SlideShare a Scribd company logo
การสารวจทางทะเล




นายพรเทพ           สาระคนธ์   เลขที่ 3
นางสาวกฤตพร        สินโพธิ์   เลขที่ 11
นางสาวคันธารัตน์   หลวงฟอง    เลขที่ 14
การสารวจทางทะเลของยุโรปเริ่มต้นเมื่อ ค.ศ.1450-1750
ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการของยุโรป และ
ต่างก็มีบทบาทสาคัญต่อประวัติศาสตร์ยุโรปในยุคใหม่ กล่าวได้ว่าการ
ฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นพื้นฐานสาคัญทาให้เกิดการสารวจทางทะเล ซึ่ง
เป็นผลทาให้ยุโรปเผยแพร่วัฒนธรรมของตนไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ ของโลกได้
ในเวลาต่อมา
สาเหตุของการสารวจทางทะเล
1. การมีวิทยาการที่ก้าวหน้า




      ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปได้เริ่มหันมาสนใจ ศึกษา
สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวมากขึ้นความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนทีของ
                                                        ่
ปโตเลมี ความรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนาเรือ ให้แข็งแรงทนทาน
ต่อสภาพลมฟ้าอากาศ สามารถที่จะเดินทางไกลได้ดีขึ้น ทาให้ชาติ
ตะวันตกหลั่งไหลสู่โลกตะวันออก
แผนที่ของปโตเลมี
2. แรงผลักดันทางด้านการค้า
     เมื่อพวกมุสลิมสามารถยึดครองกรุง
คอนสแตนติโนเบิล และดินแดน
จักรวรรดิไบเซนไทน์ ได้ทั้งหมด ทาให้
การค้าทางบกระหว่างโลก ตะวันออกกับ
โลกตะวันตกหยุดชะงัก
     แต่สินค้าต่างๆ จากตะวันออก เช่น
ผ้าไหม เครื่องเทศ ยังเป็นที่ต้องการของ
ตลาดตะวันตก จึงจาเป็นต้องสารวจเส้น
ทางทะเลเพื่อติดต่อกับโลกตะวันออก
3. แรงผลักดันทางด้านศาสนา
      เนื่องจากความคิดของผู้นา
ชาติต่างๆ เห็นว่าการเผยแผ่คริสต์
ศาสนาเป็นกุศลอย่างมาก รวมทั้ง
ต้องการแข่งขันกับชาวมุสลิมที่เข้า
มาขยายอิทธิพลอยู่ในขณะนั้น
     จึงสนับสนุนให้มีการค้นหา
ดินแดนใหม่ๆ และเผยแผ่คริสต์
ศาสนาไป พร้อมกันด้วย
4. อิทธิพลของแนวคิดในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
       แนวความคิดในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทาให้ชาวยุโรปมุ่งหวัง
 ที่จะสร้างชื่อเสียงเกียรติยศ ผลักดันให้ชาวยุโรปเกิดความความ
 กระตือรือร้นที่จะแสวงหาความรู้ใหม่ๆ และรักการผจญภัย เป็นปัจจัย
 สาคัญที่ทาให้ชาวยุโรปกล้าเสี่ยงภัยเดิน ทางสารวจมหาสมุทรที่กว้าง
 ใหญ่ไพศาล
อารยธรรมยุโรปเผยแพร่ไปสู่ดินแดนอื่น
                        โดยชาวยุโรป ได้สร้างเมือง
                  และความเจริญต่างๆ เพื่อให้ตน
                  สามารถดาเนินชีวิตได้ตามแบบที่
                  คุ้นเคย จึงเกิดการ แพร่กระจาย
                  วัฒนธรรมตามแบบตะวันตก เช่น
                  ภาษา การแต่งกาย อาหาร ระบบ
                  การปกครอง ศิลปกรรม เช่น การ
                  ก่อสร้างถนน สะพาน สถานที่
                  ราชการ โบสถ์ วิหาร เป็นต้น
บทบาทของชาติต่างๆ ในการสารวจทางทะเล
โปรตุเกส




คริสต์ศตวรรษที่ 15
          เจ้าชายเฮนรีนาวิกราช (Henry the Navigator) พระอนุชาของพระเจ้า
จอห์นที่ 1 (John I) แห่งโปรตุเกส ได้จัดตั้งโรงเรียนราชนาวีเพื่อเป็นศูนย์กลาง
การเรียนรู้เกี่ยวกับการเดินทางทะเล การใช้เครื่องมือและเทคนิคการสร้างเรือ
ซึ่งส่งผลให้ชาวโปรตุเกสสามารถค้นพบเส้นทางเดินเรือสู่ดินแดนตะวันออก
ได้แก่
บาร์โธโลมิว ไดแอส (Bartholomeu Dias) สามารถเดินเรือเลียบ
ชายฝั่งทวีปแอฟริกาผ่านแหลมกู๊ดโฮป(Cape of Good Hope) ได้สาเร็จใน
ค.ศ.1488
วัลโก ดา กามา (Vasco da Gama) แล่นเรือตามเส้นทางสารวจ
ของไดแอสจนถึงทวีปเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่งที่ เมืองกาลิกัต (Calicut) ของ
อินเดียได้เมื่อ ค.ศ.1498 ต่อมาชาวโปรตุเกสสามารถควบคุมเมืองต่างๆ ทาง
ชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกาและอินเดียทางชายฝั่งตะวันตก สามารถ
ยึดเมืองกัว (Goa) มหาสมุทรอินเดียได้
สเปน



ค.ศ.1492
        คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus) ชาวเมืองเจนัว
ประเทศอิตาลี ซึ่งมีความเชื่อว่าโลกกลม ได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์สเปนให้
เดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก เพื่อสารวจเส้นทางเดินเรือไปประเทศจีน แต่
เขาได้พบหมู่เกาะเวสต์อินดีสซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทวีปอเมริกาใต้โดยบังเอิญใน
ค.ศ.1492       ซึ่งทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในอเมริกาใต้ที่อุดม
สมบูรณ์ด้วยแร่เงินและทองคา
คริสต์ศตวรรษที่ 15
          เป็นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่างโปรตุเกสและสเปน
เพื่อหาเส้นทางไปหมู่เกาะอีสต์อินดีส (East Indies) ซึ่งเป็นแหล่งเครื่องเทศ
และพริกไทย
ค.ศ.1494
        สันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (Alexander VI) ได้ให้สเปนและ
โปรตุเกสทาสนธิสัญญาทอร์เดซียัส (Treaty of Tordesillas) กาหนดเส้นสมมติ
แบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วน โดยสเปนมีสิทธิสารวจและยึดครองดินแดนทางด้าน
ตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่ 51 ส่วนโปรตุเกสได้สิทธิด้านตะวันออกและนาไปสู่
การสร้างจักรวรรดิทางทะเลของโปรตุเกสในเอเชีย
คริสต์ศตวรรษที่ 16
         โปรตุเกสได้ขยายอานาจมาจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเข้ายึด
ครองมะละกา ทาให้บริเวณคาบสมุทรมลายูและหมูเกาะอินโดนีเซียตกอยู่
ภายใต้อิทธิพลของโปรตุเกส
ค.ศ.1519
          Ferdinand Magellan นักเดินเรือชาวโปรตุเกสโดยความสนับสนุนจาก
กษัตริย์สเปนได้เดินทางไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติกผ่านช่อง
แคบที่ ภ ายหลั ง ตั้ ง ชื่ อ ว่ า แมกเจลลั น ทางตอนใต้ ข องทวี ป อเมริ ก าใต้ ข้ า ม
มหาสมุทรแปซิฟิกมาทางทวีปเอเชีย เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตายเมื่อพยายาม
เผยแพร่ศาสนาคริสต์ที่เกาะฟิลิป ปินส์ แต่ลุกเรือของเขาสามารเดินทางกลับ
สเปนทางมหาสมุทรอินเดียได้ใน ค.ศ.1522 นับเป็นการเดินเรือรอบโลกได้สาเร็จ
เป็นครั้งแรก
ในยุคนี้โปรตุเกสและสเปนกลายเป็นชาติที่มีมหาอานาจ มีความ
มั่งคั่ง ทาให้หลายชาติทาการสารวจเส้นทางการดาเนินเรือ การแข่งขันอานาจ
ทางทะเลระหว่ า งโปรตุ เ กสกั บ สเปนยุ ติ ล งเมื่ อ โปรตุ เ กสตกอยู่ ภ ายใต้ ก าร
ปกครองของสเปนในช่วง ค.ศ.1580-1640
ฮอลันดา




          เดิมฮอลันดาตกอยู่ภายใต้การปกครองของสเปนและทาหน้าที่เป็นคน
กลางในการค้าเครื่องเทศ จนกระทั่ง ค.ศ.1581 ได้แยกตัวเป็นอิสระ ทาให้สเปน
ประกาศปิดท่าเรือลิสบอนส่งผลให้ฮอลันดาไม่สามารถซื้อขายเครื่องเทศได้อีก จึง
ต้องหาเส้นทางทะเลเพื่อซื้อเครื่องเทศโดยตรง ในที่สุดกองทัพเรือของฮอลันดาก็
สามารถยึดอานาจทางทะเลใน ค.ศ.1598 และได้จัดตั้งสถานีการค้าในเกาะชวา
และจัดตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกเพื่อควบคุมการค้าเครื่องเทศ
ค.ศ.1605
          เรือดุฟแกน (Duyfken) ของฮอลันดาที่เป็นเรือค้นหาเกาะทองคาที่เชื่อ
ว่าอยู่ทางทิศใต้และทิศตะวันออกของเกาะชวา ได้ค้นพบทวีปออสเตรเลียเป็นครั้ง
แรก และเรียนทวีปนี้ว่า นิวฮอลแลนด์ (New Holland) แต่ในคริสต์ศตวรรษที่
18 อังกฤษได้ครอบครองและเรียกทวีปนี้ว่า ออสเตรเลีย ซึ่งมาจาก Australis ใน
ภาษากรีก แปลว่า ดินแดนทางซีกโลกใต้
อังกฤษ




ค.ศ.1588
         กองทัพเรืออังกฤษทาสงครามชนะกองทัพอาร์มาดา (Armada) ของ
สเปนที่มีชื่อเสียงได้ ทาให้อังกฤษขยายอิทธิพลสู่ดินแดนตะวันออก สามารถสลาย
อานาจทางทะเลของโปรตุเกสและเข้าไปมีอานาจและอิทธิพลในอินเดีย และเป็นคู่แข่ง
ทางการค้ากับฮอลันดา
คริสต์ศตวรรษที่ 17
         มีเพียงอังกฤษ ฮอลันดา และฝรั่งเศส แข่งกันมีอานาจทางทะเลและ
แสงวหาอาณานิคม ทั้งนี้ได้มีการทาสงครามกันหลายครั้ง ในที่สุดฮอลันดา
ยังคงมีอานาจแถบมะละกาและควบคุมการค้าเครื่องเทศในหมู่เกาะเครื่องเทศ
ต่อไป จนถึง ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18          อังกฤษกลับเป็นประเทศที่มี
แสนยานุภาพทางทะเลเหนือ กว่าชาติอื่น โดยได้อ าณานิ ค มในแถบอิ นเดี ย
อเมริกาเหนือ และออสเตรเลียทั้งทวีป
ผลการสารวจทางทะเล
1. ยุโรปได้รับอารยธรรมจากดินแดนอื่นๆ
     วิทยาการของชาวตะวันออก เช่น การ เดินเรือ ศิลปะจีนที่เน้น
ความงดงามของธรรมชาติ อารยธรรมของอิสลาม เช่น คณิตศาสตร์
การ ดื่มชาแบบจีน กาแฟจากตุรกี ยาสูบจากหมู่เกาะเวสต์อินดีส
น้าตาลจากบราซิล และมันฝรั่งจาก อเมริกาใต้ ได้มีบทบาทสาคัญต่อ
การดาเนินชีวตของชาวยุโรป
            ิ
2. เกิดการแพร่กระจายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
ชาวยุโรปได้นาพันธุ์พืชและนาสัตว์
  ต่างๆ ไปยัง ทวีปอื่น จากถิ่น
  กาเนิด ไปยังภูมิภาคอื่นๆ
• นากาแฟจากดินแดนตะวันออก
  กลางมาที่เกาะชวาและแพร่ไป
  ยังอเมริกาใต้
• ต้นยางพารา จากบราซิลมาที่
  อินโดนีเซียและมาเลเซีย ต่อมา
  ได้ขยายทางภาคใต้ของไทย
3. เกิดการแพร่กระจายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์

• มันฝรั่งและข้าวโพดจากทวีป
  อเมริกามาปลูกในยุโรป
• ปลูกข้าวโอ๊ตและ ข้าวโพดใน
  ทวีปแอฟริกา
• หัวผักกาดหวานจากทวีป
  อเมริกามาปลูกที่จีน
• นา แกะ ไปแพร่พันธุ์ที่
  ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
4. เกิดการระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ
     โรคระบาดมาพร้อมๆ กับเรือของชาวยุโรป โรคระบาดที่สาคัญ
เช่น โรคหัด และฝีดาษในอเมริกาเหนือ ไข้เหลืองและไข้มาลาเรียที่มี
มากใน แอฟริกามา ระบาดในอเมริกากลางและใต้ เป็นต้น
5. ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายไปในดินแดนต่างๆ
      ในบางแห่งใช้แบบสันติวิธี โดย
บาทหลวงจะทา หน้าที่สั่งสอนให้
การศึกษากับชาวพื้นเมืองและช่วย
เหลือด้านมนุษยธรรม ในบางแห่งใช้
วิธีการรุนแรงบีบ บังคับคนพื้นเมืองใน
บริเวณอเมริกากลางและ อเมริกาใต้ ให้
มาเข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนา ทาให้
ศาสนาคริสต์เจริญอย่างมั่นคงใน
ดินแดนทวีปอเมริกา และดินแดนต่างๆ

More Related Content

What's hot

ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
Kornnicha Wonglai
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
wittawat_name
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
ssuseradaad2
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
mnfaim aaaa
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
Noo Suthina
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

What's hot (20)

ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 

Viewers also liked

การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
Warinthorn Limpanakorn
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
fuangfaa
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
Female'PiAtip BoOn Paeng
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
กฤตพร สุดสงวน
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
Ploynaput Kritsornluk
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
Jeeji Supadda Phokaew
 
Age of Exploration Power Point
Age of Exploration Power PointAge of Exploration Power Point
Age of Exploration Power Pointjanetdiederich
 
Digital pr & Web Reputation
Digital pr & Web ReputationDigital pr & Web Reputation
Anatomia con orientacion clinica moore
Anatomia con orientacion clinica   mooreAnatomia con orientacion clinica   moore
Anatomia con orientacion clinica mooreMANUEL RIVERA
 

Viewers also liked (20)

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
Age of Exploration Power Point
Age of Exploration Power PointAge of Exploration Power Point
Age of Exploration Power Point
 
เมียร์มาร์
เมียร์มาร์เมียร์มาร์
เมียร์มาร์
 
War sor
War sorWar sor
War sor
 
ลักษณะภูมิภาคของแอฟริกา
ลักษณะภูมิภาคของแอฟริกาลักษณะภูมิภาคของแอฟริกา
ลักษณะภูมิภาคของแอฟริกา
 
Digital pr & Web Reputation
Digital pr & Web ReputationDigital pr & Web Reputation
Digital pr & Web Reputation
 
Anatomia con orientacion clinica moore
Anatomia con orientacion clinica   mooreAnatomia con orientacion clinica   moore
Anatomia con orientacion clinica moore
 

Similar to สำรวจทะเล2

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
Juno Nuttatida
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
MiOo Gie
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือhackinteach
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
ประเทศสเปน
ประเทศสเปนประเทศสเปน
ประเทศสเปน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้hackinteach
 
อเมริกาใต้
อเมริกาใต้อเมริกาใต้
อเมริกาใต้Krittamat
 
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันTat Samui
 

Similar to สำรวจทะเล2 (11)

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
ประเทศสเปน
ประเทศสเปนประเทศสเปน
ประเทศสเปน
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 
อเมริกาใต้
อเมริกาใต้อเมริกาใต้
อเมริกาใต้
 
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
 
Evolotion
EvolotionEvolotion
Evolotion
 
Evolotion
EvolotionEvolotion
Evolotion
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

สำรวจทะเล2

  • 1. การสารวจทางทะเล นายพรเทพ สาระคนธ์ เลขที่ 3 นางสาวกฤตพร สินโพธิ์ เลขที่ 11 นางสาวคันธารัตน์ หลวงฟอง เลขที่ 14
  • 2. การสารวจทางทะเลของยุโรปเริ่มต้นเมื่อ ค.ศ.1450-1750 ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการของยุโรป และ ต่างก็มีบทบาทสาคัญต่อประวัติศาสตร์ยุโรปในยุคใหม่ กล่าวได้ว่าการ ฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นพื้นฐานสาคัญทาให้เกิดการสารวจทางทะเล ซึ่ง เป็นผลทาให้ยุโรปเผยแพร่วัฒนธรรมของตนไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ ของโลกได้ ในเวลาต่อมา
  • 4. 1. การมีวิทยาการที่ก้าวหน้า ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ชาวยุโรปได้เริ่มหันมาสนใจ ศึกษา สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวมากขึ้นความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนทีของ ่ ปโตเลมี ความรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนาเรือ ให้แข็งแรงทนทาน ต่อสภาพลมฟ้าอากาศ สามารถที่จะเดินทางไกลได้ดีขึ้น ทาให้ชาติ ตะวันตกหลั่งไหลสู่โลกตะวันออก
  • 6. 2. แรงผลักดันทางด้านการค้า เมื่อพวกมุสลิมสามารถยึดครองกรุง คอนสแตนติโนเบิล และดินแดน จักรวรรดิไบเซนไทน์ ได้ทั้งหมด ทาให้ การค้าทางบกระหว่างโลก ตะวันออกกับ โลกตะวันตกหยุดชะงัก แต่สินค้าต่างๆ จากตะวันออก เช่น ผ้าไหม เครื่องเทศ ยังเป็นที่ต้องการของ ตลาดตะวันตก จึงจาเป็นต้องสารวจเส้น ทางทะเลเพื่อติดต่อกับโลกตะวันออก
  • 7. 3. แรงผลักดันทางด้านศาสนา เนื่องจากความคิดของผู้นา ชาติต่างๆ เห็นว่าการเผยแผ่คริสต์ ศาสนาเป็นกุศลอย่างมาก รวมทั้ง ต้องการแข่งขันกับชาวมุสลิมที่เข้า มาขยายอิทธิพลอยู่ในขณะนั้น จึงสนับสนุนให้มีการค้นหา ดินแดนใหม่ๆ และเผยแผ่คริสต์ ศาสนาไป พร้อมกันด้วย
  • 8. 4. อิทธิพลของแนวคิดในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ แนวความคิดในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทาให้ชาวยุโรปมุ่งหวัง ที่จะสร้างชื่อเสียงเกียรติยศ ผลักดันให้ชาวยุโรปเกิดความความ กระตือรือร้นที่จะแสวงหาความรู้ใหม่ๆ และรักการผจญภัย เป็นปัจจัย สาคัญที่ทาให้ชาวยุโรปกล้าเสี่ยงภัยเดิน ทางสารวจมหาสมุทรที่กว้าง ใหญ่ไพศาล
  • 9. อารยธรรมยุโรปเผยแพร่ไปสู่ดินแดนอื่น โดยชาวยุโรป ได้สร้างเมือง และความเจริญต่างๆ เพื่อให้ตน สามารถดาเนินชีวิตได้ตามแบบที่ คุ้นเคย จึงเกิดการ แพร่กระจาย วัฒนธรรมตามแบบตะวันตก เช่น ภาษา การแต่งกาย อาหาร ระบบ การปกครอง ศิลปกรรม เช่น การ ก่อสร้างถนน สะพาน สถานที่ ราชการ โบสถ์ วิหาร เป็นต้น
  • 11. โปรตุเกส คริสต์ศตวรรษที่ 15 เจ้าชายเฮนรีนาวิกราช (Henry the Navigator) พระอนุชาของพระเจ้า จอห์นที่ 1 (John I) แห่งโปรตุเกส ได้จัดตั้งโรงเรียนราชนาวีเพื่อเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้เกี่ยวกับการเดินทางทะเล การใช้เครื่องมือและเทคนิคการสร้างเรือ ซึ่งส่งผลให้ชาวโปรตุเกสสามารถค้นพบเส้นทางเดินเรือสู่ดินแดนตะวันออก ได้แก่
  • 12. บาร์โธโลมิว ไดแอส (Bartholomeu Dias) สามารถเดินเรือเลียบ ชายฝั่งทวีปแอฟริกาผ่านแหลมกู๊ดโฮป(Cape of Good Hope) ได้สาเร็จใน ค.ศ.1488
  • 13. วัลโก ดา กามา (Vasco da Gama) แล่นเรือตามเส้นทางสารวจ ของไดแอสจนถึงทวีปเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่งที่ เมืองกาลิกัต (Calicut) ของ อินเดียได้เมื่อ ค.ศ.1498 ต่อมาชาวโปรตุเกสสามารถควบคุมเมืองต่างๆ ทาง ชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกาและอินเดียทางชายฝั่งตะวันตก สามารถ ยึดเมืองกัว (Goa) มหาสมุทรอินเดียได้
  • 14. สเปน ค.ศ.1492 คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus) ชาวเมืองเจนัว ประเทศอิตาลี ซึ่งมีความเชื่อว่าโลกกลม ได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์สเปนให้ เดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก เพื่อสารวจเส้นทางเดินเรือไปประเทศจีน แต่ เขาได้พบหมู่เกาะเวสต์อินดีสซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทวีปอเมริกาใต้โดยบังเอิญใน ค.ศ.1492 ซึ่งทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ในอเมริกาใต้ที่อุดม สมบูรณ์ด้วยแร่เงินและทองคา
  • 15. คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นช่วงการแข่งขันอานาจทางทะเลระหว่างโปรตุเกสและสเปน เพื่อหาเส้นทางไปหมู่เกาะอีสต์อินดีส (East Indies) ซึ่งเป็นแหล่งเครื่องเทศ และพริกไทย
  • 16. ค.ศ.1494 สันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (Alexander VI) ได้ให้สเปนและ โปรตุเกสทาสนธิสัญญาทอร์เดซียัส (Treaty of Tordesillas) กาหนดเส้นสมมติ แบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วน โดยสเปนมีสิทธิสารวจและยึดครองดินแดนทางด้าน ตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่ 51 ส่วนโปรตุเกสได้สิทธิด้านตะวันออกและนาไปสู่ การสร้างจักรวรรดิทางทะเลของโปรตุเกสในเอเชีย
  • 17. คริสต์ศตวรรษที่ 16 โปรตุเกสได้ขยายอานาจมาจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเข้ายึด ครองมะละกา ทาให้บริเวณคาบสมุทรมลายูและหมูเกาะอินโดนีเซียตกอยู่ ภายใต้อิทธิพลของโปรตุเกส
  • 18. ค.ศ.1519 Ferdinand Magellan นักเดินเรือชาวโปรตุเกสโดยความสนับสนุนจาก กษัตริย์สเปนได้เดินทางไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติกผ่านช่อง แคบที่ ภ ายหลั ง ตั้ ง ชื่ อ ว่ า แมกเจลลั น ทางตอนใต้ ข องทวี ป อเมริ ก าใต้ ข้ า ม มหาสมุทรแปซิฟิกมาทางทวีปเอเชีย เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตายเมื่อพยายาม เผยแพร่ศาสนาคริสต์ที่เกาะฟิลิป ปินส์ แต่ลุกเรือของเขาสามารเดินทางกลับ สเปนทางมหาสมุทรอินเดียได้ใน ค.ศ.1522 นับเป็นการเดินเรือรอบโลกได้สาเร็จ เป็นครั้งแรก
  • 19. ในยุคนี้โปรตุเกสและสเปนกลายเป็นชาติที่มีมหาอานาจ มีความ มั่งคั่ง ทาให้หลายชาติทาการสารวจเส้นทางการดาเนินเรือ การแข่งขันอานาจ ทางทะเลระหว่ า งโปรตุ เ กสกั บ สเปนยุ ติ ล งเมื่ อ โปรตุ เ กสตกอยู่ ภ ายใต้ ก าร ปกครองของสเปนในช่วง ค.ศ.1580-1640
  • 20. ฮอลันดา เดิมฮอลันดาตกอยู่ภายใต้การปกครองของสเปนและทาหน้าที่เป็นคน กลางในการค้าเครื่องเทศ จนกระทั่ง ค.ศ.1581 ได้แยกตัวเป็นอิสระ ทาให้สเปน ประกาศปิดท่าเรือลิสบอนส่งผลให้ฮอลันดาไม่สามารถซื้อขายเครื่องเทศได้อีก จึง ต้องหาเส้นทางทะเลเพื่อซื้อเครื่องเทศโดยตรง ในที่สุดกองทัพเรือของฮอลันดาก็ สามารถยึดอานาจทางทะเลใน ค.ศ.1598 และได้จัดตั้งสถานีการค้าในเกาะชวา และจัดตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกเพื่อควบคุมการค้าเครื่องเทศ
  • 21. ค.ศ.1605 เรือดุฟแกน (Duyfken) ของฮอลันดาที่เป็นเรือค้นหาเกาะทองคาที่เชื่อ ว่าอยู่ทางทิศใต้และทิศตะวันออกของเกาะชวา ได้ค้นพบทวีปออสเตรเลียเป็นครั้ง แรก และเรียนทวีปนี้ว่า นิวฮอลแลนด์ (New Holland) แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อังกฤษได้ครอบครองและเรียกทวีปนี้ว่า ออสเตรเลีย ซึ่งมาจาก Australis ใน ภาษากรีก แปลว่า ดินแดนทางซีกโลกใต้
  • 22. อังกฤษ ค.ศ.1588 กองทัพเรืออังกฤษทาสงครามชนะกองทัพอาร์มาดา (Armada) ของ สเปนที่มีชื่อเสียงได้ ทาให้อังกฤษขยายอิทธิพลสู่ดินแดนตะวันออก สามารถสลาย อานาจทางทะเลของโปรตุเกสและเข้าไปมีอานาจและอิทธิพลในอินเดีย และเป็นคู่แข่ง ทางการค้ากับฮอลันดา
  • 23. คริสต์ศตวรรษที่ 17 มีเพียงอังกฤษ ฮอลันดา และฝรั่งเศส แข่งกันมีอานาจทางทะเลและ แสงวหาอาณานิคม ทั้งนี้ได้มีการทาสงครามกันหลายครั้ง ในที่สุดฮอลันดา ยังคงมีอานาจแถบมะละกาและควบคุมการค้าเครื่องเทศในหมู่เกาะเครื่องเทศ ต่อไป จนถึง ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 อังกฤษกลับเป็นประเทศที่มี แสนยานุภาพทางทะเลเหนือ กว่าชาติอื่น โดยได้อ าณานิ ค มในแถบอิ นเดี ย อเมริกาเหนือ และออสเตรเลียทั้งทวีป
  • 25. 1. ยุโรปได้รับอารยธรรมจากดินแดนอื่นๆ วิทยาการของชาวตะวันออก เช่น การ เดินเรือ ศิลปะจีนที่เน้น ความงดงามของธรรมชาติ อารยธรรมของอิสลาม เช่น คณิตศาสตร์ การ ดื่มชาแบบจีน กาแฟจากตุรกี ยาสูบจากหมู่เกาะเวสต์อินดีส น้าตาลจากบราซิล และมันฝรั่งจาก อเมริกาใต้ ได้มีบทบาทสาคัญต่อ การดาเนินชีวตของชาวยุโรป ิ
  • 26. 2. เกิดการแพร่กระจายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ชาวยุโรปได้นาพันธุ์พืชและนาสัตว์ ต่างๆ ไปยัง ทวีปอื่น จากถิ่น กาเนิด ไปยังภูมิภาคอื่นๆ • นากาแฟจากดินแดนตะวันออก กลางมาที่เกาะชวาและแพร่ไป ยังอเมริกาใต้ • ต้นยางพารา จากบราซิลมาที่ อินโดนีเซียและมาเลเซีย ต่อมา ได้ขยายทางภาคใต้ของไทย
  • 27. 3. เกิดการแพร่กระจายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ • มันฝรั่งและข้าวโพดจากทวีป อเมริกามาปลูกในยุโรป • ปลูกข้าวโอ๊ตและ ข้าวโพดใน ทวีปแอฟริกา • หัวผักกาดหวานจากทวีป อเมริกามาปลูกที่จีน • นา แกะ ไปแพร่พันธุ์ที่ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
  • 28. 4. เกิดการระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ โรคระบาดมาพร้อมๆ กับเรือของชาวยุโรป โรคระบาดที่สาคัญ เช่น โรคหัด และฝีดาษในอเมริกาเหนือ ไข้เหลืองและไข้มาลาเรียที่มี มากใน แอฟริกามา ระบาดในอเมริกากลางและใต้ เป็นต้น
  • 29. 5. ศาสนาคริสต์ได้แผ่ขยายไปในดินแดนต่างๆ ในบางแห่งใช้แบบสันติวิธี โดย บาทหลวงจะทา หน้าที่สั่งสอนให้ การศึกษากับชาวพื้นเมืองและช่วย เหลือด้านมนุษยธรรม ในบางแห่งใช้ วิธีการรุนแรงบีบ บังคับคนพื้นเมืองใน บริเวณอเมริกากลางและ อเมริกาใต้ ให้ มาเข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนา ทาให้ ศาสนาคริสต์เจริญอย่างมั่นคงใน ดินแดนทวีปอเมริกา และดินแดนต่างๆ