SlideShare a Scribd company logo
ดอกเบี้ยทบต้น
คือ การนาดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นไปรวมกับเงินต้น
เพื่อนามาเป็นเงินต้นของงวดถัดไป ซึ่งจะเรียก
ว่า เงินรวม
(Compound Interest)
รูปแบบของเงินรวม เมื่อเงินต้น P บาท คิดอัตราดอกเบี้ย
แบบทบต้นต่องวด i % คิดทั้งหมด n งวด ดังนี้
เงินรวมสิ้นงวดที่ 1 คือ 𝑨 𝟏 = 𝐏 + 𝐏𝐢 = 𝐏(𝟏 + 𝐢)
เงินรวมสิ้นงวดที่ 2 คือ 𝑨 𝟐 = 𝐏 𝟏 + 𝐢 + 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐢 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝟐
เงินรวมสิ้นงวดที่ 3 คือ 𝑨 𝟑 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝟐+𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐢 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝟑
เงินรวมสิ้นงวดที่ n คือ 𝑨 𝒏 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝒏−𝟏
+𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐢= 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐧
สูตรการหาเงินรวมแบบดอกเบี้ยทบต้น คือ 𝐀 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐧
สูตรการหาเงินรวมแบบดอกเบี้ยทบต้น คือ 𝐀 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐧
เมื่อ A แทนเงินรวมทั้งหมด
P แทนเงินต้น
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดที่คิดดอกเบี้ยทบต้น
ตัวอย่างที่ 1 ชะเอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งธนาคาร
ให้อัตราดอกเบี้ย 2.5 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 3 เดือน เมื่อเวลา
ผ่านไป 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 50,000 , i =
𝟐.𝟓%
𝟒
= 0.625% , n = 8 งวด
A = P(1 + i)n
จากสูตร
A = 50,000 1 +
0.625
100
8
= 50,000 1 + 0.00625 8
≈ 52,555.38
ดังนั้น เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมดประมาณ
52,555.38 − 50,000 = 2,555.38 บาท
ตัวอย่างที่ 2 แอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 100,000 บาท เมื่อเวลา
ผ่านไป 2 ปี แอมได้ตรวจสอบเงินในบัญชีแล้วพบว่า ในบัญชีมีเงินประมาณ
106,152.02 บาท ถ้าธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 4 เดือน อยาก
ทราบว่าธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยเท่าไรต่อปี
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 100,000 , A = 106,152.02 , n = 6 งวด
A = P(1 + i)n
จากสูตร
106,152.02 = 100,000 1 + i 6
1 + i 6
= 1.0615
1 + i ≈ 1.0100
ดังนั้น ธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยประมาณ 0.0100 x 3 x 100% = 3%
i ≈ 0.0100
มอบหมายงาน
ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง
ดอกเบี้ยทบต้น
มูลค่าของเงิน
เมื่อเวลาเปลี่ยน ค่าของเงินจะมีการเปลี่ยนแปลง
(Value of Money)
แบ่งเป็น – มูลค่าปัจจุบัน (present value)
– มูลค่าอนาคต (future value)
เช่น นักเรียนซื้อเครื่องคิดเลขราคา 1,000 บาท ถ้านักเรียน
จ่ายตอนสิ้นเดือน จะต้องจ่ายเงิน 1,100 บาท ซึ่งเงิน 1,000
บาท จะเรียกว่า มูลค่าปัจจุบัน และเงิน 1,100 บาท จะเรียกว่า
มูลค่าอนาคต
แสดงมูลค่าของเงิน ณ เวลาใด ๆ ด้วย เส้นเวลา
100 100 100 100 100
. . .
100
เวลา
0 1 2 3 4 n. . .
สิ้นปีที่ 0 หรือต้นปีที่ 1
สิ้นปีที่ 1 หรือต้นปีที่ 2
สิ้นปีที่ 2 หรือต้นปีที่ 3 สิ้นปีที่ n
ตัวเลขด้านบนแสดงถึงจุดสิ้นสุดของเวลา(งวด)ที่เกี่ยวข้อง
ตัวเลขด้านล่างแสดงถึงมูลค่าของเงินที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้น
หมายเหตุ งวดเวลาจะเป็นปี เดือน หรือวัน ก็ได้
พิจารณาข้อความดังนี้ ทรายฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งจานวน 15,000 บาท
ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 1.8% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี เป็นระยะ
เวลา 4 ปี
เมื่อฝากเงินครบ 1 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1+0.018) = 15,270 บาท
เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018)2
= 15,544.86 บาท
เมื่อฝากเงินครบ 3 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018)3= 15,824.67 บาท
เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าปัจจุบันกับมูลค่าอนาคตได้ ดังนี้
𝐅𝐕 = 𝐏𝐕(𝟏 + 𝐢) 𝐧
เมื่อ FV แทนมูลค่าอนาคต
PV แทนมูลค่าปัจจุบัน
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดเวลา
หรือ 𝐏𝐕 = 𝐅𝐕 𝟏 + 𝐢 −𝐧
ตัวอย่างที่ 1 ป่านฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งซึ่งให้อัตราดอกเบี้ย 2.5% ต่อปี
โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าป่านต้องการให้มีเงินในบัญชี 250,000
บาท ในอีก 4 ปีข้างหน้า ป่านต้องฝากเงินต้นเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์กาหนด FV = 250,000 , i =
𝟐.𝟓%
𝟐
= 1.25% , n = 8 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินฝาก ดังนี้
250,000(1 + 0.0125)−8
. . .
250,00
0 1 2 3 8
PV = FV(1 + i)−n
จากสูตร
PV = 250,000 1 + 0.0125 −8
≈ 226,349.61
จะได้
ดังนั้น ป่านต้องฝากเงินต้นประมาณ 226,349.61 บาท
ตัวอย่างที่ 2 เอกเป็นสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์และได้กู้เงินจากสหกรณ์
ออมทรัพย์จานวน 2 ยอด ซึ่งยอดแรกต้องชาระคืน 28,654.56 บาท ในอีก 2 ปี
ข้างหน้า และยอดที่สองต้องชาระคืน 39,267.27 บาท ในอีก 3 ปีข้างหน้า ถ้า
สหกรณ์ออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบี้ย 6.9 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก
4 เดือน ให้หาจานวนเงินทั้งหมดที่เอกกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์
วิธีทา จากโจทย์กาหนด เวลา 2 ปี : FV = 28,654.56 , I = 6.9% , n = 6 งวด
เวลา 3 ปี : FV = 39,267.27 , I = 6.9% , n = 9 งวด
28,654.56(1 + 0.023)−6
39,267.27
0 1 2 3
28,654.56
39,267.27(1 + 0.023)−9
ยอดที่ 1 เนื่องจาก FV = 28,654.56 , i =
𝟔.𝟗%
𝟑
= 2.3% = 0.023 , n = 6 งวด
PV = FV(1 + i)−nจากสูตร
PV = 28,654.56 1 + 0.023 −6
≈ 25,000
จะได้
ดังนั้น เอกกู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์ทั้งหมดประมาณ
25,000 + 32,000 = 57,000 บาท
ยอดที่ 2 เนื่องจาก FV = 39,267.27 , i =
𝟔.𝟗%
𝟑
= 2.3% = 0.023 , n = 9 งวด
PV = FV(1 + i)−nจากสูตร
PV = 39,267.27 1 + 0.023 −9
≈ 32,000
จะได้
มอบหมายงาน
ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง
มูลค่าของเงิน
ค่ารายงวด
หมายถึง การจ่ายเงินหรือฝากเงินเป็นงวด ๆ ติดต่อกันหลายงวด
(Annuity)
แต่ละงวดมีระยะเวลาห่างเท่า ๆ กัน เช่น การซื้อสินค้าเงินผ่อน
การออมเงินแบบฝากประจากับธนาคาร
มูลค่าในอนาคตของค่ารายงวดสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
1. ค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตของ
ค่ารายงวด ซึ่งเท่ากับผลรวมของค่ารายงวดแต่ละงวด ทบต้นด้วย
ดอกเบี้ยตามระยะเวลา
เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวดได้ ดังนี้
A A A
0 1 2 n. . .
A
n-1
A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐
A(1+i)
...
A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏
เงินปลายงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏
เงินปลายงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐
เงินปลายงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-3 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟑
เงินปลายงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 0 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀
เงินรวมทั้งหมด A + A(1+i) + + + . . . +A(1 + i)2 A(1 + i)3
A(1 + i)n−1
สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด =𝐅𝐕𝐀 𝐧 =
เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n
A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดเวลา
𝐀 𝟏− 𝟏+𝐢 𝐧
𝟏−(𝟏+𝐢)
A
(𝟏+𝐢) 𝐧−𝟏
𝐢
ตัวอย่างที่ 1 เปาวลีฝากเงิน 3,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกสิ้นเดือนเป็นเวลา
2 ปี ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกเดือน
เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 3,000 , i = 3
12 x 100
= 0.0025 , n = 24 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้
3,000
0 1 2 24
. . . 23
3,000(1.0025)22
3,000(1.0025)
...
3,000 3,000 3,000
3,000(1.0025)23
จะได้ FVA24 = 3,000 + 3,000 1.0025 + + … +3,000(1.0025)2 3,000(1.0025)23
ดังนั้น FVAn = ≈ 74,108.453,000
(1.0025)24
−1
0.0025
นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดประมาณ 74,108.45 บาท
. . .
2. ค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตที่เกิดขึ้น
ณ ตอนต้นงวด โดยจะเกิดขึ้นเร็วกว่ากรณีที่เกิด ณ ตอนปลายงวด
มีผลทาให้ค่ารายงวดมีการทบต้นดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอีก 1 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวดได้ ดังนี้
A A
0 1 2 n. . .
A
n-1
A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐
A(1+i)
...
A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏
A
A(𝟏 + 𝐢) 𝐧
เงินต้นงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧
เงินต้นงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏
เงินต้นงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐
เงินต้นงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢)
เงินรวมทั้งหมด A(1+i) + + + . . . +A(1 + i)2 A(1 + i)3 A(1 + i)n
สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด =𝐅𝐕𝐀 𝐧 =
เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n
A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดเวลา
𝐀(𝟏+𝐢) 𝟏− 𝟏+𝐢 𝐧
𝟏−(𝟏+𝐢)
A(1+i)
(𝟏+𝐢) 𝐧−𝟏
𝐢
ตัวอย่างที่ 2 คีตาฝากเงิน 10,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกต้นปี ซึ่งธนาคาร
ให้อัตราดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกปี ให้หาเงินรวมทั้งหมด
ของคีตาเมื่อสิ้นปีที่ 4
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 10,000 , i = 3
100
= 0.03 , n = 4 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้
0 1 2
10,000(1.03)2
10,000(1.03)
จะได้ FVA4 = 10,000 1.03 + + +
ดังนั้น FVA4 = ≈ 43,091.3610,000 1.03
(1.03)4
−1
0.03
นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 4 คีตาจะได้เงินรวมทั้งหมดประมาณ 43,091.36 บาท
10,000
3 4
10,000 10,000 10,000
10,000(1.03)3
10,000(1.03)4
10,000 1.03 2 10,000(1.03)3 10,000(1.03)4
มอบหมายงาน
ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง
ค่ารายงวด

More Related Content

What's hot

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
sawed kodnara
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
Wijitta DevilTeacher
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 

What's hot (20)

ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Similar to 4. to use sequence and series

To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
ssuser237b52
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
ssuser237b52
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
ssuser237b52
 
Zhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjx
ZhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjxZhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjx
Zhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjx
ssusere35d57
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plustltutortutor
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 

Similar to 4. to use sequence and series (6)

To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
 
Zhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjx
ZhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjxZhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjx
Zhuhxidguhjjjjzjvygjkznjmxjhsomhhbsikjhbskjjx
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 

More from ssuser237b52

5.3 continuos of function
5.3 continuos of function5.3 continuos of function
5.3 continuos of function
ssuser237b52
 
4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory
ssuser237b52
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
ssuser237b52
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
ssuser237b52
 
7.1 sum of series
7.1 sum of series7.1 sum of series
7.1 sum of series
ssuser237b52
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
ssuser237b52
 
5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory
ssuser237b52
 
4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph
ssuser237b52
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
ssuser237b52
 
3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph
ssuser237b52
 
2 1 sequence
2 1 sequence2 1 sequence
2 1 sequence
ssuser237b52
 

More from ssuser237b52 (11)

5.3 continuos of function
5.3 continuos of function5.3 continuos of function
5.3 continuos of function
 
4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
 
7.1 sum of series
7.1 sum of series7.1 sum of series
7.1 sum of series
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
 
5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory
 
4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
 
3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph
 
2 1 sequence
2 1 sequence2 1 sequence
2 1 sequence
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

4. to use sequence and series

  • 1.
  • 3. รูปแบบของเงินรวม เมื่อเงินต้น P บาท คิดอัตราดอกเบี้ย แบบทบต้นต่องวด i % คิดทั้งหมด n งวด ดังนี้ เงินรวมสิ้นงวดที่ 1 คือ 𝑨 𝟏 = 𝐏 + 𝐏𝐢 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) เงินรวมสิ้นงวดที่ 2 คือ 𝑨 𝟐 = 𝐏 𝟏 + 𝐢 + 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐢 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝟐 เงินรวมสิ้นงวดที่ 3 คือ 𝑨 𝟑 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝟐+𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐢 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝟑 เงินรวมสิ้นงวดที่ n คือ 𝑨 𝒏 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝒏−𝟏 +𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐢= 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐧 สูตรการหาเงินรวมแบบดอกเบี้ยทบต้น คือ 𝐀 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐧
  • 4. สูตรการหาเงินรวมแบบดอกเบี้ยทบต้น คือ 𝐀 = 𝐏(𝟏 + 𝐢) 𝐧 เมื่อ A แทนเงินรวมทั้งหมด P แทนเงินต้น i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดที่คิดดอกเบี้ยทบต้น
  • 5. ตัวอย่างที่ 1 ชะเอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งธนาคาร ให้อัตราดอกเบี้ย 2.5 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 3 เดือน เมื่อเวลา ผ่านไป 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมดเท่าไร วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 50,000 , i = 𝟐.𝟓% 𝟒 = 0.625% , n = 8 งวด A = P(1 + i)n จากสูตร A = 50,000 1 + 0.625 100 8 = 50,000 1 + 0.00625 8 ≈ 52,555.38 ดังนั้น เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมดประมาณ 52,555.38 − 50,000 = 2,555.38 บาท
  • 6. ตัวอย่างที่ 2 แอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 100,000 บาท เมื่อเวลา ผ่านไป 2 ปี แอมได้ตรวจสอบเงินในบัญชีแล้วพบว่า ในบัญชีมีเงินประมาณ 106,152.02 บาท ถ้าธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 4 เดือน อยาก ทราบว่าธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยเท่าไรต่อปี วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 100,000 , A = 106,152.02 , n = 6 งวด A = P(1 + i)n จากสูตร 106,152.02 = 100,000 1 + i 6 1 + i 6 = 1.0615 1 + i ≈ 1.0100 ดังนั้น ธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยประมาณ 0.0100 x 3 x 100% = 3% i ≈ 0.0100
  • 8. มูลค่าของเงิน เมื่อเวลาเปลี่ยน ค่าของเงินจะมีการเปลี่ยนแปลง (Value of Money) แบ่งเป็น – มูลค่าปัจจุบัน (present value) – มูลค่าอนาคต (future value) เช่น นักเรียนซื้อเครื่องคิดเลขราคา 1,000 บาท ถ้านักเรียน จ่ายตอนสิ้นเดือน จะต้องจ่ายเงิน 1,100 บาท ซึ่งเงิน 1,000 บาท จะเรียกว่า มูลค่าปัจจุบัน และเงิน 1,100 บาท จะเรียกว่า มูลค่าอนาคต
  • 9. แสดงมูลค่าของเงิน ณ เวลาใด ๆ ด้วย เส้นเวลา 100 100 100 100 100 . . . 100 เวลา 0 1 2 3 4 n. . . สิ้นปีที่ 0 หรือต้นปีที่ 1 สิ้นปีที่ 1 หรือต้นปีที่ 2 สิ้นปีที่ 2 หรือต้นปีที่ 3 สิ้นปีที่ n ตัวเลขด้านบนแสดงถึงจุดสิ้นสุดของเวลา(งวด)ที่เกี่ยวข้อง ตัวเลขด้านล่างแสดงถึงมูลค่าของเงินที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้น หมายเหตุ งวดเวลาจะเป็นปี เดือน หรือวัน ก็ได้
  • 10. พิจารณาข้อความดังนี้ ทรายฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งจานวน 15,000 บาท ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 1.8% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี เป็นระยะ เวลา 4 ปี เมื่อฝากเงินครบ 1 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1+0.018) = 15,270 บาท เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018)2 = 15,544.86 บาท เมื่อฝากเงินครบ 3 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018)3= 15,824.67 บาท เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าปัจจุบันกับมูลค่าอนาคตได้ ดังนี้ 𝐅𝐕 = 𝐏𝐕(𝟏 + 𝐢) 𝐧 เมื่อ FV แทนมูลค่าอนาคต PV แทนมูลค่าปัจจุบัน i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดเวลา หรือ 𝐏𝐕 = 𝐅𝐕 𝟏 + 𝐢 −𝐧
  • 11. ตัวอย่างที่ 1 ป่านฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งซึ่งให้อัตราดอกเบี้ย 2.5% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าป่านต้องการให้มีเงินในบัญชี 250,000 บาท ในอีก 4 ปีข้างหน้า ป่านต้องฝากเงินต้นเท่าไร วิธีทา จากโจทย์กาหนด FV = 250,000 , i = 𝟐.𝟓% 𝟐 = 1.25% , n = 8 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินฝาก ดังนี้ 250,000(1 + 0.0125)−8 . . . 250,00 0 1 2 3 8 PV = FV(1 + i)−n จากสูตร PV = 250,000 1 + 0.0125 −8 ≈ 226,349.61 จะได้ ดังนั้น ป่านต้องฝากเงินต้นประมาณ 226,349.61 บาท
  • 12. ตัวอย่างที่ 2 เอกเป็นสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์และได้กู้เงินจากสหกรณ์ ออมทรัพย์จานวน 2 ยอด ซึ่งยอดแรกต้องชาระคืน 28,654.56 บาท ในอีก 2 ปี ข้างหน้า และยอดที่สองต้องชาระคืน 39,267.27 บาท ในอีก 3 ปีข้างหน้า ถ้า สหกรณ์ออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบี้ย 6.9 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 4 เดือน ให้หาจานวนเงินทั้งหมดที่เอกกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์ วิธีทา จากโจทย์กาหนด เวลา 2 ปี : FV = 28,654.56 , I = 6.9% , n = 6 งวด เวลา 3 ปี : FV = 39,267.27 , I = 6.9% , n = 9 งวด 28,654.56(1 + 0.023)−6 39,267.27 0 1 2 3 28,654.56 39,267.27(1 + 0.023)−9
  • 13. ยอดที่ 1 เนื่องจาก FV = 28,654.56 , i = 𝟔.𝟗% 𝟑 = 2.3% = 0.023 , n = 6 งวด PV = FV(1 + i)−nจากสูตร PV = 28,654.56 1 + 0.023 −6 ≈ 25,000 จะได้ ดังนั้น เอกกู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์ทั้งหมดประมาณ 25,000 + 32,000 = 57,000 บาท ยอดที่ 2 เนื่องจาก FV = 39,267.27 , i = 𝟔.𝟗% 𝟑 = 2.3% = 0.023 , n = 9 งวด PV = FV(1 + i)−nจากสูตร PV = 39,267.27 1 + 0.023 −9 ≈ 32,000 จะได้
  • 15. ค่ารายงวด หมายถึง การจ่ายเงินหรือฝากเงินเป็นงวด ๆ ติดต่อกันหลายงวด (Annuity) แต่ละงวดมีระยะเวลาห่างเท่า ๆ กัน เช่น การซื้อสินค้าเงินผ่อน การออมเงินแบบฝากประจากับธนาคาร
  • 16. มูลค่าในอนาคตของค่ารายงวดสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ 1. ค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตของ ค่ารายงวด ซึ่งเท่ากับผลรวมของค่ารายงวดแต่ละงวด ทบต้นด้วย ดอกเบี้ยตามระยะเวลา เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวดได้ ดังนี้ A A A 0 1 2 n. . . A n-1 A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐 A(1+i) ... A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏
  • 17. เงินปลายงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏 เงินปลายงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐 เงินปลายงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-3 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟑 เงินปลายงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 0 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀 เงินรวมทั้งหมด A + A(1+i) + + + . . . +A(1 + i)2 A(1 + i)3 A(1 + i)n−1 สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด =𝐅𝐕𝐀 𝐧 = เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดเวลา 𝐀 𝟏− 𝟏+𝐢 𝐧 𝟏−(𝟏+𝐢) A (𝟏+𝐢) 𝐧−𝟏 𝐢
  • 18. ตัวอย่างที่ 1 เปาวลีฝากเงิน 3,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกสิ้นเดือนเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกเดือน เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าไร วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 3,000 , i = 3 12 x 100 = 0.0025 , n = 24 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้ 3,000 0 1 2 24 . . . 23 3,000(1.0025)22 3,000(1.0025) ... 3,000 3,000 3,000 3,000(1.0025)23 จะได้ FVA24 = 3,000 + 3,000 1.0025 + + … +3,000(1.0025)2 3,000(1.0025)23 ดังนั้น FVAn = ≈ 74,108.453,000 (1.0025)24 −1 0.0025 นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดประมาณ 74,108.45 บาท . . .
  • 19. 2. ค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตที่เกิดขึ้น ณ ตอนต้นงวด โดยจะเกิดขึ้นเร็วกว่ากรณีที่เกิด ณ ตอนปลายงวด มีผลทาให้ค่ารายงวดมีการทบต้นดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอีก 1 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวดได้ ดังนี้ A A 0 1 2 n. . . A n-1 A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐 A(1+i) ... A(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏 A A(𝟏 + 𝐢) 𝐧
  • 20. เงินต้นงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧 เงินต้นงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟏 เงินต้นงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) 𝐧−𝟐 เงินต้นงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ 𝐀(𝟏 + 𝐢) เงินรวมทั้งหมด A(1+i) + + + . . . +A(1 + i)2 A(1 + i)3 A(1 + i)n สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด =𝐅𝐕𝐀 𝐧 = เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดเวลา 𝐀(𝟏+𝐢) 𝟏− 𝟏+𝐢 𝐧 𝟏−(𝟏+𝐢) A(1+i) (𝟏+𝐢) 𝐧−𝟏 𝐢
  • 21. ตัวอย่างที่ 2 คีตาฝากเงิน 10,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกต้นปี ซึ่งธนาคาร ให้อัตราดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกปี ให้หาเงินรวมทั้งหมด ของคีตาเมื่อสิ้นปีที่ 4 วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 10,000 , i = 3 100 = 0.03 , n = 4 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้ 0 1 2 10,000(1.03)2 10,000(1.03) จะได้ FVA4 = 10,000 1.03 + + + ดังนั้น FVA4 = ≈ 43,091.3610,000 1.03 (1.03)4 −1 0.03 นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 4 คีตาจะได้เงินรวมทั้งหมดประมาณ 43,091.36 บาท 10,000 3 4 10,000 10,000 10,000 10,000(1.03)3 10,000(1.03)4 10,000 1.03 2 10,000(1.03)3 10,000(1.03)4