SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
เสนอ อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักดิโ์สภณกุล 
จัดทาโดย 
นส.ณัฐรุจา บูรณะโอสถ เลขที่ 40 ม.6.1 
นส.ปัฐ 
ชญา ลาภปรารถนา เลขที่ 42 ม.6.1 
รายวิชา ส33102 ปีการศึกษา 2557
การสารวจเส้นทางการเดินเรือ 
ค.ศ. 1450-1750 เมื่อยุโรปได้เปิด 
น่านน้า กับโลกตะวันออก ทา ให้พ่อค้ายุโรป 
นอกจากจะสามารถติดต่อค้าขายกับประเทศเดิมที่ 
เคยติดต่อค้าขาย เมืองท่าในแถบทะเลเมดิเตอร์เร 
เนียน ตะวันออกกลาง แอฟฟริกา ยังสามารถ 
ติดต่อค้าขายกับอินเดียและประเทศตะวันออกได้ 
โดยตรง
สาเหตุของการสารวจเส้นทางการเดินเรือ 
- เนื่องจากการที่ชาวยุโรปได้ติดต่อกับโลกจะวันออกในสงครามครูเสด ทา 
ให้ชาวยุโรปได้มีโอกาสสัมผัสกับอารยธรรมของตะวันออก วิชาความรู้ต่างๆ ของกรีก 
และมุสลิม ทา ให้ความเชื่อเรื่องสัตว์ร้ายในทะเล โลกแบนและเรือที่แล่นไปจะตกขอบ 
โลกกลายไปเรื่องไร้สาระ 
- เผอื่พิสูจน์แผนที่ของปโตเลมี ที่แสดงที่ตั้งของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
รวมทั้งแผนดินใหญ่ทางตะวันออก ทะเลต่างๆที่เชื่อมถึงกัน 
- การค้าระหว่างตะวันตกกับตะวันออกชะงักเนื่องจาก การยึดครองกรุง 
คอนสแตนติโนเบิลของมุสลิม เพื่อรักษาการติดต่อซื้อขายกับโลกตะวันออกจึงต้องทา 
การติดต่อค้าขายทางทะเล
เมื่อเรือของชาวยุโรปมีการพัฒนา 
สามารถแล่นในมหาสมุทรและติดตั้งอาวุธ 
ทา ให้ชาติตะวันออกต้องยอมเปิด 
สัมพันธไมตรีด้วย 
นอกจากเครื่องเทศแล้ว แหล่งแร่ 
เงินและแร่ทองคา ก็เป็นสิ่งที่ชาติวันตก 
แสวงหาและเชื่อว่ามีอยู่ทางซีกโลกใต้
การค้นพบเส้นทางเดินเรือสู่ดินแดนทางตะวันออกและการค้นพบ 
โลกใหม่ของชาติตะวันตก 
โปรตุเกสและสเปน 
โรงเรียนราชนาวี เป็นแหล่งรวบรวม 
การสา รวจเส้นทางเดินเรือ ถูกจัดตั้งโดยเจ้าชาย 
เฮนรีนาวิกราช(รูปขวา) รวมกับความรู้ในการใช้ 
เข็มทิศและเทคนิคการสร้างเรือ ทา ให้นักเดินเรือ 
โปรตุเกสสามารถเดินทางจนถึงแหลมกรีนใน 
ทวีปแอฟริกา
ค.ศ. 1488 - บาร์โธโลมิว ไดแอส เดินเรือเลียบชายฝั่งทวีปแอฟริกาผ่าน 
แหลมกู๊ดโฮปสา เร็จ 
ค.ศ. 1498 - วัสโก ดา กามา เดินเรือในเส้นทางการสา รวจของไดแอส จนถึง 
เอเชีย ที่เมืองกาลิกัต อินเดีย 
ค.ศ. 1494 - คริสโตเฟอร์โคลัมบัส ผู้เชื่อว่าโลกกลม ได้สา รวจเส้นทางไปจีน 
จนพบประเทศอเมริกาในที่สุด 
ค.ศ. 1494 - สเปนและโปรตุเกสได้ทาสนธิสัญญาทอร์เดซียัส ให้เสปนมีสิทธิ 
สารวจและยึดครองดินแดนด้านตะวันตก และโปรตุเกสได้สิทธิด้านตะวันออก ซึ่งทา 
ให้อเมริกาใต้เกือบทั้งหมดยกเว้นบราซิลเป็นของสเปน
แผนที่ของปโตเลมี
โปรตุเกสได้ยึดเมืองกัว ในมหาสมุทรอินเดีย และ 
ใช้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก 
ค.ศ.1511 - อาฟองโซ เดอ อัลบูเกร์เก(รูปขวา) 
ข้าหลวงโปรตุเกสได้ขยายอานาจ ทาให้หมู่เกาะอินดิส 
ตะวันออกทัง้หมด (คาบสมุทรมาลายู อิโดนีเซียน) ตกอยู่ 
ภายใต้อิทธิพลของโปรตุเกส 
ค.ศ.1519 - เฟอร์ดินันด์มาเจลลัน นักเดินเรือชาว 
โปรตุเกส ได้แล่นเรือออกจากท่าเรือสเปน ไปทางทิศตะวันตก 
ของมหาสมุทรแอตแลนติก และอ้อมผ่านช่องแคบมา เจลลัน 
และข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกซงึ่เขาตัง้ชื่อว่า มาเร ปาซิฟิโก และ 
ได้ขึน้ฝั่งที่หมู่เกาะฟิลิปปินส์ การเดินทางครัง้นีนั้บเป็นการ 
เดินเรือครัง้แรกที่ข้ามมหาสมุทรแปซฟิิกมายังทวีปเอเชีย และ 
สามารถพิสูจน์ได้ว่าอเมริกาและเอเชียตัง้อยู่คนละซีกโลก ซงึ่ 
นับได้ว่าเป็นเรือลาแรกที่แล่นรอบโลก พิสูจน์ทฤษฎีโลกกลม
ฮอลันดา 
หรือฮอลแลนด์ หรือ เนเธอร์แลนด์ ก่อนหน้านี้ใช้ชาวดัตช์เป็น 
พ่อค้าคนกลางในการค้าเครื่องเทศในยุโรป เมื่อฮอลันดาก่อกบฏ และสเปน 
ไม่สามารถปราบได้ สเปนจึงสั่งห้ามไม่ให้ชาวดัตช์ซื้อขายเครื่องเทศใน 
โปรตุเกส เป็นการบีบให้ฮอลันดาเข้ายึดครองอา นาจการค้าของโปรตุเกสใน 
ปี 1580
อังกฤษ 
ค.ศ.1588 - อังกฤษได้รับชัยชนะจากการทา สงครามกับสเปนเป็นแรง 
กระตุ้นให้อังกฤษเดินทางแสวงหาผลประโยชน์ทางการค้าและสร้างอิทธิพลทาง 
ตะวันออก 
ค.ศ.1591 - เดินทางมาอินเดียครั้งแรก 
ค.ศ.1600 – ได้รับสิทธิให้ทา การค้าตั้งแต่แหลมกู๊ดโฮปจนถึงช่องแคบ 
มาเจลลัน เมื่อสลายอา นาจโปรตุเกสได้ก็เข้าไปมีอิทธิพลในอินเดียและเปอร์เชีย 
อังกฤษจึงกลายเป็นคู่แข่งทางการค้าของฮอลันดา 
ค.ศ.1660 – อังกฤษทา สงครามชนะฝรั่งเศสทา ให้ฝรั่งเศสหมดโอกาส 
ในการควบคุมตลาดตะวันออก แต่ฮอลันดายังคงมีอา นาจในหมู่เกาะอินดิส 
ตะวันออก
หลังจากที่รัฐบาลอังกฤษเข้ามามีบทบาทแทนบริษัทอินเดีย 
ตะวันออกของอังกฤษแล้ว รัฐบาลอังกฤษได้สร้างอิทธิพลในตะวันออก 
อังกฤษอย่างเต็มที่โดยยึด ดินแดนต่างๆเป็นอาณานิคมของตน เช่น อินเดีย 
พม่า มลายู สิงคโปร์
ผลของการค้นพบดินแดนของชาติตะวันตก 
การเผยแผ่ศาสนา 
ใช้ทั้งสันติวิธีโดยบาทหลวง ทา 
หน้าที่สอนศาสนาและช่วยเหลือด้าน 
มนุษยธรรมและการศึกษา 
และใช้วิธีรุนแรง เช่น การทา ลายล้าง 
อารยธรรมเผ่ามายา แอสเต็ก และอินคาใน 
อเมริกาใต้
การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและระบบการค้า 
เกิดการปฏิวัติการค้าเนื่องจากการขยายตัวทางการค้าอย่างรวดเร็ว มีการใช้ 
เงินตราและระบบพาณิชยนิยม รัฐบาลจะควบคุมการผลิต การค้า เน้นการส่งออก 
กีดกันการนา เข้า และแสวงหาอาณานิคมเพื่อเป็นแหล่วัตถุดิบและแหล่งระบาย 
สินค้า 
ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 ได้ยึดถือนโยบายเศรษฐกิจเป็นนโยบายหลัก 
ในการสร้างความมั่นคง และได้รวมตัวกันก่อตั้งบริษัทรวมทุน ในนามของประเทศ 
โดยมีรัฐให้การสนับสนุน 
เกิดการปฏิวัติราคา เนื่องจากการค้นพบเหมือง 
แร่เงินและแร่ทองเกิดภาวะเงินเฟ้อสิ้นค้าต่างๆปรับตัว 
สูงขึ้น จ่ายภาษีมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านอื่นๆ 
- เกิดการกระจาย แพร่พันธ์ ของพืชและสัตว์ไปยังภูมิภาคอื่นๆ 
- การระบาดของโรค เช่น โรคหัด และฝีดาษในอเมริกาเหนือ ไข้ 
เหลืองและไข้มาลาเรียในแอฟริกา มาระบาดในอเมริกากลางและใต้ เป็นต้น
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (RENAISSANCE)) 
หมายถึง การเกิดใหม่ (Rebirth) ของศิลปกรรมและ 
วรรณกรรมของกรีกและโรมันช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-17 หลังจาก 
สงครามครูเสดอันยาวนานร่วม 300 ปีสิ้นสุดลง ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ 
มนุษย์หลุดพ้นจากอา นาจของกฎเกณฑ์ต่างๆและ ศาสนจักร โดยถือ 
ว่าคือ จุดเชื่อมต่อ(Transitional period) ระหว่างยุคกลางกับยุคใหม่
สาเหตุของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 
1. การขยายตัวทางการค้า ทาให้ชาว 
ยุโรปโดยเฉพาะอิตาลีมีความมั่งคั่งขึ้น 
มาก เช่นที่ เมืองฟลอเรนซ์ เมืองมิลาน 
จึงทาให้คนหันมาสนับสนุนศิลปะและ 
วิทยาการความเจริญในด้านต่างๆมาก 
ขึ้น และทอีิ่ตาลีนั้นประกอบกับเคยเป็น 
ศูนย์กลางของจักรวรรดิโรมันมาก่อน 
ทาให้นักปราชญ์และศิลปินต่างๆ ใน 
อิตาลีหันมาความสนใจศิลปะและ 
วิทยาการของโรมันมากขึ้น 
(เมืองฟลอเรนซ์)
2. ทัศนคติของชาวยุโรปในดาเนินชีวิตของชาวยุโรป 
เปลยี่นแปลงไป จากเดิมมาเป็นการ มองโลกในแง่ดี รวมทั้งมี 
อคติต่อ การกระทามิชอบของพวกพระทาให้คนเริ่มเสื่อม 
ศรัทธา จึงหันไปสนใจผลงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ของ 
มนุษยชาติ
3. ในสงครามครูเสดทาให้เกิดการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ 
หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออก ใน ค.ศ. 1453 ทาให้วิทยาการแขนงต่างๆ 
ของชาวโรมันและกรีก ที่จักรวรรดิไบแซนไทน์สืบทอดไว้ หลงั่ไหลคืนสู่ 
ยุโรปตะวันตก โดยเข้ามาพอกับประชาชนและนักปราชญ์
แนวคิดใหม่สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา 
ในสมัยกลาง ชาวตะวันตกส่วนใหญ่เป็นคริสต์ศาสนิก โดยต่างเชื่อว่า 
มนุษย์ทุกคนมีบาปติดตัวมาแต่เกิด การมีชีวิตอยู่ก็เพื่อไถ่บาปเพื่อเตรียมตัวไปสู่ 
สรวงสวรรค์ของพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งทา ให้ชาวตะวันตกหมดความสนใจต่อความ 
สวยงามของโลกทั้งด้านการศึกษา การดา รงชีวิต และศิลปวิทยากรเมื่อเกิดได้มี 
การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการขึ้น ทา ให้มีการเปลี่ยนแนวคิด เริ่มเห็นว่ามนุษย์ที่แท้จริง 
ต้องพัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น โดยการศึกษาอารยธรรมกรีก-โรมัน ทั้งด้านวรรณกรรม 
ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวทิยาการด้านต่างๆและแนวคิดดา เนินชีวิตให้มี 
ความสุข เรียกแนวคิดนี้ว่า มนุษยนิยม (HUMANISM)
มีนักปราชญ์ชาวอิตาลีคนหนึ่ง 
ชื่อฟรานเซสโก เพทราร์ก 
(FRANCESCO PETRARCA : 
ค.ศ. 1304-1374) ซึ่งเขาเป็นบุคคล 
แรกที่ให้ความสาคัญกับงาน 
วรรณคดีประเภทคลาสสิก และ 
ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่ง 
มนุษยนิยม ซึ่งได้ชี้ความงดงาม 
ของภาษาละตินและการใช้ภาษา 
ละตินให้ถูกต้อง
โดยความสนใจของเขามีผลต่อลูกศิษย์และผู้นิยมงานเขียนคลาสสิก ทา ให้ 
มีการค้นคว้าศึกษางานของปราชญ์สมัยโรมันตามห้องสมุดของพระอาราม 
และโบสถ์วิหารในยุโรป แล้วนา มาคัดลอก โดยผู้สนใจในงานคลาสสิก 
ของสมัยโบราณจะเรียกว่า พวกมนุษยนิยม (humanist) ซึ่งผลงานได้รับ 
การยกย่องว่าใช้ภาษาละตินได้อย่างถูกต้อง จนได้รับการเชื้อเชิญให้เป็น 
ราชเลขาธิการ อาจารย์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่สารบรรณในสานักสันตะปาปา
ในปลาย คริศต์ศตวรรษที่ 14 นักปราชญ์ชาวกรีกจากกรุงคอนสแตนติโน- 
เบิลได้อพยพกลับมายังอิตาลี และสมัครเป็นอาจารย์ ทา ให้ชาวอิตาลีมี 
ความรู้ในภาษาและวัฒนธรรมของกรีกมากขึ้น จนสามารถนา วรรณคดีและ 
ปรัชญาของกรีกมาแปลเป็นภาษาละติน และเผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตก
ในค.ศ.1454 โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก (Johannes 
Gutenburg ค.ศ.1400-1468) สามารถผลิต 
เครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการเรียงตัวอักษรได้สาเร็จ 
ทา ให้หนังสือมีราคาถูกลง และมีการเผยแพร่ 
ไปยังดินแดนต่างๆได้กว้างขวาง ทา ให้ความ 
นึกคิดและความสนใจของประชากรใน 
ดินแดนต่างๆมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียว 
มากขึ้น
นักมนุษยนิยม เป็นผู้ที่ศรัทธาต่อคริสต์ศาสนา มีความคิดว่า ศริสต์ 
ศาสนิกชนควรแยกตัวจากการครอบงา ของศาสนจักร เพื่อแสวงหาความสุข 
ให้กับชีวิต ซึ่งนี้เป็นพื้นฐานของการก่อกบฏต่อศาสนจักร และในที่สุดก็ได้ 
เกิดการปฏิรูปทางศาสนาในค.ศ.1517
ในช่วงยุคกลาง งานศิลปะจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนาศริสต์ทา ให้ 
ศิลปินไม่สามารถถ่ายทอดจินตนาการและความคิดเสรีได้ทา ให้รูปภาพมี 
ลักษณะแข็งกระด้าง ขาดชีวิชีวา เช่น รูปปั้นของนักบุญมักมีความยาวเกิน 
ความเป็นจริง แสดงถึง นักบุญกา ลังมุ่งหน้าไปสู่สรวงสวรรค์ 
ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ศิลปะก็คือการปฏิวัติอย่างหนึ่ง ซึ่งโดยมี 
การสนในประติมากรในสมัยกรีก-โรมันที่เน้นธรรมชาติ และยังมีการค้นคว้า 
เทคนิคใหม่ๆ เช่น การผสมสี กลวิธีที่วาดภาพปูนเปียก (Fresco)การให้ 
ความสา คัญกับแสงเงา รวมทั้งมิติ การจัดองค์ประกอบภาพ และศิลปินที่ 
สา คัญในยุคนี้มีหลายคน
ภาพปูนเปียก (Fresco) คือการ เขียนภาพในขณะที่ปูนยังไม่แห้ง เพื่อสีจะได้ซึมเข้า 
ไปในเนื้อปูนอันมีผลต่อความคงทน
มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี 
มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี 
(Michelangelo Buonarroti 
ค.ศ.1475-1564)ศิลปินผู้มี 
ชื่อเสียงทั้งด้านจิตรกรรม 
ประติมากรรมและ 
สถาปัตยกรรม แต่เขาสนใจ 
ด้านประติมากรรมมากที่สุด
งานประติมากรรมที่สา คัญและมีชื่อเสียง ได้แก่ 
เดวิด (David)
ปิเอตา (Pieta)
งานจิตรกรรมที่มีชื่อเสียง ได้แก่ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนไว้บนเพดานและ 
ฝาผนังของโบสถ์ซีสติน (Sistine Chapel) ในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์
การพิพากษาครั้งสุดท้าย" (The Last Judgement) ประกอบไปด้วยรูปภาพย่อยกว่า 400 รูป 
โดยศูนย์กลางของภาพอยู่ที่ ภาพของพระเยซูคริสต์ และเหล่านักบุญที่รายล้อมพระองค์ แสดง 
ถึงพลังอา นาจในการกวาดล้าง
พระเจ้าสร้างอาดัม
เลโอนาร์โด ดา วินซี 
เลโอนาร์โด ดา วินซี (Leonardo 
da Vinci ค.ศ. 1452-1519)เป็น 
ศิลปินและนักปราชญ์ที่มีความรู้ 
และความสามารถเป็นเลิศใน 
สาขาจิตรกรรม ประติมากรรม 
สถาปัตยกรรม วิศวกรรม 
ชีววิทยา กายวิภาคศาสตร์ และ 
คณิตศาสตร์
งานจิตรกรรมของเขาเต็มไปด้วยบรรยากาศที่เป็นจริง และแสดงอารมณ์ 
ความรู้สึกของมนุษย์ ภาพเขียนที่มีชื่อเสียง ได้แก่ 
ภาพอาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper)
โมนาลิซา (Mona Lisa)
ภาพกายวิภาคที่มีชื่อเสียงของเขา รู้จักกันในนามของ วิทรูเวียนแมน (Vitruvian 
Man)
งานทางวิศวกรรมที่มีชื่อเสียงของเขา ได้แก่ ชุดดา น้า (Scuba Gear)
เครื่องร่อน (The Winged Gilder)
ราฟาเอล (Raphael ค.ศ. 
1483-1520) เป็นจิตรกรชาว 
อิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดใน 
บรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ใน 
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ โดย 
ผลงานของเขาสะท้อนให้ 
เห็นถึงความประณีตนิ่มนวล 
ราฟาเอล
ภาพที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ภาพพระแม่ 
พระบุตร และจอห์น (Madonna and 
Child with St.John) แสดงความรัก 
ของแม่ที่มีต่อบุตร เป็นภาพเหมือน 
จริงที่มีชีวิตจิตใจ ดูเป็นปักเจก 
บุคคล จากรูปจะเห็นมาพระกุมารจะ 
แลเป็นทารกที่ไม่ได้แฝงบุคลิก 
ความศักด์สิทธ์ิไว้ แต่แสดงให้เห็น 
ความบริสุทธ์ิของเด็กที่ถูกเพิกเฉยใน 
สมัยกลาง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการ 
หันมาให้ความรักแก่เด็ก
การแต่งงานของเวอร์จินแมรี 
จิตรกรรมสีน้ามันบนไม้
สตรีมีครรภ์ 
จิตรกรรมสีน้ามันบนไม้
งานประพันธ์ประเภทร้อยแก้วและร้อยกรองในยุคนี้ที่แสดงให้เห็นถึงความขัดแย้ง 
ของความคิดในกรอบและกฎเกณฑ์ที่เคร่งครัดของคริสต์ศาสนา ได้แก่ 
บทร้อยกรองซอนเนต(Sonnet) ของเทปราก 
ดิแคเมอรอน (Decameron) ของโจวันนีบอกกัชโช (Giovanni Boccaccio 
ค.ศ. 1313-1375) ซึ่งเป็นนิยายชวนหัวที่แสดงถึงบุคลิกลักษณะของมนุษย์ 
และความสัมพันธ์ทางเพศ
เจ้าผู้ครองนคร (the prince) ของมาคีอาเวลลี (Nicolo Machiavelli ค.ศ. 
1469-1527) ซึ่งบรรยายถึงศิลปะการปกครอง
ยูโทเปีย(Utopia)ของเซอร์ทอมัส มอร์(Sir Thomas More 
ค.ศ. 1478-1535)กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลว
งานวรรณกรรมด้านนาฏกรรมหรือบทละคร ก็ได้รับอิทธิพลของบทละคร 
กรีก โดยนามาปรับให้เข้ากับรสนิยมของชาวตะวันตกในสมัยนั้น นัก 
ประพันธ์ที่สา คัญ ได้แก่ 
วิลเลียม เชกสเปียร์(William 
Shakespeare ค.ศ. 1564- 
1616)เป็นกวีและนักเขียนบท 
ละครชาวอังกฤษ ได้รับยก 
ย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ 
ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของ 
โลก
บทละครที่มีชื่อเสียงของเขา คือ 
โรมิโอและจูเลียต (Romeo and Juliet) 
เวนิสวาณิช (The Merchant of Venice)
ฝัน ณ คืนกลางฤดูร้อน 
(A Midsummer Night's Dream) 
พายุพิโรธ (the tempest)
จากที่มีการฟื้นฟูศิลปวิทยาก็ทา ให้ชาวตะวันตกมีความก้าวหน้าเข้า 
สู่ศตวรรษที่ 16 อย่างมีเหตุผลและโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น และยัง 
นา ความรู้มาใช้จนเกิดการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม จน 
ทา ให้ยุโรปได้กลายเป็นชาติมหาอา นาจ

More Related Content

Similar to ปวศ

พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกJuno Nuttatida
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757CUPress
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือhackinteach
 

Similar to ปวศ (13)

พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
อารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคาอารยธรรมอินคา
อารยธรรมอินคา
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757
 
ประเทศสเปน
ประเทศสเปนประเทศสเปน
ประเทศสเปน
 
เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ศิลป์ พีระศรี502
ศิลป์ พีระศรี502ศิลป์ พีระศรี502
ศิลป์ พีระศรี502
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 

ปวศ