SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ปริมาตร หมายถึง เนื้อในของวัสดุงานหรือมวลที่มีอยู่ภายในเนื้องาน เช่น น้าบรรจุอยู่ภายในถัง มีจานวน 30 ลิตร
หมายถึง น้าที่มีอยู่ภายในถังมีจานวน 30 ลิตร หรือ 30 ลูกบาศก์เดซิเมตร (1 ลิตร เท่ากับ 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร)
การขยายตัวของวัตถุ 3 ด้าน คือ ความยาว ความกว้าง และความสูง นามาคูณกันจะได้เป็นลูกบาศก์ เช่น 1 ม. 
1 ม.  1 ม. ได้ = 1 ม.3
(ลูกบาศก์เดซิเมตร)
ปริมาตร จะมีหน่วยเป็นลูกบาศก์นิ้ว ลูกบาศก์เมตร ลูกบาศก์ฟุตและลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นต้น
3.2 การคานวณหาปริมาตรรูปทรงต่าง ๆ
3.2.1 ปริมาตรทรงสามเหลี่ยม
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรของสามเหลี่ยม (ลบ.มม.)
b = ความกว้างของสามเหลี่ยม (มม.)
h = ความสูงของสามเหลี่ยม (มม.)
 = ความยาวของสามเหลี่ยม (มม.)
ตัวอย่างที่ 3.18 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรของสามเหลี่ยม
วิธีทา จากสูตร V =
2
hb 
แทนค่า V =
2
401030 
V = 6000 ลบ.มม.
ปริมาตรของสามเหลี่ยม = 6000 ลบ.มม. ตอบ
V =
2
hb 
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.2 ปริมาตรของลูกบาศก์สี่เหลี่ยม
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรลูกบาศก์สี่เหลี่ยม (ลบ.มม.)
 = ความยาวด้าน (มม.)
ตัวอย่างที่ 3.19 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรลูกบาศก์สี่เหลี่ยม
วิธีทา จากสูตร V =  
แทนค่า V = 20  20  20
V = 8000 ลบ.มม.
ปริมาตรลูกบาศก์สี่เหลี่ยม = 8000 ลบ.มม. ตอบ
3.2.3 ปริมาตรของสี่เหลี่ยมผืนผ้า
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรสี่เหลี่ยมผืนผ้า (ลบ.มม.)
b = ความกว้างสี่เหลี่ยมผืนผ้า (มม.)
h = ความสูงสี่เหลี่ยมผืนผ้า (มม.)
 = ความยาวสี่เหลี่ยมผืนผ้า (มม.)
V =  
= 3

V = b    h
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.20 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของสี่เหลี่ยมผืนผ้า
วิธีทา จากสูตร V = b    h
แทนค่า V = 15  30  20
V = 9000 ลบ.มม.
 ปริมาตรสี่เหลี่ยมผืนผ้า = 9000 ลบ.มม. ตอบ
3.2.4 ปริมาตรทรงกระบอก
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรทรงกระบอก (ลบ.มม.)
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางทรงกระบอก (มม.)
*ในกรณีงานอยู่ในแนวนอนใช้  = ความยาวชิ้นงานทรงกระบอก (มม.)
*ในกรณีงานอยู่ในแนวตั้งใช้ h = ความสูงชิ้นงานทรงกระบอก (มม.)
V = 
4
D2
π
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.21 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก แนวนอน
วิธีทา จากสูตร V = 
4
D2
π
แทนค่า V =
4
402014.3 2

= 12560 ลบ.มม.
 ปริมาตรของทรงกระบอกแนวนอน = 12560 ลบ.มม. ตอบ
ตัวอย่างที่ 3.22 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก แนวตั้ง
วิธีทา จากสูตร V = h
4
D2

π
แทนค่า V =
4
301014.3 2

= 2355 ลบ.มม.
 ปริมาตรของทรงกระบอกแนวนอน = 2355 ลบ.มม. ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.5 ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง
ปริมาตรทรงกระบอกกลวงหาได้จากการหาปริมาตรทรงกระบอกใหญ่ ลบ ด้วยปริมาตรทรงกระบอกเล็ก
=  22
dD
4

π
หรือ =  22
dD
4
h

π
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรทรงกระบอก (ลบ.มม.)
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโตนอก (มม.)
d = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโตใน (มม.)
*ในกรณีงานอยู่ในแนวนอนใช้  = ความยาวทรงกระบอก (มม.)
*ในกรณีงานอยู่ในแนวตั้งใช้ h = ความสูงทรงกระบอก (มม.)
V = 
4
D2
π
- 
4
D2
π
V = h
4
D2

π
-
h
4
D2

π
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.23 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวนอน
วิธีทา จากสูตร V =  22
dD
4

π
แทนค่า V =
 
4
10204014.3 22

V =
 
4
1004004014.3 
V =
4
3004014.3 
= 9420 ลบ.มม.
 ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง = 9420 ลบ.มม. ตอบ
ตัวอย่างที่ 3.24 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง
วิธีทา จากสูตร V =  22
dD
4
h

π
แทนค่า V =
 
4
15305014.3 22

V =
 
4
2259005014.3 
V =
4
6755014.3 
= 26493.75 ลบ.มม.
 ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง = 26493.75 ลบ.มม. ตอบ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.6 ปริมาตรทรงกลม
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรทรงกลม (ลบ.มม.)
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางทรงกลม (มม.)
ตัวอย่างที่ 3.25 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง
วิธีทา จากสูตร V =
6
TD3
V =
6
3014.3 3

V =
6
2700014.3 
= 14130 ลบ.มม.
 ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง = 14130 ลบ.มม. ตอบ
V =
6
TD3
D
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.7 ปริมาตรพีระมิด
ปริมาตรพีระมิด จะมีค่าเป็น
3
1
ของปริมาตรรูปสี่เหลี่ยมที่มีพื้นที่ฐานและความสูงเท่ากัน กับรูปพีระมิด
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรพีระมิด (ลบ.มม.)
b = ความกว้างพีระมิด (มม.)
h = ความสูงพีระมิด (มม.)
 = ความยาวพีระมิด (มม.)
ตัวอย่างที่ 3.26 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรพีระมิด
วิธีทา จากสูตร V =
3
hb 
แทนค่า V =
3
503030 
= 15000 ลบ.มม.
 ปริมาตรพีระมิด = 15000 ลบ.มม. ตอบ
V =
3
hb 
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.8 ปริมาตรทรงพีระมิดยอดตัด
ในกรณีกาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณหาปริมาตรโดยหาปริมาตรเต็มลบด้วยปริมาตรที่ตัดออก
ปริมาตร = ปริมาตรเต็ม – ปริมาตรตัด
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรพีระมิด (ลบ.มม.)
b1 = ความกว้างพีระมิดเต็ม (มม.)
b2 = ความกว้างพีระมิดตัด (มม.)
1 = ความยาวพีระมิดเต็ม (มม.)
2 = ความยาวพีระมิดตัด (มม.)
h1 = ความสูงพีระมิดเต็ม (มม.)
h1 = ความสูงพีระมิดตัด (มม.)
ตัวอย่างที่ 3.27 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรพีระมิดยอดตัด
วิธีทา จากสูตร V =
3
hb
3
hb 222111 

 
แทนค่า V =
3
1599
3
301818 


V = 3240 – 405
V = 2835 ลบ.มม
 ปริมาตรพีระมิดยอดตัด = 2835 ลบ.มม. ตอบ
V =
3
hb
3
hb 222111 

 
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ในกรณีไม่กาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณโดยใช้สูตร ดังนี้
A1 = 11b 
A2 = 22b 
ตัวอย่างที่ 3.28 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรพีระมิดยอดตัด
วิธีทา จากสูตร V =  2121 AAAA
3
h

หาพื้นที่ส่วนที่ 1 = A1 = 11b 
= 20 20
= 400 ตร.มม.
หาพื้นที่ส่วนที่ 1 = A2 = 22b 
= 10  10
= 100 ตร.มม.
แทนค่า V =  100400100400
3
24

= 8 (500 + 200)
= 8  700
= 5600 ลบ.มม.
 ปริมาตรพีระมิดขวดตัด = 5600 ลบ.มม. ตอบ
V =  2121 AAAA
3
h

วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.9 ปริมาตรทรงกรวยแหลม
ปริมาตรทรงกรวยแหลมจะมีค่าเป็น
3
1 ของปริมาตร
ทรงกระบอกที่มีพื้นที่ฐานและความสูงเท่ากันกับกรวยแหลม
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรกรวยแหลม (ลบ.มม.)
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง (มม.)
h = ความสูงกรวยแหลม (มม.)
ตัวอย่างที่ 3.29 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรกรวยแหลม
วิธีทา จากสูตร V =
12
hD2
π
แทนค่า V =
12
503014.3 2

V = 11775 ลบ.มม.
 ปริมาตรกรวยแหลม = 11775 ลบ.มม. ตอบ
V = h
4
D
3
1 2

π
=
12
hD2
π
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
3.2.10 ปริมาตรทรงกรวยตัด
ในกรณีกาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณหาปริมาตรโดยหาปริมาตรเต็มลบ ด้วยปริมาตรที่ตัดออก
ปริมาตร = ปริมาตรเต็ม – ปริมาตรตัด
เมื่อกาหนด
V = ปริมาตรกรวยตัด (ลบ.มม.)
D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางด้านใหญ่ (มม.)
d = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางด้านเล็ก (มม.)
h1 = ความสูงของกรวยตัดรูปเต็ม (มม.)
h2 = ความสูงของกรวยตัดรูปตัด (มม.)
V =
12
hd
12
hD 22
1
2
ππ

=  22
1
2
hdhD
12

π
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก
ของวัสดุ
2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 3.30 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรทรงกรวยตัด
วิธีทา จากสูตร V =  2
2
1
2
hdhD
12

π
แทนค่า V =  17103320
12
14.3 22

V =  170013200
12
14.3

V =
12
1150014.3 
= 3009.17 ลบ.มม.
 ปริมาตรกรวยตัด = 3009.17 ลบ.มม. ตอบ
ในกรณีไม่กาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณโดยใช้สูตร ดังนี้
ตัวอย่างที่ 3.31 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรกรวยตัด
วิธีทา จากสูตร V =  dDdD
12
h 22

π
แทนค่า V =  20302030
12
5014.3 22


V =  600400900
12
5014.3


V =
12
19005014.3 
V = 24858.33 ลบ.มม.
 ปริมาตรกรวยตัด = 24858.33 ลบ.มม. ตอบ
V =  dDdD
12
h 22

π

More Related Content

Viewers also liked

Matharea[1]
Matharea[1]Matharea[1]
Matharea[1]IKHG
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรguest48c0b10
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 

Viewers also liked (10)

9 3
9 39 3
9 3
 
Matharea[1]
Matharea[1]Matharea[1]
Matharea[1]
 
4 1
4 14 1
4 1
 
8 1
8 18 1
8 1
 
1 4
1 41 4
1 4
 
6 2
6 26 2
6 2
 
4 2
4 24 2
4 2
 
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตรรวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
รวมสูตรพื้นที่และปริมาตร
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 

Similar to 3 2 (12)

3 1
3 13 1
3 1
 
Aaaa
AaaaAaaa
Aaaa
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
Math3tpc3
Math3tpc3Math3tpc3
Math3tpc3
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
Math3tpc3
Math3tpc3Math3tpc3
Math3tpc3
 
3 3
3 33 3
3 3
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
At2
At2At2
At2
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
สูตรคณิต
สูตรคณิตสูตรคณิต
สูตรคณิต
 
Tedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathTedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_math
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

3 2

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ปริมาตร หมายถึง เนื้อในของวัสดุงานหรือมวลที่มีอยู่ภายในเนื้องาน เช่น น้าบรรจุอยู่ภายในถัง มีจานวน 30 ลิตร หมายถึง น้าที่มีอยู่ภายในถังมีจานวน 30 ลิตร หรือ 30 ลูกบาศก์เดซิเมตร (1 ลิตร เท่ากับ 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร) การขยายตัวของวัตถุ 3 ด้าน คือ ความยาว ความกว้าง และความสูง นามาคูณกันจะได้เป็นลูกบาศก์ เช่น 1 ม.  1 ม.  1 ม. ได้ = 1 ม.3 (ลูกบาศก์เดซิเมตร) ปริมาตร จะมีหน่วยเป็นลูกบาศก์นิ้ว ลูกบาศก์เมตร ลูกบาศก์ฟุตและลูกบาศก์เซนติเมตร เป็นต้น 3.2 การคานวณหาปริมาตรรูปทรงต่าง ๆ 3.2.1 ปริมาตรทรงสามเหลี่ยม เมื่อกาหนด V = ปริมาตรของสามเหลี่ยม (ลบ.มม.) b = ความกว้างของสามเหลี่ยม (มม.) h = ความสูงของสามเหลี่ยม (มม.)  = ความยาวของสามเหลี่ยม (มม.) ตัวอย่างที่ 3.18 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรของสามเหลี่ยม วิธีทา จากสูตร V = 2 hb  แทนค่า V = 2 401030  V = 6000 ลบ.มม. ปริมาตรของสามเหลี่ยม = 6000 ลบ.มม. ตอบ V = 2 hb 
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.2 ปริมาตรของลูกบาศก์สี่เหลี่ยม เมื่อกาหนด V = ปริมาตรลูกบาศก์สี่เหลี่ยม (ลบ.มม.)  = ความยาวด้าน (มม.) ตัวอย่างที่ 3.19 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรลูกบาศก์สี่เหลี่ยม วิธีทา จากสูตร V =   แทนค่า V = 20  20  20 V = 8000 ลบ.มม. ปริมาตรลูกบาศก์สี่เหลี่ยม = 8000 ลบ.มม. ตอบ 3.2.3 ปริมาตรของสี่เหลี่ยมผืนผ้า เมื่อกาหนด V = ปริมาตรสี่เหลี่ยมผืนผ้า (ลบ.มม.) b = ความกว้างสี่เหลี่ยมผืนผ้า (มม.) h = ความสูงสี่เหลี่ยมผืนผ้า (มม.)  = ความยาวสี่เหลี่ยมผืนผ้า (มม.) V =   = 3  V = b    h
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.20 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของสี่เหลี่ยมผืนผ้า วิธีทา จากสูตร V = b    h แทนค่า V = 15  30  20 V = 9000 ลบ.มม.  ปริมาตรสี่เหลี่ยมผืนผ้า = 9000 ลบ.มม. ตอบ 3.2.4 ปริมาตรทรงกระบอก เมื่อกาหนด V = ปริมาตรทรงกระบอก (ลบ.มม.) D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางทรงกระบอก (มม.) *ในกรณีงานอยู่ในแนวนอนใช้  = ความยาวชิ้นงานทรงกระบอก (มม.) *ในกรณีงานอยู่ในแนวตั้งใช้ h = ความสูงชิ้นงานทรงกระบอก (มม.) V =  4 D2 π
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.21 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก แนวนอน วิธีทา จากสูตร V =  4 D2 π แทนค่า V = 4 402014.3 2  = 12560 ลบ.มม.  ปริมาตรของทรงกระบอกแนวนอน = 12560 ลบ.มม. ตอบ ตัวอย่างที่ 3.22 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก แนวตั้ง วิธีทา จากสูตร V = h 4 D2  π แทนค่า V = 4 301014.3 2  = 2355 ลบ.มม.  ปริมาตรของทรงกระบอกแนวนอน = 2355 ลบ.มม. ตอบ
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.5 ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง ปริมาตรทรงกระบอกกลวงหาได้จากการหาปริมาตรทรงกระบอกใหญ่ ลบ ด้วยปริมาตรทรงกระบอกเล็ก =  22 dD 4  π หรือ =  22 dD 4 h  π เมื่อกาหนด V = ปริมาตรทรงกระบอก (ลบ.มม.) D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโตนอก (มม.) d = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางโตใน (มม.) *ในกรณีงานอยู่ในแนวนอนใช้  = ความยาวทรงกระบอก (มม.) *ในกรณีงานอยู่ในแนวตั้งใช้ h = ความสูงทรงกระบอก (มม.) V =  4 D2 π -  4 D2 π V = h 4 D2  π - h 4 D2  π
  • 6. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.23 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวนอน วิธีทา จากสูตร V =  22 dD 4  π แทนค่า V =   4 10204014.3 22  V =   4 1004004014.3  V = 4 3004014.3  = 9420 ลบ.มม.  ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง = 9420 ลบ.มม. ตอบ ตัวอย่างที่ 3.24 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง วิธีทา จากสูตร V =  22 dD 4 h  π แทนค่า V =   4 15305014.3 22  V =   4 2259005014.3  V = 4 6755014.3  = 26493.75 ลบ.มม.  ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง = 26493.75 ลบ.มม. ตอบ
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.6 ปริมาตรทรงกลม เมื่อกาหนด V = ปริมาตรทรงกลม (ลบ.มม.) D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางทรงกลม (มม.) ตัวอย่างที่ 3.25 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง วิธีทา จากสูตร V = 6 TD3 V = 6 3014.3 3  V = 6 2700014.3  = 14130 ลบ.มม.  ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง แนวตั้ง = 14130 ลบ.มม. ตอบ V = 6 TD3 D
  • 8. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.7 ปริมาตรพีระมิด ปริมาตรพีระมิด จะมีค่าเป็น 3 1 ของปริมาตรรูปสี่เหลี่ยมที่มีพื้นที่ฐานและความสูงเท่ากัน กับรูปพีระมิด เมื่อกาหนด V = ปริมาตรพีระมิด (ลบ.มม.) b = ความกว้างพีระมิด (มม.) h = ความสูงพีระมิด (มม.)  = ความยาวพีระมิด (มม.) ตัวอย่างที่ 3.26 จากรูปจงคานวณหาปริมาตรพีระมิด วิธีทา จากสูตร V = 3 hb  แทนค่า V = 3 503030  = 15000 ลบ.มม.  ปริมาตรพีระมิด = 15000 ลบ.มม. ตอบ V = 3 hb 
  • 9. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.8 ปริมาตรทรงพีระมิดยอดตัด ในกรณีกาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณหาปริมาตรโดยหาปริมาตรเต็มลบด้วยปริมาตรที่ตัดออก ปริมาตร = ปริมาตรเต็ม – ปริมาตรตัด เมื่อกาหนด V = ปริมาตรพีระมิด (ลบ.มม.) b1 = ความกว้างพีระมิดเต็ม (มม.) b2 = ความกว้างพีระมิดตัด (มม.) 1 = ความยาวพีระมิดเต็ม (มม.) 2 = ความยาวพีระมิดตัด (มม.) h1 = ความสูงพีระมิดเต็ม (มม.) h1 = ความสูงพีระมิดตัด (มม.) ตัวอย่างที่ 3.27 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรพีระมิดยอดตัด วิธีทา จากสูตร V = 3 hb 3 hb 222111     แทนค่า V = 3 1599 3 301818    V = 3240 – 405 V = 2835 ลบ.มม  ปริมาตรพีระมิดยอดตัด = 2835 ลบ.มม. ตอบ V = 3 hb 3 hb 222111    
  • 10. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ในกรณีไม่กาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณโดยใช้สูตร ดังนี้ A1 = 11b  A2 = 22b  ตัวอย่างที่ 3.28 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรพีระมิดยอดตัด วิธีทา จากสูตร V =  2121 AAAA 3 h  หาพื้นที่ส่วนที่ 1 = A1 = 11b  = 20 20 = 400 ตร.มม. หาพื้นที่ส่วนที่ 1 = A2 = 22b  = 10  10 = 100 ตร.มม. แทนค่า V =  100400100400 3 24  = 8 (500 + 200) = 8  700 = 5600 ลบ.มม.  ปริมาตรพีระมิดขวดตัด = 5600 ลบ.มม. ตอบ V =  2121 AAAA 3 h 
  • 11. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.9 ปริมาตรทรงกรวยแหลม ปริมาตรทรงกรวยแหลมจะมีค่าเป็น 3 1 ของปริมาตร ทรงกระบอกที่มีพื้นที่ฐานและความสูงเท่ากันกับกรวยแหลม เมื่อกาหนด V = ปริมาตรกรวยแหลม (ลบ.มม.) D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง (มม.) h = ความสูงกรวยแหลม (มม.) ตัวอย่างที่ 3.29 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรกรวยแหลม วิธีทา จากสูตร V = 12 hD2 π แทนค่า V = 12 503014.3 2  V = 11775 ลบ.มม.  ปริมาตรกรวยแหลม = 11775 ลบ.มม. ตอบ V = h 4 D 3 1 2  π = 12 hD2 π
  • 12. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน 3.2.10 ปริมาตรทรงกรวยตัด ในกรณีกาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณหาปริมาตรโดยหาปริมาตรเต็มลบ ด้วยปริมาตรที่ตัดออก ปริมาตร = ปริมาตรเต็ม – ปริมาตรตัด เมื่อกาหนด V = ปริมาตรกรวยตัด (ลบ.มม.) D = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางด้านใหญ่ (มม.) d = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางด้านเล็ก (มม.) h1 = ความสูงของกรวยตัดรูปเต็ม (มม.) h2 = ความสูงของกรวยตัดรูปตัด (มม.) V = 12 hd 12 hD 22 1 2 ππ  =  22 1 2 hdhD 12  π
  • 13. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 3 พื้นที่ ปริมาตร มวลและน้าหนัก ของวัสดุ 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 3.2 ปริมาตรของรูปทรงต่าง ๆ  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 3.30 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรทรงกรวยตัด วิธีทา จากสูตร V =  2 2 1 2 hdhD 12  π แทนค่า V =  17103320 12 14.3 22  V =  170013200 12 14.3  V = 12 1150014.3  = 3009.17 ลบ.มม.  ปริมาตรกรวยตัด = 3009.17 ลบ.มม. ตอบ ในกรณีไม่กาหนดความสูงทั้งหมดมาให้ ให้คานวณโดยใช้สูตร ดังนี้ ตัวอย่างที่ 3.31 จากรูป จงคานวณหาปริมาตรกรวยตัด วิธีทา จากสูตร V =  dDdD 12 h 22  π แทนค่า V =  20302030 12 5014.3 22   V =  600400900 12 5014.3   V = 12 19005014.3  V = 24858.33 ลบ.มม.  ปริมาตรกรวยตัด = 24858.33 ลบ.มม. ตอบ V =  dDdD 12 h 22  π