SlideShare a Scribd company logo
50
ดอกเบี้ยทบต้น
คือ การนาดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นไปรวมกับเงินต้นเพื่อนามาเป็นเงินต้นของงวดถัดไป ซึ่งจะเรียกว่า
เงินรวม
(Compound Interest)
รูปแบบของเงินรวม เมื่อเงินต้น P บาท คิดอัตราดอกเบี้ยแบบทบต้นต่องวด i % คิดทั้งหมด n งวด
ดังนี้
เงินรวมสิ้นงวดที่ 1 คือ A1 = P + Pi = P(1 + i)
เงินรวมสิ้นงวดที่ 2 คือ A2 = P(1 + i) + P(1 + i)i = P(1 + i) 𝟐
เงินรวมสิ้นงวดที่ 3 คือ A3 = P(1 + i) 𝟐
+ P(1 + i) 𝟐
i = P(1 + i)3
เงินรวมสิ้นงวดที่ n คือ An = P(1 + i)n−1
+ P(1 + i)n−1
i = P(1 + i)n
สูตรการหาเงินรวมแบบดอกเบี้ยทบต้น คือ A = P(1 + i)n
⋮
เมื่อ A แทน เงินรวมทั้งหมด
P แทน เงินต้น
i แทน อัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทน จานวนงวดที่คิดดอกเบี้ยทบต้น
51
ตัวอย่างที่ 1 ชะเอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย
2.5 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 3 เดือน เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ย
ทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 50,000 , i =
2.5%
4
= 0.625% , n = 8 งวด
A = P(1 + i)nจากสูตร
= 50,000 (1 +
0.625
100
)
8
= 50,000 (1 + 0.00625)8
≈ 52,555.38
ดังนั้น เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมดประมาณ
52,555.38 − 50,000 = 2,555.38 บาท
ตัวอย่างที่ 2 แอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 100,000 บาท เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี แอมได้
ตรวจสอบเงินในบัญชีแล้วพบว่า ในบัญชีมีเงินประมาณ 106,152.02 บาท ถ้าธนาคารคิดอัตรา
ดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 4 เดือน อยากทราบว่าธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยเท่าไรต่อปี
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 100,000 , A = 106,152.02 , n = 6 งวด
A = P(1 + i)n
จากสูตร
106,152.02 = 100,000 (1 + i)6
(1 + i)6
= 1.0615
(1 + i) ≈ 1.0100
ดังนั้น ธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยประมาณ 0.0100 x 3 x 100% = 3%
i ≈ 0.0100
มอบหมายงาน
ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3
ดอกเบี้ยทบต้น
52
มูลค่าของเงิน
เมื่อเวลาเปลี่ยน ค่าของเงินจะมีการเปลี่ยนแปลง
(Value of Money)
แบ่งเป็น – มูลค่าปัจจุบัน (present value)
– มูลค่าอนาคต (future value)
เช่น นักเรียนซื้อเครื่องคิดเลขราคา 1,000 บาท ถ้านักเรียนจ่ายตอนสิ้นเดือน จะต้องจ่ายเงิน
1,100 บาท ซึ่งเงิน 1,000 บาท จะเรียกว่า มูลค่าปัจจุบัน และเงิน 1,100 บาท จะเรียกว่า
มูลค่าอนาคต
แสดงมูลค่าของเงิน ณ เวลาใด ๆ ด้วย เส้นเวลา
100 100 100 100 100 . . .
เวลา
0 1 2 3 4 . . .
สิ้นปีที่ 0 หรือต้นปีที่ 1
สิ้นปีที่ 1 หรือต้นปีที่ 2
สิ้นปีที่ 2 หรือต้นปีที่ 3
ตัวเลขด้านบนแสดงถึงจุดสิ้นสุดของเวลา(งวด)ที่เกี่ยวข้อง
ตัวเลขด้านล่างแสดงถึงมูลค่าของเงินที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้น
หมายเหตุ งวดเวลาจะเป็นปี เดือน หรือวัน ก็ได้
n
สิ้นปีที่ n
100
53
พิจารณาข้อความดังนี้ ทรายฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งจานวน 15,000 บาท ซึ่งธนาคารให้อัตรา
ดอกเบี้ย 1.8% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี เป็นระยะเวลา 4 ปี
เมื่อฝากเงินครบ 1 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018) = 15,270 บาท
เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018) 𝟐
= 15,544.86 บาท
เมื่อฝากเงินครบ 3 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018)3
= 15,824.67 บาท
เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าปัจจุบันกับมูลค่าอนาคตได้ ดังนี้
FV = PV(1 + i)n
เมื่อ FV แทนมูลค่าอนาคต
PV แทนมูลค่าปัจจุบัน
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดเวลา
หรือ PV = FV(1 + i)−n
ตัวอย่างที่ 1 ป่านฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งซึ่งให้อัตราดอกเบี้ย 2.5% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ย
แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าป่านต้องการให้มีเงินในบัญชี 250,000 บาท ในอีก 4 ปีข้างหน้า
ป่านต้องฝากเงินต้นเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์กาหนด FV = 250,000 , i =
𝟐.𝟓%
𝟐
= 1.25% , n = 8 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินฝาก ดังนี้
250,000(1 + 0.0125)−8
. . .0 1 2 3
PV = FV(1 + i)−nจากสูตร
= 250,000 (1 + 0.0125)−8
≈ 226,349.61
จะได้
ดังนั้น ป่านต้องฝากเงินต้นประมาณ 226,349.61 บาท
8
250,000
54
ตัวอย่างที่ 2 เอกเป็นสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์และได้กู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์จานวน 2 ยอด
ซึ่งยอดแรกต้องชาระคืน 28,654.56 บาท ในอีก 2 ปีข้างหน้า และยอดที่สองต้องชาระคืน 39,267.27
บาท ในอีก 3 ปีข้างหน้า ถ้าสหกรณ์ออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบี้ย 6.9 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบ
ทบต้นทุก 4 เดือน ให้หาจานวนเงินทั้งหมดที่เอกกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์
วิธีทา
28,654.56(1 + 0.023)−6
39,267.27
0 1 2 3
28,654.56
39,267.27(1 + 0.023)−9
ยอดที่ 1 เนื่องจาก FV = 28,654.56 , i =
6.9%
3
= 2.3% = 0.023 , n = 6 งวด
PV = FV(1 + i)−n
จากสูตร
= 28,654.56 (1 + 0.023)−6
≈ 25,000
จะได้
ดังนั้น เอกกู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์ทั้งหมดประมาณ 25,000 + 32,000 = 57,000 บาท
ยอดที่ 2 เนื่องจาก FV = 39,267.27 , i =
6.9%
3
= 2.3% = 0.023 , n = 9 งวด
PV = FV(1 + i)−nจากสูตร
= 39,267.27 (1 + 0.023)−9
≈ 32,000
จะได้
จากโจทย์กาหนด เวลา 2 ปี : FV = 28,654.56 , I = 6.9% , n = 6 งวด
เวลา 3 ปี : FV = 39,267.27 , I = 6.9% , n = 9 งวด
มอบหมายงาน
ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3
มูลค่าของเงิน
55
ค่ารายงวด
หมายถึง การจ่ายเงินหรือฝากเงินเป็นงวด ๆ ติดต่อกันหลายงวด แต่ละงวดมีระยะเวลาห่างเท่า ๆ กัน
(Annuity)
เช่น การซื้อสินค้าเงินผ่อน การออมเงินแบบฝากประจากับธนาคาร เป็นต้น
มูลค่าในอนาคตของค่ารายงวดสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
1. ค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตของค่ารายงวด ซึ่งเท่ากับผลรวม
ของค่ารายงวดแต่ละงวด ทบต้นด้วยดอกเบี้ยตามระยะเวลา
เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวดได้ ดังนี้
AA
0 1 2 n. . .
A
A(1 + i)n−2
A(1+i)
...
A(1 + i)n−1
เงินปลายงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−1
เงินปลายงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−2
เงินปลายงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-3 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−3
เงินปลายงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 0 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A
เงินรวมทั้งหมด A + A(1+i) + + + . . . +A(1 + i)2
A(1 + i)3 A(1 + i)n−1
สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด =FVAn =
A[1−(1+i)n]
1−(1+i)
A [
(1+i)n−1
i
]
...
เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n
A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดเวลา
n-1
A
56
ตัวอย่างที่ 1 เปาวลีฝากเงิน 3,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกสิ้นเดือนเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งธนาคารให้อัตรา
ดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกเดือน เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าไร
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 3,000 , i =
3
12 x 100
= 0.0025 , n = 24 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้
3,000
0 1 2 24. . . 23
3,000(1.0025)22
3,000(1.0025)
...
3,000 3,000 3,000
จะได้
ดังนั้น
นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดประมาณ 74,108.45 บาท
3,000(1.0025)23
FVA24 = 3,000 + 3,000(1.0025) + + … +3,000(1.0025)2 3,000(1.0025)23
FVAn = ≈ 74,108.453,000 [
(1.0025)24
− 1
0.0025
]
2. ค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตที่เกิดขึ้น ณ ตอนต้นงวด โดยจะเกิดขึ้น
เร็วกว่ากรณีที่เกิด ณ ตอนปลายงวด มีผลทาให้ค่ารายงวดมีการทบต้นดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอีก 1 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวดได้ ดังนี้
AA
0 1 2 n. . .
A
A(1 + i)n−2
A(1+i)
...
A(1 + i)n−1
n-1
A
A(1 + i)n
เงินต้นงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n
เงินต้นงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−1
A(1 + i)n−2
เงินต้นงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ
A(1 + i)2
A(1 + i)3
A(1 + i)n
เงินปลายงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ
เงินรวมทั้งหมด A(1+i) + + + . . . +
...
A(1 + i)
57
สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด FVAn =
เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n
A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด
i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด
n แทนจานวนงวดเวลา
A(1+i)[1−(1+i)n]
1−(1+i)
A(1+i)[
(1+i)n−1
i
]=
ตัวอย่างที่ 2 คีตาฝากเงิน 10,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกต้นปี ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 3%
ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกปี ให้หาเงินรวมทั้งหมดของคีตาเมื่อสิ้นปีที่ 4
วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 10,000 , i =
3
100
= 0.03 , n = 4 งวด
เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้
0 1 2
10,000(1.03)2
10,000(1.03)
จะได้ FVA4 = 10,000(1.03) + + +
ดังนั้น FVA4 = ≈ 43,091.3610,000(1.03) [
(1.03)4
− 1
0.03
]
นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 4 คีตาจะได้เงินรวมทั้งหมดประมาณ 43,091.36 บาท
10,000
3 4
10,000 10,000 10,000
10,000(1.03)3
10,000(1.03)4
10,000(1.03)2
10,000(1.03)3
10,000(1.03)4
To use sequence and series

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
พัน พัน
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
Sukanda Panpetch
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
naleesaetor
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
Jiraporn
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
Thitaree Samphao
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
issarayuth
 

What's hot (20)

บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 

More from ssuser237b52

5.3 continuos of function
5.3 continuos of function5.3 continuos of function
5.3 continuos of function
ssuser237b52
 
4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory
ssuser237b52
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
ssuser237b52
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
ssuser237b52
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and series
ssuser237b52
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
ssuser237b52
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
ssuser237b52
 
7.1 sum of series
7.1 sum of series7.1 sum of series
7.1 sum of series
ssuser237b52
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
ssuser237b52
 
5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory
ssuser237b52
 
4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph
ssuser237b52
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
ssuser237b52
 
3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph
ssuser237b52
 
2 1 sequence
2 1 sequence2 1 sequence
2 1 sequence
ssuser237b52
 

More from ssuser237b52 (14)

5.3 continuos of function
5.3 continuos of function5.3 continuos of function
5.3 continuos of function
 
4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory4.4 limit of function from theory
4.4 limit of function from theory
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
 
1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph1. limit of function from table and graph
1. limit of function from table and graph
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and series
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
 
To use sequence and series
To use sequence and seriesTo use sequence and series
To use sequence and series
 
7.1 sum of series
7.1 sum of series7.1 sum of series
7.1 sum of series
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
 
5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory5.1. limit of sequence by theory
5.1. limit of sequence by theory
 
4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph4.1 limit of sequence by graph
4.1 limit of sequence by graph
 
2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence2.1 meaning of sequence
2.1 meaning of sequence
 
3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph3. limit of sequence from graph
3. limit of sequence from graph
 
2 1 sequence
2 1 sequence2 1 sequence
2 1 sequence
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

To use sequence and series

  • 1.
  • 2. 50 ดอกเบี้ยทบต้น คือ การนาดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นไปรวมกับเงินต้นเพื่อนามาเป็นเงินต้นของงวดถัดไป ซึ่งจะเรียกว่า เงินรวม (Compound Interest) รูปแบบของเงินรวม เมื่อเงินต้น P บาท คิดอัตราดอกเบี้ยแบบทบต้นต่องวด i % คิดทั้งหมด n งวด ดังนี้ เงินรวมสิ้นงวดที่ 1 คือ A1 = P + Pi = P(1 + i) เงินรวมสิ้นงวดที่ 2 คือ A2 = P(1 + i) + P(1 + i)i = P(1 + i) 𝟐 เงินรวมสิ้นงวดที่ 3 คือ A3 = P(1 + i) 𝟐 + P(1 + i) 𝟐 i = P(1 + i)3 เงินรวมสิ้นงวดที่ n คือ An = P(1 + i)n−1 + P(1 + i)n−1 i = P(1 + i)n สูตรการหาเงินรวมแบบดอกเบี้ยทบต้น คือ A = P(1 + i)n ⋮ เมื่อ A แทน เงินรวมทั้งหมด P แทน เงินต้น i แทน อัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทน จานวนงวดที่คิดดอกเบี้ยทบต้น
  • 3. 51 ตัวอย่างที่ 1 ชะเอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 50,000 บาท ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 2.5 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 3 เดือน เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ย ทั้งหมดเท่าไร วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 50,000 , i = 2.5% 4 = 0.625% , n = 8 งวด A = P(1 + i)nจากสูตร = 50,000 (1 + 0.625 100 ) 8 = 50,000 (1 + 0.00625)8 ≈ 52,555.38 ดังนั้น เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี ชะเอมจะได้รับดอกเบี้ยทั้งหมดประมาณ 52,555.38 − 50,000 = 2,555.38 บาท ตัวอย่างที่ 2 แอมฝากเงินกับธนาคารเป็นจานวนเงิน 100,000 บาท เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี แอมได้ ตรวจสอบเงินในบัญชีแล้วพบว่า ในบัญชีมีเงินประมาณ 106,152.02 บาท ถ้าธนาคารคิดอัตรา ดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 4 เดือน อยากทราบว่าธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยเท่าไรต่อปี วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 100,000 , A = 106,152.02 , n = 6 งวด A = P(1 + i)n จากสูตร 106,152.02 = 100,000 (1 + i)6 (1 + i)6 = 1.0615 (1 + i) ≈ 1.0100 ดังนั้น ธนาคารให้อัตราดอกเบี้ยประมาณ 0.0100 x 3 x 100% = 3% i ≈ 0.0100 มอบหมายงาน ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3 ดอกเบี้ยทบต้น
  • 4. 52 มูลค่าของเงิน เมื่อเวลาเปลี่ยน ค่าของเงินจะมีการเปลี่ยนแปลง (Value of Money) แบ่งเป็น – มูลค่าปัจจุบัน (present value) – มูลค่าอนาคต (future value) เช่น นักเรียนซื้อเครื่องคิดเลขราคา 1,000 บาท ถ้านักเรียนจ่ายตอนสิ้นเดือน จะต้องจ่ายเงิน 1,100 บาท ซึ่งเงิน 1,000 บาท จะเรียกว่า มูลค่าปัจจุบัน และเงิน 1,100 บาท จะเรียกว่า มูลค่าอนาคต แสดงมูลค่าของเงิน ณ เวลาใด ๆ ด้วย เส้นเวลา 100 100 100 100 100 . . . เวลา 0 1 2 3 4 . . . สิ้นปีที่ 0 หรือต้นปีที่ 1 สิ้นปีที่ 1 หรือต้นปีที่ 2 สิ้นปีที่ 2 หรือต้นปีที่ 3 ตัวเลขด้านบนแสดงถึงจุดสิ้นสุดของเวลา(งวด)ที่เกี่ยวข้อง ตัวเลขด้านล่างแสดงถึงมูลค่าของเงินที่เกิดขึ้น ณ เวลานั้น หมายเหตุ งวดเวลาจะเป็นปี เดือน หรือวัน ก็ได้ n สิ้นปีที่ n 100
  • 5. 53 พิจารณาข้อความดังนี้ ทรายฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งจานวน 15,000 บาท ซึ่งธนาคารให้อัตรา ดอกเบี้ย 1.8% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี เป็นระยะเวลา 4 ปี เมื่อฝากเงินครบ 1 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018) = 15,270 บาท เมื่อฝากเงินครบ 2 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018) 𝟐 = 15,544.86 บาท เมื่อฝากเงินครบ 3 ปี จะมีเงินรวมเท่ากับ 15,000(1 + 0.018)3 = 15,824.67 บาท เขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมูลค่าปัจจุบันกับมูลค่าอนาคตได้ ดังนี้ FV = PV(1 + i)n เมื่อ FV แทนมูลค่าอนาคต PV แทนมูลค่าปัจจุบัน i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดเวลา หรือ PV = FV(1 + i)−n ตัวอย่างที่ 1 ป่านฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งซึ่งให้อัตราดอกเบี้ย 2.5% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ย แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าป่านต้องการให้มีเงินในบัญชี 250,000 บาท ในอีก 4 ปีข้างหน้า ป่านต้องฝากเงินต้นเท่าไร วิธีทา จากโจทย์กาหนด FV = 250,000 , i = 𝟐.𝟓% 𝟐 = 1.25% , n = 8 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินฝาก ดังนี้ 250,000(1 + 0.0125)−8 . . .0 1 2 3 PV = FV(1 + i)−nจากสูตร = 250,000 (1 + 0.0125)−8 ≈ 226,349.61 จะได้ ดังนั้น ป่านต้องฝากเงินต้นประมาณ 226,349.61 บาท 8 250,000
  • 6. 54 ตัวอย่างที่ 2 เอกเป็นสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์และได้กู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์จานวน 2 ยอด ซึ่งยอดแรกต้องชาระคืน 28,654.56 บาท ในอีก 2 ปีข้างหน้า และยอดที่สองต้องชาระคืน 39,267.27 บาท ในอีก 3 ปีข้างหน้า ถ้าสหกรณ์ออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบี้ย 6.9 % ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบ ทบต้นทุก 4 เดือน ให้หาจานวนเงินทั้งหมดที่เอกกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์ วิธีทา 28,654.56(1 + 0.023)−6 39,267.27 0 1 2 3 28,654.56 39,267.27(1 + 0.023)−9 ยอดที่ 1 เนื่องจาก FV = 28,654.56 , i = 6.9% 3 = 2.3% = 0.023 , n = 6 งวด PV = FV(1 + i)−n จากสูตร = 28,654.56 (1 + 0.023)−6 ≈ 25,000 จะได้ ดังนั้น เอกกู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์ทั้งหมดประมาณ 25,000 + 32,000 = 57,000 บาท ยอดที่ 2 เนื่องจาก FV = 39,267.27 , i = 6.9% 3 = 2.3% = 0.023 , n = 9 งวด PV = FV(1 + i)−nจากสูตร = 39,267.27 (1 + 0.023)−9 ≈ 32,000 จะได้ จากโจทย์กาหนด เวลา 2 ปี : FV = 28,654.56 , I = 6.9% , n = 6 งวด เวลา 3 ปี : FV = 39,267.27 , I = 6.9% , n = 9 งวด มอบหมายงาน ให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 3 มูลค่าของเงิน
  • 7. 55 ค่ารายงวด หมายถึง การจ่ายเงินหรือฝากเงินเป็นงวด ๆ ติดต่อกันหลายงวด แต่ละงวดมีระยะเวลาห่างเท่า ๆ กัน (Annuity) เช่น การซื้อสินค้าเงินผ่อน การออมเงินแบบฝากประจากับธนาคาร เป็นต้น มูลค่าในอนาคตของค่ารายงวดสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ 1. ค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตของค่ารายงวด ซึ่งเท่ากับผลรวม ของค่ารายงวดแต่ละงวด ทบต้นด้วยดอกเบี้ยตามระยะเวลา เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนปลายงวดได้ ดังนี้ AA 0 1 2 n. . . A A(1 + i)n−2 A(1+i) ... A(1 + i)n−1 เงินปลายงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−1 เงินปลายงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−2 เงินปลายงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-3 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−3 เงินปลายงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 0 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A เงินรวมทั้งหมด A + A(1+i) + + + . . . +A(1 + i)2 A(1 + i)3 A(1 + i)n−1 สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด =FVAn = A[1−(1+i)n] 1−(1+i) A [ (1+i)n−1 i ] ... เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดเวลา n-1 A
  • 8. 56 ตัวอย่างที่ 1 เปาวลีฝากเงิน 3,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกสิ้นเดือนเป็นเวลา 2 ปี ซึ่งธนาคารให้อัตรา ดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกเดือน เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดเท่าไร วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 3,000 , i = 3 12 x 100 = 0.0025 , n = 24 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้ 3,000 0 1 2 24. . . 23 3,000(1.0025)22 3,000(1.0025) ... 3,000 3,000 3,000 จะได้ ดังนั้น นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 2 เปาวลีจะได้รับเงินทั้งหมดประมาณ 74,108.45 บาท 3,000(1.0025)23 FVA24 = 3,000 + 3,000(1.0025) + + … +3,000(1.0025)2 3,000(1.0025)23 FVAn = ≈ 74,108.453,000 [ (1.0025)24 − 1 0.0025 ] 2. ค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวด หมายถึง มูลค่ารวมในอนาคตที่เกิดขึ้น ณ ตอนต้นงวด โดยจะเกิดขึ้น เร็วกว่ากรณีที่เกิด ณ ตอนปลายงวด มีผลทาให้ค่ารายงวดมีการทบต้นดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอีก 1 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงค่ารายงวด ณ ตอนต้นงวดได้ ดังนี้ AA 0 1 2 n. . . A A(1 + i)n−2 A(1+i) ... A(1 + i)n−1 n-1 A A(1 + i)n เงินต้นงวดที่ 1 คิดดอกเบี้ยทบต้น n ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n เงินต้นงวดที่ 2 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)n−1 A(1 + i)n−2 เงินต้นงวดที่ 3 คิดดอกเบี้ยทบต้น n-2 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ A(1 + i)2 A(1 + i)3 A(1 + i)n เงินปลายงวดที่ n คิดดอกเบี้ยทบต้น 1 ครั้ง จะได้เงินรวมเท่ากับ เงินรวมทั้งหมด A(1+i) + + + . . . + ... A(1 + i)
  • 9. 57 สรุป สูตรเงินรวมทั้งหมด FVAn = เมื่อ FVAn แทนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นงวดที่ n A แทนจานวนเงินที่ได้รับหรือจ่ายแต่ละงวด i แทนอัตราดอกเบี้ยต่องวด n แทนจานวนงวดเวลา A(1+i)[1−(1+i)n] 1−(1+i) A(1+i)[ (1+i)n−1 i ]= ตัวอย่างที่ 2 คีตาฝากเงิน 10,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึ่งทุกต้นปี ซึ่งธนาคารให้อัตราดอกเบี้ย 3% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุกปี ให้หาเงินรวมทั้งหมดของคีตาเมื่อสิ้นปีที่ 4 วิธีทา จากโจทย์กาหนด P = 10,000 , i = 3 100 = 0.03 , n = 4 งวด เขียนเส้นเวลาแสดงจานวนเงินรวมทั้งหมดเมื่อสิ้นปีที่ 2 ได้ ดังนี้ 0 1 2 10,000(1.03)2 10,000(1.03) จะได้ FVA4 = 10,000(1.03) + + + ดังนั้น FVA4 = ≈ 43,091.3610,000(1.03) [ (1.03)4 − 1 0.03 ] นั่นคือ เมื่อสิ้นปีที่ 4 คีตาจะได้เงินรวมทั้งหมดประมาณ 43,091.36 บาท 10,000 3 4 10,000 10,000 10,000 10,000(1.03)3 10,000(1.03)4 10,000(1.03)2 10,000(1.03)3 10,000(1.03)4