระราชาแล้วให้พระราชทานยศตามปกติ
แล้วเข้าไปพระนคร รับประทานอาหารเข้าแล้วไปราชสานัก ยกเรื่องขึ้นทูลถามว่า
ข้าแต่มหาราชเจ้า พระองค์ทรงมีช้างพังต้นชื่อโอฏฐิพยาธิ มิใช่หรือ?
เขาผูกหลาวไว้ที่หน้าอกแล้วช่วยสงครามในที่โน้นและในที่โน้น
วันโน้นถูกผูกหนังสือ คือสารที่คอแล้วส่งไปสื่อสาร ได้เดินทางไปร้อยโยชน์.
ฝ่ายพระองค์ก็ได้พระราชทานยศแก่เขามาก บัดนี้ เขาอยู่ที่ไหน?
พระราชาตรัสตอบว่า เราได้ให้เขาแก่ช้างหม้อ เพื่อเข็นโคมัยแล้ว.
ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์จึงทูลพระองค์ว่า ข้าแต่มหาราช
การพระราชทานแก่ช่างหม้อ เพื่อให้เทียมล้อ
ที่พระองค์ทรงทาแล้วไม่สมควรเลย.
แล้วได้ภาษิตคาถา ๔ คาถา โดยการถวายโอวาทพระราชาว่า :-
5
คนยังมีหวังอยู่ตราบใด ตราบนั้นก็ยังคบหากันอยู่
เมื่อเขาเสื่อมจากประโยชน์ คนโง่ทั้งหลาย ก็จะทอดทิ้งเขา
เหมือนขัตติยราชทรงทอดทิ้งช้างพังต้นฉะนั้น.
ผู้ใดที่ผู้อื่นทาความดีให้ก่อน สาเร็จประโยชน์ที่ต้องการแล้ว
ย่อมไม่รู้คุณ ประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาแล้วของผู้นั้นจะเสื่อมสลายไป.
ส่วนผู้ใด ที่คนอื่นทาความดีให้แล้ว สาเร็จประโยชน์ที่ต้องการแล้ว
ก็ยังรู้คุณ ประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาแล้ว ของผู้นั้นจะเพิ่มพูนขึ้น.
เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าขอบอกท่านทั้งหลาย
ขอความเจริญจงมีแก่ท่านทั้งหลาย มีจานวนที่มาประชุมกัน ณ ที่นี้.
ขอท่านทุกคนจงเป็ นผู้รู้คุณที่ผู้อื่นทาแล้วแก่ตน ท่านทั้งหลายจักสถิตอยู่ในสวรรค์
ตลอดกาลนาน.
พระมหาสัตว์ได้ให้โอวาทแก่คนทั้งหมด
ตั้งต้นแต่พระราชาที่มาประชุมกันแล้ว.
พระราชาทรงสดับโอวาทนั้นแล้วได้ทรงแต่งตั้งยศให้ช้างพังต้นโอฏฐิ
พยาธิตามปกติ พระองค์ทรงดารงอยู่ในโอวาทของพระโพธิสัตว์แล้ว
ทรงบาเพ็ญบุญมีทานเป็นต้น ตลอดกาลนานแล้ว
ได้มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
ทรงประชุมชาดกไว้ว่า
ช้างพังต้นชื่อโอฏฐิพยาธิในครั้งนั้น ได้แก่ พังภัททวดี ในบัดนี้
พระราชา ได้แก่ พระอานนท์
ส่วนอามาตย์ ได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาทัฬหธัมมชาดกที่ ๔
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

409 ทัฬหธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ทัฬหธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๔. ทัฬหธัมมชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๙) ว่าด้วยพระเจ้าทัฬหธรรม (ช้างกล่าวกับพระโพธิสัตว์ว่า) [๙๘] ถึงหากข้าพเจ้าจะขนลูกศรผูกติดที่อก ไปเผชิญหน้ากับศัตรูในสนามรบ ก็หาได้ทาให้พระเจ้าทัฬหธรรมโปรดปรานไม่ [๙๙] หน้าที่ทหารอันเกรียงไกรและการรับใช้สื่อสาร ที่ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติเป็นอย่างดีในสงคราม พระราชามิได้ทรงทราบแน่ [๑๐๐] ข้าพเจ้านั้นคงจะต้องตายอย่างขาดพวกพ้อง ไร้ที่พึ่งอาศัยแน่ จะเห็นได้ดังที่พระราชทานข้าพเจ้าแก่นายช่างหม้อ ให้ทาหน้าที่ขนอุจจาระ (พระโพธิสัตว์กราบทูลพระราชาว่า) [๑๐๑] บุคคลบางคนยังหวังประโยชน์อยู่ตราบใด ก็ยังคบหากันอยู่ตราบนั้น เมื่อไร้ประโยชน์ พวกคนโง่ก็ทอดทิ้งเขาไป เหมือนกษัตริย์ทรงทอดทิ้งช้างพังชื่อโอฏฐีพยาธิ [๑๐๒] ผู้ใดเขาทาความดี ทาประโยชน์ให้ก่อน ก็ไม่รู้จักคุณประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาก็ย่อมฉิบหายไป [๑๐๓] ผู้ใดเขาทาความดี ทาประโยชน์ให้ก่อน ก็รู้จักคุณอยู่เสมอ ประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาก็ย่อมเจริญยิ่งขึ้น [๑๐๔] เพราะเหตุนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขอกราบทูลพระองค์ ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ ตลอดทั้งประชาชนที่มาประชุมกัน ณ ที่นี้ ขอท่านทุกคนจงเป็ นผู้กตัญญู จงดารงอยู่ในสวรรค์สิ้นกาลนาน ทัฬหธัมมชาดกที่ ๔ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ทัฬหธรรมชาดก ว่าด้วย ความกตัญญู พระศาสดา เมื่อเสด็จเข้าไปอาศัยเมืองโกสัมพี ประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม ทรงปรารภช้างพังต้นชื่อภัททวดีของพระเจ้าอุเทน แล้วจึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ส่วนวิธีที่พระเจ้าอุเทนทรงได้ช้างพังต้นตัวนั้นก็ดี ราชวงศ์ของพระเจ้าอุเทนก็ดี จักมีแจ้งในมาตังคชาดก. ก็วันหนึ่ง ช้างพังต้นเดินออกจากพระนครไป ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า มีหมู่พระอริยะห้อมล้อม
  • 2. 2 เสด็จเข้าไปในพระนครด้วยพุทธสิริ หาที่เปรียบมิได้เพื่อบิณฑบาตแต่เช้า จึงหมอบลงแทบบาทมูลของพระพุทธเจ้า ทูลขอพระผู้มีพระภาคเจ้า โอดครวญไปพลางว่า ข้าแต่พระสรรเพชญผู้ทรงภาคยธรรม ผู้ทรงช่วยเหลือสัตวโลกทั้งมวล. พระเจ้าอุเทนทรงโปรดปรานหม่อมฉัน ในเวลาที่หม่อมฉันยังสามารถช่วยราชการได้ ในเวลายังรุ่นโดยทรงเห็นว่า ตนเองได้ชีวิตได้ราชสมบัติและพระราชเทวีมาโดยอาศัยหม่อมฉัน จึงได้พระราชทานการเลี้ยงดูมากมาย ทรงตกแต่งที่อยู่ประดับประดาด้วยเครื่องอลังการทั้งหลาย รับสั่งให้ทาการประพรมด้วยของหอม ทรงให้ติดเพดานประดับดาวทองไว้เบื้องบน ให้กั้นม่านที่วิจิตรไว้โดยรอบ ให้ตามประทีปด้วยน้ามันเจือด้วยของหอม ให้ตั้งกระถางอบควันไว้ ให้วางกระถางทองไว้ในที่สาหรับเทคูถแล้ว ให้หม่อมฉันยืนอยู่บนแท่นที่มีเครื่องลาดอันวิจิตร และได้พระราชทานเครื่องกินที่มีรสเลิศนานาชนิดแก่หม่อมฉัน. แต่บัดนี้ เวลาหม่อมฉันไม่สามารถช่วยราชการได้ในเวลาแก่ พระองค์ทรงงดการบารุงนั้นทุกอย่าง. หม่อมฉันไม่มีที่พึ่ง เป็นผู้ไม่มีปัจจัยเครื่องอาศัย หากินต้นลาเจียกในป่าเลี้ยงชีพ หม่อมฉันไม่มีที่พึ่งอย่างอื่น ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ขอพระองค์จงทรงให้ พระเจ้าอุเทนทรงราลึกถึงคุณความดีของหม่อมฉัน แล้วทรงกระทาการบารุงอย่างเดิม กลับเป็นปกติแก่หม่อมฉัน. พระศาสดาตรัสว่า เจ้าจงไปเถิด เราตถาคตจักทูลพระราชา แล้วแต่งตั้งยศให้กลับเป็นปกติ แล้วได้เสด็จไปประตูพระราชนิเวศน์. พระราชาได้ให้พระตถาคตเจ้าเสด็จเข้าไปในพระราชนิเวศน์ของพระ องค์ แล้วทรงถวายมหาทานแด่พระสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข. พระศาสดา เมื่อทรงทาอนุโมทนาในเวลาเสร็จภัตกิจ แล้วได้ตรัสถามว่า ดูก่อนบพิตรมหาราช พังต้นภัททวดีอยู่ที่ไหน พระราชาทูลว่า ไม่ทราบ พระพุทธเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสถึงคุณความดีของพังภัททวดี ว่า ดูก่อนบพิตรมหาราช ขึ้นชื่อว่าการพระราชทานยศแก่ผู้มีอุปการคุณ แล้วทรงทอดทิ้งในเวลาแก่ ย่อมไม่ควร ควรจะเป็นผู้มีกตัญญูกตเวที. พังต้นภัททวดี บัดนี้แก่ทรุดโทรมมาก เป็นสัตว์อนาถา หากินต้นลาเจียกในป่าประทังชีวิตอยู่ การทาให้เขาไร้ที่พึ่งในเวลาแก่ ไม่เหมาะสมแก่พระองค์ แล้วตรัสว่า
  • 3. 3 ขอพระองค์จงทรงทาการบารุงอย่างเดิมทุกอย่างให้เป็นปกติ ดังนี้แล้วจึงเสด็จหลีกไป. พระราชาได้ทรงกระทาอย่างนั้น. เสียงเล่าลือได้กระจายไปทั่วพระนครว่า ได้ทราบว่า พระตถาคตเจ้าตรัสถึงคุณความดีของพังต้นภัททวดี แล้วทรงให้พระราชาแต่งตั้งยศเก่าให้กลับคืนตามปกติ. แม้ในหมู่พระสงฆ์ประวัตินั้นก็ปรากฏขึ้น จึงภิกษุทั้งหลายพากันตั้งเรื่องสนทนากันในธรรมสภาว่า ท่านผู้มีอายุ ได้ทราบว่า พระศาสดาตรัสถึงคุณความดีของพังต้นภัททวดี แล้วทรงให้พระเจ้าอุเทนทรงแต่งตั้งยศเก่าให้กลับคืนตามปกติ. พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่าด้วยเรื่องชื่อนี้ แล้วตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายไม่ใช่ในเวลานี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน ตถาคตก็กล่าวถึงคุณความดีของพังต้นภัททวดีนี้ แล้วให้พระราชาทรงแต่งตั้งยศตามปกติเหมือนกัน ดังนี้. แล้วได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล พระราชาทรงพระนามว่า ทัฬหธรรม เสวยราชสมบัติในนครพาราณสี. ครั้งนั้น พระโพธิสัตว์ถือกาเนิดในตระกูลอามาตย์ เติบโตแล้วได้รับใช้เป็นมหาดเล็ก พระราชาพระองค์นั้น. ท่านได้ยศสูง ได้ดารงอยู่ในตาแหน่งรัตนอามาตย์จากราชสานักนั้น. กาลครั้งนั้น พระราชาพระองค์นั้นทรงมีช้างพังต้นเชือกหนึ่งชื่อ โอฏฐิพยาธิ มีกาลังวังชามาก วันหนึ่งเดินทางได้ร้อยโยชน์ ทาหน้าที่นาสิ่งของที่ต้องส่งไปถวายพระราชา คือสื่อสาร ในสงครามทายุทธหัตถี ทาการย่ายีศัตรู. พระราชาทรงดาริว่า ช้างพังเชือกนี้มีอุปการะแก่เรามาก จึงพระราชทานเครื่องอลังการ คือคชาภรณ์ทุกอย่างแก่พังต้นเชือกนั้น แล้วได้พระราชทานการบารุงทุกอย่าง เช่นกับที่พระเจ้าอุเทนพระราชทานแก่พังต้นภัททวดี. ภายหลังเวลาพังต้นโอฎฐิพยาธินั้นแก่แล้วหมดกาลัง ทรงยึดยศทุกอย่างคืน. ต่อแต่นั้นมา มันก็กลายเป็นช้างอนาถา หากินหญ้าและใบไม้ในป่าประทังชีวิตอยู่. อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อภาชนะไม่พอใช้ในราชตระกูล จึงรับสั่งให้หาช่างหม้อเข้าเฝ้ า แล้วตรัสว่า ได้ทราบว่าภาชนะไม่พอใช้ ช่างจึงทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ข้าพระองค์หาโคเทียมเกวียนเข็นโคมัยไม่ได้
  • 4. 4 พระพุทธเจ้าข้า. พระราชาทรงสดับคาของช่างแล้ว จึงตรัสถามว่า พังต้นโอฏฐิพยาธิของเราอยู่ที่ไหน? อามาตย์จึงทูลว่า เที่ยวไปตามธรรมดาของตนพระพุทธเจ้าข้า. พระราชาได้พระราชทานพังต้นเชือกนั้นแก่ช่างหม้อด้วยพระดารัสว่า ต่อแต่นี้ไปจงเทียมพังต้นเชือกนั้นเข็นโคมัย. ช่างหม้อรับพระดารัสว่า ดีแล้ว พระพุทธเจ้าข้า แล้วได้ทาอย่างนั้น. อยู่มาวันหนึ่ง มันออกจากพระนครไปเห็นพระโพธิสัตว์กาลังเข้าพระนคร จบแล้วหมอบแทบเท้าของท่าน โอดครวญพลางกล่าวว่า ข้าแต่นาย พระราชาทรงกาหนดรู้ฉันว่ามีอุปการะมาก ในเวลายังรุ่น ได้พระราชทานยศสูง แต่บัดนี้ เวลาฉันแก่ งดหมดทุกอย่าง ไม่ทรงทาแม้แต่การคิดถึงฉัน ฉันไม่มีที่พึ่ง จึงเที่ยวหากินหญ้าและใบไม้ประทังชีวิตอยู่ บัดนี้ได้พระราชทานฉันผู้ตกยากอย่างนี้ให้ช่างหม้อ เพื่อเทียมยานน้อย เว้นท่านแล้วผู้อื่นที่จะเป็ นที่พึ่งของฉันไม่มี ท่านรู้อุปการะที่ฉันทาแก่พระราชาแล้ว ได้โปรดเถิด ขอท่านจงทายศของฉันที่เสื่อมไปแล้วให้กลับคืนมาตามปกติเถิด แล้วได้กล่าวคาถา ๓ คาถาว่า :- ก็ฉันเมื่อนาพาราชกิจของพระเจ้าทัฬหธรรม ได้คาดลูกศรไว้ที่หน้าอก มีปกติประพฤติความกล้าหาญในการรบ ก็ไม่ยังพระองค์ให้โปรดปรานได้. พระราชาไม่ทรงทราบความเพียรของลูกผู้ชายของฉัน และการสื่อสารที่ฉันทาได้อย่างดีในสงคราม เป็นแน่. ฉันนั้นไม่มีพวกพ้อง ไม่มีที่พึ่ง จักตายแน่ๆ มิหนาซ้า พระราชายังได้พระราชทานฉันแก่ช่างหม้อ ให้เป็นผู้ขนมูลสัตว์โคมัย. พระโพธิสัตว์สดับถ้อยคาของเขาแล้วจึงปลอบใจว่า เจ้าอย่าโศกเศร้าไปเลย ฉันจักทูลพระราชาแล้วให้พระราชทานยศตามปกติ แล้วเข้าไปพระนคร รับประทานอาหารเข้าแล้วไปราชสานัก ยกเรื่องขึ้นทูลถามว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า พระองค์ทรงมีช้างพังต้นชื่อโอฏฐิพยาธิ มิใช่หรือ? เขาผูกหลาวไว้ที่หน้าอกแล้วช่วยสงครามในที่โน้นและในที่โน้น วันโน้นถูกผูกหนังสือ คือสารที่คอแล้วส่งไปสื่อสาร ได้เดินทางไปร้อยโยชน์. ฝ่ายพระองค์ก็ได้พระราชทานยศแก่เขามาก บัดนี้ เขาอยู่ที่ไหน? พระราชาตรัสตอบว่า เราได้ให้เขาแก่ช้างหม้อ เพื่อเข็นโคมัยแล้ว. ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์จึงทูลพระองค์ว่า ข้าแต่มหาราช การพระราชทานแก่ช่างหม้อ เพื่อให้เทียมล้อ ที่พระองค์ทรงทาแล้วไม่สมควรเลย. แล้วได้ภาษิตคาถา ๔ คาถา โดยการถวายโอวาทพระราชาว่า :-
  • 5. 5 คนยังมีหวังอยู่ตราบใด ตราบนั้นก็ยังคบหากันอยู่ เมื่อเขาเสื่อมจากประโยชน์ คนโง่ทั้งหลาย ก็จะทอดทิ้งเขา เหมือนขัตติยราชทรงทอดทิ้งช้างพังต้นฉะนั้น. ผู้ใดที่ผู้อื่นทาความดีให้ก่อน สาเร็จประโยชน์ที่ต้องการแล้ว ย่อมไม่รู้คุณ ประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาแล้วของผู้นั้นจะเสื่อมสลายไป. ส่วนผู้ใด ที่คนอื่นทาความดีให้แล้ว สาเร็จประโยชน์ที่ต้องการแล้ว ก็ยังรู้คุณ ประโยชน์ทั้งหลายที่เขาปรารถนาแล้ว ของผู้นั้นจะเพิ่มพูนขึ้น. เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าขอบอกท่านทั้งหลาย ขอความเจริญจงมีแก่ท่านทั้งหลาย มีจานวนที่มาประชุมกัน ณ ที่นี้. ขอท่านทุกคนจงเป็ นผู้รู้คุณที่ผู้อื่นทาแล้วแก่ตน ท่านทั้งหลายจักสถิตอยู่ในสวรรค์ ตลอดกาลนาน. พระมหาสัตว์ได้ให้โอวาทแก่คนทั้งหมด ตั้งต้นแต่พระราชาที่มาประชุมกันแล้ว. พระราชาทรงสดับโอวาทนั้นแล้วได้ทรงแต่งตั้งยศให้ช้างพังต้นโอฏฐิ พยาธิตามปกติ พระองค์ทรงดารงอยู่ในโอวาทของพระโพธิสัตว์แล้ว ทรงบาเพ็ญบุญมีทานเป็นต้น ตลอดกาลนานแล้ว ได้มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้า พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกไว้ว่า ช้างพังต้นชื่อโอฏฐิพยาธิในครั้งนั้น ได้แก่ พังภัททวดี ในบัดนี้ พระราชา ได้แก่ พระอานนท์ ส่วนอามาตย์ ได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาทัฬหธัมมชาดกที่ ๔ -----------------------------------------------------