SlideShare a Scribd company logo
ประวัตอาเซียน
      ิ

สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตมี
จุดเริ่มตนขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดย
ประเทศไทย มาเลเซีย และฟลิปปนสไดรวมกันจัดตั้ง
สมาคมอาสา หรือ Association of South East

Asia ขึ้นเพื่อการรวมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและ

วัฒนธรรม แตดําเนินการไดเพียง 2 ป ก็ตอง
หยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมือง
ระหวาง ประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย
จนกระทั่งตอมามีการฟนฟูสัมพันธภาพระหวาง
ประเทศขึ้น จึงไดมีการแสวงหาลูทางจัดตั้งองคการ
ความรวมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค "สมาคม
ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต" และพัน
เอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร อดีตรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงการตางประเทศในสมัยรัฐบาลจอมพล
ถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญา
กรุงเทพ" ที่พระราชวังสราญรมย เมื่อวันที่ 8

สิงหาคม พ.ศ. 2510 จาก ปฏิญญาอาเซียน ซึ่งลง
นามโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ
ของประเทศสมาชิกกอตั้ง 10ประเทศ ไดแก ทุกประ
ที่อยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ยกเวน ติมอร-เลส
เต
ความประสงคของการจัดตั้งกลุมอาเซียนขึ้นมาเกิด
จากความตองการสภาพแวดลอมภายนอกที่มั่นคง
(เพื่อที่ผูปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุง
ความสนใจไปที่การสรางประเทศ) ความกลัวตอการ
แพรขยายของลัทธิคอมมิวนิสต ความศรัทธาหรือ
ความเชื่อถือตอมหาอํานาจภายนอกเสื่อมถอยลง
ในชวงพุทธทศวรรษ 2500 รวมไปถึงความตองการ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดตั้งกลุม
อาเซียนมีวัตถุประสงคตางกับการจัดตั้งสหภาพ
ยุโรป เนื่องจากกลุมอาเซียนถูกสรางขึ้นเพื่อ
สนับสนุนความเปนชาตินิยม

จุดประสงค

ปฏิญญา อาเซียน (The ASEAN Declaration) ได
ระบุวา เปาหมายและจุดประสงคของอาเซียน คือ

1) เรงรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความกาวหนาทางสังคมและการพัฒนาวัฒนธรรม
ในภูมิภาค

2) สงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค โดย
การเคารพหลักความยุติธรรมและ หลักนิติธรรมใน
การดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค
ตลอดจนยึดมั่นในหลักการแหงกฎบัตร
สหประชาชาติ
กลุมประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน
   

1.บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
เมืองหลวง : บันดาร เสรี เบกาวัน
ภาษา : ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา
เปนอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบดวย มาเลย 66%, จีน11%,
อื่นๆ 23%
นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุธ 13%, คริสต 10%
ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย



2.กัมพูชา (Cambodia)
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ
ภาษา : ภาษาเขมร เปนภาษาราชการ
รองลงมาเปนอังกฤษ ฝรั่งเศส,
              กฤษ,
เวียดนามและจีน
ประชากร : ประกอบดวย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,
                                    ,
อื่นๆ 2%
นับถือศาสนา : พุทธ
                 ธ(เถรวาท) เปนหลัก
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดย
มีพระมหากษัตยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ



3.อินโดนีเซีย (Indonesia)
เมืองหลวง : จาการตา
ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เปนภาษา
ราชการ
ประชากร : ประกอบดวย ชนพื้นเมืองหลายกลุม มี
ภาษามากกวา 583 ภาษา รอยละ 61 อาศัยอยูบน
เกาะชวา
นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต 10%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดี
เปนประมุข และหัวหนาฝายบริหาร



4.ลาว (Laos)
เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร
ภาษา : ภาษาลาว เปนภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดวย ชาวลาวลุม 68% ลาวเทิง
                                  %,
22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชน
             %
เผา
นับถือศาสนา : 75 นับถือพุทธ, นับถือผี 16%
               75%
ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต (ทางการ
ลาวใชคําวา ระบบประชาธิปไตยประชาชน
                         ไตยประชาชน)



5.มาเลเซีย (Malaysia)
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร
ภาษา : ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา
เปนอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบดวย มาเลย 40%, จีน33%,
อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอรเนียว 10
                                      10%
นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุธ 19%,
คริสต 11%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยใน
ระบบรัฐสภา



6.พมา (Myanmar)
เมืองหลวง : เนปดอ (Naypyidaw)
ภาษา : ภาษาพมา เปนภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดวยเผาพันธุ 135 มี 8 เชื้อชาติ
หลักๆ 8 กลุม คือ พมา 68%, ไทยใหญ 8% กระเห
                                     %,
รี่ยง 7%, ยะไข 4 จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2%
                4%
นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต 5 อิสลาม
                                     5%
3.8%
ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร
ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใตสภา
สันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ



7.ฟลิปปนส (Philippines)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา
ภาษา : ภาษาฟลิปโน และภาษาอังกฤษ เปนภาษา
ราชการ รองลงมาเปน สเปน จีนฮกเกี้ยน, จีนแตจิ๋ว
                      สเปน,          ,
ฟลิปปนส มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก
ประชากร : ประกอบดวย มาเลย 40%, จีน33%,
อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอรเนียว 10
                                      10%
นับถือศาสนา : คริสตโรมันคาทอลิก 83% คริสต
                                    %
นิกายโปรเตสแตนต, อิสลาม 5%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิป
ดีเปนประมุขและหัวหนาฝายบริหาร
8.สิงคโปร (Singapore)
เมืองหลวง : สิงคโปร
ภาษา : ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมาคือ
จีนกลาง สงเสริมใหพูดได 2 ภาษาคือ จีนกลาง และ
ใหใชอังกฤษ เพื่อติดตองานและชีวิตประจําวัน
ประชากร : ประกอบดวยชาวจีน 76.5%, มาเลย
13.8%, อินเดีย 8
               8.1%
นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม
14.9%, คริสต 14
              14.5%, ฮินดู 4%, ไม
นับถือศาสนา 25
             25%
ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบ
                              ประชาธิ
รัฐสภา มีสภาเดียว โดยมีประธานาธิปดี
                ว)
เปนประมุข และนายกรัฐมนตรีเปน
หัวหนาฝายบริหาร



9.เวียดนาม (Vietnam)
เมืองหลวง : กรุงฮานอย
ภาษา : ภาษาเวียดนาม เปนภาษา
ราชการ
ประชากร : ประกอบดวยชาวเวียด 80%, เขมร
10%
นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริสต
                                 ,
15%
ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรค
คอมมิวนิสตเปนพรรคการเมืองเดียว



10.
10.ประเทศไทย (Thailand)
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร
             รุ
ภาษา : ภาษาไทย เปนภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดวยชาวไทยเปนสวนใหญ
นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม
4%
ระบบการปกครอง : ระบบ
ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
รูปภาพ แผนทีอาเซียน
                        ่




AEC เปนการพัฒนามาจากการเปน สมาคม
ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (The

Association of South East Asian Nations :

ASEAN) กอตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ

(Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510
โดยมีประเทศผูกอตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย
ตอมาในป 2527 บรูไน ก็ไดเขาเปนสมาชิก ตาม

ดวย 2538 เวียดนาม ก็เขารวมเปนสมาชิก ตอมา

2540 ลาวและพมา เขารวม และป 2542 กัมพูชา ก็

ไดเขารวมเปนสมาชิกลําดับที่ 10 ทําใหปจจุบัน
อาเซียนเปนกลุมเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ มี
ประชากร รวมกันเกือบ 500 ลานคน

จากนั้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่

อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผูนําประเทศสมาชิก
อาเซียนไดตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community) ซึ่งประกอบดวย3 เสาหลัก
คือ

1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic

Community:AEC)
2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio-

Cultural Pillar)

3.ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and

Security Pillar)

คําขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One

Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน
หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม

เดิมกําหนดเปาหมายที่จะตั้งขึ้นในป 2563 แตตอมา

ไดตกลงกันเลื่อนกําหนดใหเร็วขึ้นเปนป 2558 และ
กาวสําคัญตอมาคือการจัดทําปฏิญญาอาเซียน
(ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใชบังคับแลวตั้งแตเดือน

ธันวาคม ป 2552 นับเปนการยกระดับความรวมมือ
ของอาเซียนเขาสูมิติใหมในการสรางประชาคม
โดยมีพื้นฐานที่แข็งแกรงทางกฎหมายและมีองคกร
รองรับการดําเนินการเขาสูเปาหมายดังกลาวภายใน
ป 2558
ปจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศ
ไดแก ไทย พมา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส
สิงคโปร เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรูไน
สําหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ

AEC )ภายในป 2558 เพื่อใหอาเซียนมีการ
เคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือ
อยางเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้นตอมาในป 2550
อาเซียนไดจัดทําพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เปนแผนบูรณา
การงานดานเศรษฐกิจใหเห็นภาพรวมในการมุงไปสู
AEC ซึ่งประกอบดวยแผนงานเศรษฐกิจในดาน ตาง
ๆ พรอมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดําเนิน
มาตรการตาง ๆ จนบรรลุเปาหมายในป 2558
รวมทั้งการใหความยืดหยุนตามที่ประเทศสมาชิกได
ตกลงกันลวงหนา          ในอนาคต AEC จะเปน

อาเซียน+3 โดยจะเพิ่มประเทศ จีน เกาหลีใต และ
ญี่ปุน เขามาอยูดวย และตอไปก็จะมีการเจรจา
อาเซียน+6 จะมีประเทศ จีน เกาหลีใต ญี่ปุน
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย

หลังจากเกิดประชาคมอาเซียนแลวอาเซียนจะมีการ
                        น
พัฒนาหลายดาน เชน การศึกษา,เศรษฐกิจ,การ
เดินทางระหวางประเทศที่อยูในประชาคมอาเซียน
เพราะ การศึกษาจะตองมีการแลกเปลี่ยนภาษาของ
แตละประเทศในประชาคมอาเซียน เศรษฐกิจ
จะตองมีการคาขายกันในแตละประเทศ การ
เดินทางระหวางประเทศที่อยูในประชาคมอาเซียน
จะไดเดินทางไดงายขึ้นไมตองยุงยาก

            ประโยชนทจะไดในอนาคต
                     ี่

  1 ไดแลกเปลี่ยนภาษา
  2 การเดินทาง
  3 การศึกษา

                   การเตรียมตัว

ตองพูดภาษาไดอยางนอย 3 ภาษา และ ตอง
เตรียมตัวในการอยูรวมกันกับคนในประเทศอื่น
อาชีพที่นาสนใจและประเทศไหนทีจะไปทํางาน
                             ่
อาชีพหมอไปทํางานที่ประเทศบรูไน เพราะ ที่
ประเทศบรูไนเงินเดือนดีกวาเมืองไทย
ขอสอบ

1). มีกี่ประเทศที่รวมกันจัดตั้งสมาคมอาสา

ก. 2 ประเทศ       ข. 3 ประเทศ    ค. 4 ประเทศ    ง.

6 ประเทศ

2). สมาคมประชาชาติแหงเชียตะวันออกเฉียงใตมี
จุดเริ่มตนขึ้นเดือนอะไร

ก. กรกฎาคม        ข. มีนาคม      ค. กันยายน     ง.
สิงหาคม

3). ประเทศที่อยูในประชาคมอาเซียนมีกี่ประเทศ

ก. 9 ประเทศ       ข. 10 ประเทศ    ค. 11 ประเทศ

ง. 12 ประเทศ

4). ประเทศกัมพูชามีเมืองหลวงชื่อวาอะไร

ก. กรุงพนมเปญ       ข. กรุงจาการตา ค. กรุงเน
ปดอ   ง. กรุงฮานอย
5). ประเทศบรูไนเขารวมเปนสมาชิก “AEC” พ.ศ.
อะไร

ก. 2527        ข. 2528         ค. 2529       ง.

2530

6). ประเทศกัมพูชาเขามาเปนสมาชิก “AEC” พ.ศ.
อะไร

ก.2540         ข.2541          ค.2542        ง.

2543

7). อาเซียน +3 ไมมีประเทศใดเขารวม

ก. จีน         ข. เกาหลีใต     ค. ญี่ปุน    ง. อิ
เดีย

8). เดิมกําหนดเปาหมายที่จะตั้งขึ้นในป 2563 แต
ตอมาไดตกลงกันเลื่อนกําหนดใหเร็วขึ้นเปนปใด

ก. 2557        ข. 2558         ค.2560         ง.

2563
9).การเตรียมตัวคนไทยตองพูดภาษาไดอยางนอย
กี่ภาษา

ก. 2 ภาษา     ข. 3 ภาษา       ค. 4 ภาษา

ง.5 ภาษา

10).อาชีพที่นาสนใจคืออาชีพอะไร

ก. ธุรกิจสวนตัว ข. ทหาร          ค. พนักงาน
ง. หมอ
คําถาม

1). สมาคมอาเซียนมีชื่อภาษาอังกฤษเขียนอยางไร

ตอบ Association of South East Asia

2). ประเทศอะไรที่ไมเขารวมสมาคมอาเซียน

ตอบ ติมอร – เลสเต

3). “AEC” ยอมาจากคําวาอะไร

ตอบ Asean Economic Community : AEC

4). หลังจากเกิดประชาคมอาเซียนแลวอาเซียนจะมี
การพัฒนาดานใดบาง
ตอบ การศึกษา เศรษฐกิจ การทองเที่ยว

5). ประเทศอะไรที่นาสนใจจะไปทํางานที่สุด

ตอบ บรูไน
อางอิง

http://th.wikipedia.org (20/8/55)

http://www.thai-aec.com/asean-economic-

community#ixzz2457cJP6u(20/8/55)

http://www.thai-aec.com/what-national-in-

aec#ixzz2458nCujb(20/8/55)

More Related Content

What's hot

พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56Jariya Jaiyot
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย
Saiiew Sarana
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
Chalermpon Dondee
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
Thanawut Rattanadon
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
Ploykarn Lamdual
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
Thongsawan Seeha
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

What's hot (20)

พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
Thai
ThaiThai
Thai
 

Viewers also liked

เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเราพัน พัน
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศรู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศjitrada_noi
 
เล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
Chucshwal's MK
 
รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียน
Chucshwal's MK
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (14)

เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
35ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
 
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศรู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
รู้จัก 10 ประเทศอาเซียน ประวัติอาเซียน10ประเทศ
 
เล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
Aec factbook
Aec factbookAec factbook
Aec factbook
 
พลเมืองอาเซียน
พลเมืองอาเซียนพลเมืองอาเซียน
พลเมืองอาเซียน
 
10 7
10 710 7
10 7
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 

Similar to 19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา

รัตนากร บัวขาว
รัตนากร บัวขาวรัตนากร บัวขาว
รัตนากร บัวขาวRattanakorn_buakhao
 
บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่
naret khamwut
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013stiu
 
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
Sasitorn Sangpinit
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1Kaizaa
 
อาเซียน2
อาเซียน2อาเซียน2
อาเซียน2Kaizaa
 
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนเรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนKan 'Zied
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanamon Bannarat
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss
Manunya Museanko
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
Manunya Museanko
 
58210401117
58210401117 58210401117
58210401117
Manunya Museanko
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
asean
aseanasean
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
vorravan
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
Kruthai Kidsdee
 

Similar to 19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา (20)

รัตนากร บัวขาว
รัตนากร บัวขาวรัตนากร บัวขาว
รัตนากร บัวขาว
 
บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่บทที่ 2 แก้ใหม่
บทที่ 2 แก้ใหม่
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
 
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอนโครงงานเพื่อช่วยในการสอน
โครงงานเพื่อช่วยในการสอน
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน2
อาเซียน2อาเซียน2
อาเซียน2
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียนเรื่อง ประชาคมอาเซียน
เรื่อง ประชาคมอาเซียน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
 
58210401117
58210401117 58210401117
58210401117
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
asean
aseanasean
asean
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา

  • 1. ประวัตอาเซียน ิ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตมี จุดเริ่มตนขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดย ประเทศไทย มาเลเซีย และฟลิปปนสไดรวมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา หรือ Association of South East Asia ขึ้นเพื่อการรวมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม แตดําเนินการไดเพียง 2 ป ก็ตอง
  • 2. หยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมือง ระหวาง ประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนกระทั่งตอมามีการฟนฟูสัมพันธภาพระหวาง ประเทศขึ้น จึงไดมีการแสวงหาลูทางจัดตั้งองคการ ความรวมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค "สมาคม ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต" และพัน เอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร อดีตรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศในสมัยรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร โดยมีการลงนาม "ปฏิญญา กรุงเทพ" ที่พระราชวังสราญรมย เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 จาก ปฏิญญาอาเซียน ซึ่งลง นามโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ของประเทศสมาชิกกอตั้ง 10ประเทศ ไดแก ทุกประ ที่อยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ยกเวน ติมอร-เลส เต ความประสงคของการจัดตั้งกลุมอาเซียนขึ้นมาเกิด จากความตองการสภาพแวดลอมภายนอกที่มั่นคง (เพื่อที่ผูปกครองของประเทศสมาชิกจะสามารถมุง ความสนใจไปที่การสรางประเทศ) ความกลัวตอการ
  • 3. แพรขยายของลัทธิคอมมิวนิสต ความศรัทธาหรือ ความเชื่อถือตอมหาอํานาจภายนอกเสื่อมถอยลง ในชวงพุทธทศวรรษ 2500 รวมไปถึงความตองการ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การจัดตั้งกลุม อาเซียนมีวัตถุประสงคตางกับการจัดตั้งสหภาพ ยุโรป เนื่องจากกลุมอาเซียนถูกสรางขึ้นเพื่อ สนับสนุนความเปนชาตินิยม จุดประสงค ปฏิญญา อาเซียน (The ASEAN Declaration) ได ระบุวา เปาหมายและจุดประสงคของอาเซียน คือ 1) เรงรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคมและการพัฒนาวัฒนธรรม ในภูมิภาค 2) สงเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค โดย การเคารพหลักความยุติธรรมและ หลักนิติธรรมใน การดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศในภูมิภาค ตลอดจนยึดมั่นในหลักการแหงกฎบัตร สหประชาชาติ
  • 4. กลุมประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน  1.บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) เมืองหลวง : บันดาร เสรี เบกาวัน ภาษา : ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา เปนอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบดวย มาเลย 66%, จีน11%, อื่นๆ 23% นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุธ 13%, คริสต 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย 2.กัมพูชา (Cambodia) เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ ภาษา : ภาษาเขมร เปนภาษาราชการ รองลงมาเปนอังกฤษ ฝรั่งเศส, กฤษ, เวียดนามและจีน ประชากร : ประกอบดวย ชาวเขมร 94%, จีน 4%, , อื่นๆ 2% นับถือศาสนา : พุทธ ธ(เถรวาท) เปนหลัก
  • 5. ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดย มีพระมหากษัตยเปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ 3.อินโดนีเซีย (Indonesia) เมืองหลวง : จาการตา ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เปนภาษา ราชการ ประชากร : ประกอบดวย ชนพื้นเมืองหลายกลุม มี ภาษามากกวา 583 ภาษา รอยละ 61 อาศัยอยูบน เกาะชวา นับถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต 10% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิปดี เปนประมุข และหัวหนาฝายบริหาร 4.ลาว (Laos) เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร ภาษา : ภาษาลาว เปนภาษาราชการ ประชากร : ประกอบดวย ชาวลาวลุม 68% ลาวเทิง %, 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชน % เผา
  • 6. นับถือศาสนา : 75 นับถือพุทธ, นับถือผี 16% 75% ระบบการปกครอง : สังคมนิยมคอมมิวนิสต (ทางการ ลาวใชคําวา ระบบประชาธิปไตยประชาชน ไตยประชาชน) 5.มาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร ภาษา : ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมา เปนอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบดวย มาเลย 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอรเนียว 10 10% นับถือศาสนา : อิสลาม 60%, พุธ 19%, คริสต 11% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยใน ระบบรัฐสภา 6.พมา (Myanmar) เมืองหลวง : เนปดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพมา เปนภาษาราชการ ประชากร : ประกอบดวยเผาพันธุ 135 มี 8 เชื้อชาติ
  • 7. หลักๆ 8 กลุม คือ พมา 68%, ไทยใหญ 8% กระเห %, รี่ยง 7%, ยะไข 4 จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2% 4% นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต 5 อิสลาม 5% 3.8% ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใตสภา สันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ 7.ฟลิปปนส (Philippines) เมืองหลวง : กรุงมะนิลา ภาษา : ภาษาฟลิปโน และภาษาอังกฤษ เปนภาษา ราชการ รองลงมาเปน สเปน จีนฮกเกี้ยน, จีนแตจิ๋ว สเปน, , ฟลิปปนส มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก ประชากร : ประกอบดวย มาเลย 40%, จีน33%, อินเดีย 10%, ชนพื้นเมืองเกาะบอรเนียว 10 10% นับถือศาสนา : คริสตโรมันคาทอลิก 83% คริสต % นิกายโปรเตสแตนต, อิสลาม 5% ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิป ดีเปนประมุขและหัวหนาฝายบริหาร
  • 8. 8.สิงคโปร (Singapore) เมืองหลวง : สิงคโปร ภาษา : ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ รองลงมาคือ จีนกลาง สงเสริมใหพูดได 2 ภาษาคือ จีนกลาง และ ใหใชอังกฤษ เพื่อติดตองานและชีวิตประจําวัน ประชากร : ประกอบดวยชาวจีน 76.5%, มาเลย 13.8%, อินเดีย 8 8.1% นับถือศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต 14 14.5%, ฮินดู 4%, ไม นับถือศาสนา 25 25% ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบ ประชาธิ รัฐสภา มีสภาเดียว โดยมีประธานาธิปดี ว) เปนประมุข และนายกรัฐมนตรีเปน หัวหนาฝายบริหาร 9.เวียดนาม (Vietnam) เมืองหลวง : กรุงฮานอย ภาษา : ภาษาเวียดนาม เปนภาษา ราชการ
  • 9. ประชากร : ประกอบดวยชาวเวียด 80%, เขมร 10% นับถือศาสนา : พุทธนิกายมหายาน 70%, คริสต , 15% ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนิยม โดยพรรค คอมมิวนิสตเปนพรรคการเมืองเดียว 10. 10.ประเทศไทย (Thailand) เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร รุ ภาษา : ภาษาไทย เปนภาษาราชการ ประชากร : ประกอบดวยชาวไทยเปนสวนใหญ นับถือศาสนา : พุทธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4% ระบบการปกครอง : ระบบ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
  • 10. รูปภาพ แผนทีอาเซียน ่ AEC เปนการพัฒนามาจากการเปน สมาคม ประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) กอตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510
  • 11. โดยมีประเทศผูกอตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย ตอมาในป 2527 บรูไน ก็ไดเขาเปนสมาชิก ตาม ดวย 2538 เวียดนาม ก็เขารวมเปนสมาชิก ตอมา 2540 ลาวและพมา เขารวม และป 2542 กัมพูชา ก็ ไดเขารวมเปนสมาชิกลําดับที่ 10 ทําใหปจจุบัน อาเซียนเปนกลุมเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ มี ประชากร รวมกันเกือบ 500 ลานคน จากนั้นในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่ อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผูนําประเทศสมาชิก อาเซียนไดตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบดวย3 เสาหลัก คือ 1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC)
  • 12. 2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio- Cultural Pillar) 3.ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and Security Pillar) คําขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม เดิมกําหนดเปาหมายที่จะตั้งขึ้นในป 2563 แตตอมา ไดตกลงกันเลื่อนกําหนดใหเร็วขึ้นเปนป 2558 และ กาวสําคัญตอมาคือการจัดทําปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใชบังคับแลวตั้งแตเดือน ธันวาคม ป 2552 นับเปนการยกระดับความรวมมือ ของอาเซียนเขาสูมิติใหมในการสรางประชาคม โดยมีพื้นฐานที่แข็งแกรงทางกฎหมายและมีองคกร รองรับการดําเนินการเขาสูเปาหมายดังกลาวภายใน ป 2558
  • 13. ปจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศ ไดแก ไทย พมา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรูไน สําหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC )ภายในป 2558 เพื่อใหอาเซียนมีการ เคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือ อยางเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้นตอมาในป 2550 อาเซียนไดจัดทําพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เปนแผนบูรณา การงานดานเศรษฐกิจใหเห็นภาพรวมในการมุงไปสู AEC ซึ่งประกอบดวยแผนงานเศรษฐกิจในดาน ตาง ๆ พรอมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดําเนิน มาตรการตาง ๆ จนบรรลุเปาหมายในป 2558 รวมทั้งการใหความยืดหยุนตามที่ประเทศสมาชิกได ตกลงกันลวงหนา ในอนาคต AEC จะเปน อาเซียน+3 โดยจะเพิ่มประเทศ จีน เกาหลีใต และ
  • 14. ญี่ปุน เขามาอยูดวย และตอไปก็จะมีการเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศ จีน เกาหลีใต ญี่ปุน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ อินเดีย หลังจากเกิดประชาคมอาเซียนแลวอาเซียนจะมีการ น พัฒนาหลายดาน เชน การศึกษา,เศรษฐกิจ,การ เดินทางระหวางประเทศที่อยูในประชาคมอาเซียน เพราะ การศึกษาจะตองมีการแลกเปลี่ยนภาษาของ แตละประเทศในประชาคมอาเซียน เศรษฐกิจ จะตองมีการคาขายกันในแตละประเทศ การ เดินทางระหวางประเทศที่อยูในประชาคมอาเซียน จะไดเดินทางไดงายขึ้นไมตองยุงยาก ประโยชนทจะไดในอนาคต ี่ 1 ไดแลกเปลี่ยนภาษา 2 การเดินทาง 3 การศึกษา การเตรียมตัว ตองพูดภาษาไดอยางนอย 3 ภาษา และ ตอง เตรียมตัวในการอยูรวมกันกับคนในประเทศอื่น
  • 15. อาชีพที่นาสนใจและประเทศไหนทีจะไปทํางาน  ่ อาชีพหมอไปทํางานที่ประเทศบรูไน เพราะ ที่ ประเทศบรูไนเงินเดือนดีกวาเมืองไทย
  • 16. ขอสอบ 1). มีกี่ประเทศที่รวมกันจัดตั้งสมาคมอาสา ก. 2 ประเทศ ข. 3 ประเทศ ค. 4 ประเทศ ง. 6 ประเทศ 2). สมาคมประชาชาติแหงเชียตะวันออกเฉียงใตมี จุดเริ่มตนขึ้นเดือนอะไร ก. กรกฎาคม ข. มีนาคม ค. กันยายน ง. สิงหาคม 3). ประเทศที่อยูในประชาคมอาเซียนมีกี่ประเทศ ก. 9 ประเทศ ข. 10 ประเทศ ค. 11 ประเทศ ง. 12 ประเทศ 4). ประเทศกัมพูชามีเมืองหลวงชื่อวาอะไร ก. กรุงพนมเปญ ข. กรุงจาการตา ค. กรุงเน ปดอ ง. กรุงฮานอย
  • 17. 5). ประเทศบรูไนเขารวมเปนสมาชิก “AEC” พ.ศ. อะไร ก. 2527 ข. 2528 ค. 2529 ง. 2530 6). ประเทศกัมพูชาเขามาเปนสมาชิก “AEC” พ.ศ. อะไร ก.2540 ข.2541 ค.2542 ง. 2543 7). อาเซียน +3 ไมมีประเทศใดเขารวม ก. จีน ข. เกาหลีใต ค. ญี่ปุน ง. อิ เดีย 8). เดิมกําหนดเปาหมายที่จะตั้งขึ้นในป 2563 แต ตอมาไดตกลงกันเลื่อนกําหนดใหเร็วขึ้นเปนปใด ก. 2557 ข. 2558 ค.2560 ง. 2563
  • 18. 9).การเตรียมตัวคนไทยตองพูดภาษาไดอยางนอย กี่ภาษา ก. 2 ภาษา ข. 3 ภาษา ค. 4 ภาษา ง.5 ภาษา 10).อาชีพที่นาสนใจคืออาชีพอะไร ก. ธุรกิจสวนตัว ข. ทหาร ค. พนักงาน ง. หมอ
  • 19. คําถาม 1). สมาคมอาเซียนมีชื่อภาษาอังกฤษเขียนอยางไร ตอบ Association of South East Asia 2). ประเทศอะไรที่ไมเขารวมสมาคมอาเซียน ตอบ ติมอร – เลสเต 3). “AEC” ยอมาจากคําวาอะไร ตอบ Asean Economic Community : AEC 4). หลังจากเกิดประชาคมอาเซียนแลวอาเซียนจะมี การพัฒนาดานใดบาง ตอบ การศึกษา เศรษฐกิจ การทองเที่ยว 5). ประเทศอะไรที่นาสนใจจะไปทํางานที่สุด ตอบ บรูไน