SlideShare a Scribd company logo
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน
โดย
1. นายจิณณวัตร บริหารกิจอนันต์ ม.6/12
2. นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18
3. นางสาวณัฏฐา โตรักษา ม.6/18
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบ ของโครงงานคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
โครงงาน เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน
ประเภทของโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ผู้จัดทาโครงงาน นายจิณณวัตร บริหารกิจอนันต์ ม.6/12
นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18
นางสาวณัฏฐา โตรักษา ม.6/18
ปีการศึกษา 2555
บทคัดย่อ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยสร้างสื่อวีดีทัศน์
นาเสนอ โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound
booth cs5 ในการบันทึกเสียง
คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานโดยการนาเสนอสื่อวีดีทัศน์ในระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
ผลการจัดทาโครงงาน พบว่า การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เพื่อการศึกษาในเรื่องประชาคมอาเซียน ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคม
อาเซียนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้รับความสนใจและเป็น วีดีทัศน์ที่มีประโยชน์
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความกรุณาของคณะผู้บริหารและคณะอาจารย์หมวดคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาพัฒนาการ ซึ่งได้ให้คาปรึกษา ข้อชี้แนะ และความช่วยเหลือจนกระทั่งโครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาขอ
กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้ความกรุณาในการแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆ ของโครงงาน และ ให้ความรู้
ให้คาแนะนาทั้งให้กาลังใจ ท้ายสุดนี้คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาและเป็นที่น่าสนใจสา
หรับผู้ที่สนใจต่อๆไป
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนี้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับการ
รวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่า
ทันสถานการณ์เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึ้นมาที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่
ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายในปี 2563 ซึ่ง
ต่อมาได้เลื่อนกาหนดเวลาสาหรับการรวมตัวกันให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนที่ส่งผลต่อ
ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรม และ ความมั่นคง คณะผู้จัดทาเล็งเห็นความสาคัญจึงสร้างโครงงานนี้ขึ้นมา โดยการสร้าง
วีดีทัศน์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้เข้าใจและเห็นความสาคัญของ
ประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
ขอบเขตของโครงงาน
สร้างสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดี
ทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ในการบันทึกเสียง
แผนการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างสื่อ วีดีทัศน์
3. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
4. ศึกษาโปรแกรมต่างๆ ในการสร้างวีดีทัศน์
5. ออกแบบสร้างสื่อ วีดีทัศน์ ตกแต่งใส่เสียง
6. จัดทาโครงงานสร้าง สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน
7. เผยแพร่ผลงานสื่อ วีดีทัศน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
8. สรุปรายงานโครงงาน จัดทารูปเล่ม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้สนใจมีความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างสื่อวีดีทัศน์
3. ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและทาให้เกิดประโยชน์
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน ให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทา
ได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 ประชาคมอาเซียน
2.2 การผลิตสื่อวีดีทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์
2.1 ประชาคมอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน
เป็นองค์กรทางภูมิรัฐศาสตร์และองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิก
ทั้งหมด 10 ประเทศได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า อาเซียนมีพื้นที่
ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 590 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็นมูลค่า
ราว 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็นลาดับที่ 9 ของโลกเรียงตามจีดีพี มีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการอาเซียนมีจุดเริ่มต้น
จากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไทยเสีย
ดินแดนปราสาทพระวิหารให้กัมพูชาในปี พ.ศ. 2505 ต่อมาในปีพ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนได้ถือกา
เนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การ
พัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อ
พิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน
กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทาให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขต
การค้าเสรีอาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน
คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี
พ.ศ. 2558 สมาคมอาสาและปฏิญญากรุงเทพ
อาเซียนหรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(ASEAN : The Association of South East Asian Nations) ได้
ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน คือ
ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ต่อมาในปี
พ.ศ.2527 บรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ตามด้วยเวียดนาม
เข้ามาเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2538 ขณะที่พม่าและลาวเข้ามาเป็นสมาชิก
ใน พ.ศ.2540 และประเทศสุดท้ายคือกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน
เมื่อ พ.ศ. 2542 ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ
1.บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) 1.บรูไนดารุสาลาม ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า "เนการาบรูไน
ดารุสซาลาม" มีเมือง "บันดาร์เสรีเบกาวัน" เป็นเมืองหลวง ถือเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะมีพื้นที่
ประมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร ปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มี
ประชากร 381,371 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรเกือบ 70% นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ
2.ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับ
ประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศตะวันตก มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย มี
ประชากร 14 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในชนบท 95% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ใช้
ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเวียดนามได้
3.สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่
ที่สุดในโลก โดยมีพื้นที่ 1,919,440 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากถึง 240 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) โดย 61% อาศัย
อยู่บนเกาะชวา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ
4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People's Democratic Republic of Lao
PDR) เมืองหลวงคือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก โดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย
คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พื้นที่กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใดติดทะเล ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบ
สังคมนิยม โดยมีประชากร 6.4 ล้านคน ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก แต่ก็มีคนที่พูดภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสได้
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวงคือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร แบ่งเป็น
มาเลเซียตะวันตกบคาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งประเทศมีพื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร
จานวนประชากร 26.24 ล้านคน นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ใช้ภาษา Bahasa Melayu เป็นภาษาราชการ
6.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา ประกอบด้วยเกาะขนาดต่าง ๆ
รวม 7,107 เกาะ โดยมีพื้นที่ดิน 298.170 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 92 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนา
คริสต์ และเป็นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก มีการใช้ภาษาในประเทศมาก
ถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ
7.สาธารณรัฐสิงคโปร์ ( The Republic of Singapore) เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์ ตั้งอยู่บนตาแหน่งยุทธศาสตร์
ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของอาเซียน จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในย่านนี้ แม้จะมีพื้นที่
ราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น มีประชากร 4.48 ล้านคน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจา
ชาติ ปัจจุบันใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว)
8.ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ 513,115.02 ตาราง
กิโลเมตร ประกอบด้วย 77 จังหวัด มีประชากร 65.4 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และใช้ภาษาไทย
เป็นภาษาราชการ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ
9.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มี
พื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25% อาศัยอยู่ใน
เขตเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคม
นิยมคอมมิวนิสต์
10.สหภาพพม่า (Union of Myanmar) มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้ง
ประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท หรือหินยาน
และใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงานโครงงาน ตาม
ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างสื่อวีดีทัศน์
3. ศึกษาโปรแกรม Adobe audition ในการสร้าง
4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
5. ออกแบบสื่อวีดีทัศน์
6. จัดทาโครงงานสร้าง สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน
7. เผยแพร่ผลงานโดยการนาเสนอผ่านสื่อวีดีทัศน์
8. ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ศึกษา เรื่อง ประชาคมอาเซียน 2. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่างๆ ได้แก่
- โปรแกรม Final cut pro - โปรแกรม Motion 5 - โปรแกรม Adobe sound booth cs5
3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
- โปรแกรม Final cut pro - โปรแกรม Motion 5 - โปรแกรม Adobe sound booth cs5
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง สื่อ
เพื่อการศึกษาอาเซียน เนื้อหาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อ
เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน มีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาโรงงาน
การพัฒนาโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
ประชาคมอาเซียน ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม และจะก้าวสู่ประชาคมอาเซียนใน
พุทธศักราช 2558 นี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้
วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบ
อินเทอร์เน็ต www.youtube.com ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล
4.2 ตัวอย่างผลงาน ภาพที่ 1 ภาพผลงานสื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน สามารถสรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ
ดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
- โปรแกรม Final cut pro - โปรแกรม Motion 5 - โปรแกรม Adobe sound booth cs5
5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน
การดาเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน สื่อเพื่อ
การศึกษาอาเซียน เป็นสื่อวีดีทัศน์นาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต www.youtupe.com ที่มีทั้งภาพและเสียงสร้างความ
สนใจช่วยพัฒนาให้ความรู้ของผู้ชม มีความเข้าใจ เห็นความสาคัญของประชาคมอาเซียนที่จะเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย สื่อวีดี
ทัศน์เพื่อการศึกษาอาเซียน จึงเป็นสื่อที่มีประโยชน์ เป็นการนาซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประโยชน์
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายและมีเนื้อหาที่ออกมาหลายๆรูปแบบ
บรรณานุกรม
การผลิตสื่อวีดีทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์.สืบค้นเมื่อ
วันที่ 19 สิงหาคม 2555 จาก
เว็บไซต์: http://www.moe.go.th/webhr/index.php?option=com_content&vi
ew=article&id=102:videoforpr&catid=35:prkm&Itemid=37
ประชาคมอาเซียน.สืบค้นเมื่อ วันที่ 19 สิงหาคม 2555 จาก
เว็บไซต์:http://th.wikipedia.org/wiki/ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้
รู้จัก ประเทศอาเซียน ก่อนก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน 2558.สืบค้นเมื่อ
วันที่ 14 มิถุนายน 2555 จากเว็บไซต์:http://hilight.kapook.com/view
ภาคผนวก
ประวัติผู้จัดทาโครงงาน
นายจิณณวัตร บริหารกิจอนันต์ เกิดวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2538 ที่จังหวัด กรุงเทพฯจบการศึกษาระดับชั้นประถมจาก
โรงเรียน สารสาสน์วิเทศร่มเกล้า จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในปัจจุบันกาลัง
ศึกษาอยู่ที่โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ เกิดวันที่ 10 เมษายน 2538 ที่จังหวัด กรุงเทพฯจบการศึกษาระดับชั้นประถมจากโรงเรียน
อนุบาลพิบูลเวศม์ จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ที่
โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นางสาว ณัฏฐา โตรักษา เกิดวันที่ 21 มิถุนายน 2538 ที่จังหวัด กรุงเทพฯจบการศึกษาระดับชั้นประถมจากโรงเรียน กฤต
ศิลป์วิทยา จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ที่โรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kanokwan Rapol
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑Kruthai Kidsdee
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
irchula2014
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
Preaw Adisaun
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนขวัญ ขวัญ
 
โครงงาน Asean world
โครงงาน Asean worldโครงงาน Asean world
โครงงาน Asean worldJitinun Promrin
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3Mudhita Ubasika
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
Manunya Museanko
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
Manaf Joraka
 
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
Chainarong Maharak
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 

What's hot (14)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
พม่า
พม่าพม่า
พม่า
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
91หน้าการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษากับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในศตวรรษที่ ๒๑
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
 
โครงงาน Asean world
โครงงาน Asean worldโครงงาน Asean world
โครงงาน Asean world
 
10 6
10 610 6
10 6
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 

Viewers also liked

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Anirut Yotsean
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
Royphim Namsongwong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
Ploymnr
 
Asean project
Asean projectAsean project
Asean project
Tae Phitt Yo
 
คู่มือการสร้างบล็อก
คู่มือการสร้างบล็อกคู่มือการสร้างบล็อก
คู่มือการสร้างบล็อก
Kanyawat Keawwan
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานSasithorn Horprasong
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
Manussawee Rattana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
พัน พัน
 
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนโครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
Withyou shop
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8Teraphat Aroonpairoj
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
Sumalee Klom
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
พัน พัน
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
xavi2536
 

Viewers also liked (17)

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
Asean project
Asean projectAsean project
Asean project
 
คู่มือการสร้างบล็อก
คู่มือการสร้างบล็อกคู่มือการสร้างบล็อก
คู่มือการสร้างบล็อก
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอโครงงานตัดต่อวีดีโอ
โครงงานตัดต่อวีดีโอ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
 
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนโครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 

Similar to ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์

ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย
a
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss
Manunya Museanko
 
58210401117
58210401117 58210401117
58210401117
Manunya Museanko
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Teetut Tresirichod
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readinessi_cavalry
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAkarimA SoommarT
 
Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
Ict Krutao
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
julee2506
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 

Similar to ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

ASEAN Thai Version
ASEAN Thai VersionASEAN Thai Version
ASEAN Thai Version
 
ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซียประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย
 
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 203 ตอนที่ 2 หน่วย 2
03 ตอนที่ 2 หน่วย 2
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss
 
58210401117
58210401117 58210401117
58210401117
 
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asiaChapter 3 general knowledge about southeast asia
Chapter 3 general knowledge about southeast asia
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readiness
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 
Work6 99999
Work6 99999Work6 99999
Work6 99999
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
งานคอม 2
งานคอม 2งานคอม 2
งานคอม 2
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 

More from Thanamon Bannarat (20)

ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
ถ่านไม้ดูดกลิ่น2
 
Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53Correction onet m6_science_53
Correction onet m6_science_53
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
1
11
1
 
1
11
1
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ส งคม (1)
ส งคม (1)ส งคม (1)
ส งคม (1)
 
อ งกฤษ
อ งกฤษอ งกฤษ
อ งกฤษ
 
201308031822511
201308031822511201308031822511
201308031822511
 
อ งกฤษ
อ งกฤษอ งกฤษ
อ งกฤษ
 
201307161449131
201307161449131201307161449131
201307161449131
 
ส งคม (1)
ส งคม (1)ส งคม (1)
ส งคม (1)
 
201308041430491
201308041430491201308041430491
201308041430491
 
ฟ ส กส_
ฟ ส กส_ฟ ส กส_
ฟ ส กส_
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน โดย 1. นายจิณณวัตร บริหารกิจอนันต์ ม.6/12 2. นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18 3. นางสาวณัฏฐา โตรักษา ม.6/18 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบ ของโครงงานคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. โครงงาน เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน ประเภทของโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ผู้จัดทาโครงงาน นายจิณณวัตร บริหารกิจอนันต์ ม.6/12 นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ ม.6/18 นางสาวณัฏฐา โตรักษา ม.6/18 ปีการศึกษา 2555 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยสร้างสื่อวีดีทัศน์ นาเสนอ โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ในการบันทึกเสียง คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานโดยการนาเสนอสื่อวีดีทัศน์ในระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ผลการจัดทาโครงงาน พบว่า การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เพื่อการศึกษาในเรื่องประชาคมอาเซียน ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคม อาเซียนในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้รับความสนใจและเป็น วีดีทัศน์ที่มีประโยชน์ กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความกรุณาของคณะผู้บริหารและคณะอาจารย์หมวดคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ซึ่งได้ให้คาปรึกษา ข้อชี้แนะ และความช่วยเหลือจนกระทั่งโครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาขอ กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้ความกรุณาในการแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆ ของโครงงาน และ ให้ความรู้ ให้คาแนะนาทั้งให้กาลังใจ ท้ายสุดนี้คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาและเป็นที่น่าสนใจสา หรับผู้ที่สนใจต่อๆไป
  • 4. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนี้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับการ รวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่า ทันสถานการณ์เพื่อให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึ้นมาที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายในปี 2563 ซึ่ง ต่อมาได้เลื่อนกาหนดเวลาสาหรับการรวมตัวกันให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558 ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนที่ส่งผลต่อ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรม และ ความมั่นคง คณะผู้จัดทาเล็งเห็นความสาคัญจึงสร้างโครงงานนี้ขึ้นมา โดยการสร้าง วีดีทัศน์เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนเพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้เข้าใจและเห็นความสาคัญของ ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ขอบเขตของโครงงาน สร้างสื่อวีดีทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดี ทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ในการบันทึกเสียง
  • 5. แผนการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างสื่อ วีดีทัศน์ 3. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 4. ศึกษาโปรแกรมต่างๆ ในการสร้างวีดีทัศน์ 5. ออกแบบสร้างสื่อ วีดีทัศน์ ตกแต่งใส่เสียง 6. จัดทาโครงงานสร้าง สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน 7. เผยแพร่ผลงานสื่อ วีดีทัศน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 8. สรุปรายงานโครงงาน จัดทารูปเล่ม ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้สนใจมีความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างสื่อวีดีทัศน์ 3. ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและทาให้เกิดประโยชน์
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน ให้ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทา ได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 ประชาคมอาเซียน 2.2 การผลิตสื่อวีดีทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 2.1 ประชาคมอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน เป็นองค์กรทางภูมิรัฐศาสตร์และองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิก ทั้งหมด 10 ประเทศได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า อาเซียนมีพื้นที่ ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 590 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็นมูลค่า ราว 1.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็นลาดับที่ 9 ของโลกเรียงตามจีดีพี มีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการอาเซียนมีจุดเริ่มต้น จากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไทยเสีย ดินแดนปราสาทพระวิหารให้กัมพูชาในปี พ.ศ. 2505 ต่อมาในปีพ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนได้ถือกา เนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การ พัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธารงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อ พิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน กฎบัตรอาเซียนได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทาให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับสหภาพยุโรปมากยิ่งขึ้น เขต การค้าเสรีอาเซียนได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกาลังก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 สมาคมอาสาและปฏิญญากรุงเทพ
  • 7. อาเซียนหรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN : The Association of South East Asian Nations) ได้ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 โดยประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ต่อมาในปี พ.ศ.2527 บรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ตามด้วยเวียดนาม เข้ามาเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2538 ขณะที่พม่าและลาวเข้ามาเป็นสมาชิก ใน พ.ศ.2540 และประเทศสุดท้ายคือกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2542 ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ
  • 8. 1.บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) 1.บรูไนดารุสาลาม ประเทศบรูไน มีชื่อเป็นทางการว่า "เนการาบรูไน ดารุสซาลาม" มีเมือง "บันดาร์เสรีเบกาวัน" เป็นเมืองหลวง ถือเป็นประเทศที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก เพราะมีพื้นที่ ประมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร ปกครองด้วยระบบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มี ประชากร 381,371 คน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรเกือบ 70% นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษาราชการ 2.ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ เป็นประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับ ประเทศไทยทางทิศเหนือ และทิศตะวันตก มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย มี ประชากร 14 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2550) โดยประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในชนบท 95% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ใช้ ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ แต่ก็มีหลายคนที่พูดภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และเวียดนามได้ 3.สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) เมืองหลวงคือ จาการ์ตา ถือเป็นประเทศหมู่เกาะขนาดใหญ่ ที่สุดในโลก โดยมีพื้นที่ 1,919,440 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากถึง 240 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) โดย 61% อาศัย อยู่บนเกาะชวา ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษา Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ 4.สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People's Democratic Republic of Lao PDR) เมืองหลวงคือ เวียงจันทน์ ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก โดยประเทศลาวมีพื้นที่ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย คือ 236,800 ตารางกิโลเมตร พื้นที่กว่า 90% เป็นภูเขาและที่ราบสูง และไม่มีพื้นที่ส่วนใดติดทะเล ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบ สังคมนิยม โดยมีประชากร 6.4 ล้านคน ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก แต่ก็มีคนที่พูดภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสได้ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ 5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวงคือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร แบ่งเป็น มาเลเซียตะวันตกบคาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว ทั้งประเทศมีพื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร จานวนประชากร 26.24 ล้านคน นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจาชาติ ใช้ภาษา Bahasa Melayu เป็นภาษาราชการ
  • 9. 6.สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวงคือ กรุงมะนิลา ประกอบด้วยเกาะขนาดต่าง ๆ รวม 7,107 เกาะ โดยมีพื้นที่ดิน 298.170 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 92 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนา คริสต์ และเป็นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเป็นอันดับ 4 ของโลก มีการใช้ภาษาในประเทศมาก ถึง 170 ภาษา แต่ใช้ภาษาอังกฤษ และภาษาตากาลอก เป็นภาษาราชการ 7.สาธารณรัฐสิงคโปร์ ( The Republic of Singapore) เมืองหลวงคือ กรุงสิงคโปร์ ตั้งอยู่บนตาแหน่งยุทธศาสตร์ ที่เป็นศูนย์กลางคมนาคมทางเรือของอาเซียน จึงเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในย่านนี้ แม้จะมีพื้นที่ ราว 699 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น มีประชากร 4.48 ล้านคน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ แต่มีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจา ชาติ ปัจจุบันใช้การปกครองแบบสาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) 8.ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) เมืองหลวงคือกรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ 513,115.02 ตาราง กิโลเมตร ประกอบด้วย 77 จังหวัด มีประชากร 65.4 ล้านคน (ข้อมูลปี พ.ศ.2553) ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และใช้ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นองค์ประมุขของประเทศ 9.สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มี พื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสารวจถึงเมื่อปี พ.ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25% อาศัยอยู่ใน เขตเมือง ส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ปัจจุบัน ปกครองด้วยระบอบสังคม นิยมคอมมิวนิสต์ 10.สหภาพพม่า (Union of Myanmar) มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้ง ประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท หรือหินยาน และใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
  • 10. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงานโครงงาน ตาม ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างสื่อวีดีทัศน์ 3. ศึกษาโปรแกรม Adobe audition ในการสร้าง 4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 5. ออกแบบสื่อวีดีทัศน์ 6. จัดทาโครงงานสร้าง สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน 7. เผยแพร่ผลงานโดยการนาเสนอผ่านสื่อวีดีทัศน์ 8. ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน 3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ศึกษา เรื่อง ประชาคมอาเซียน 2. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่างๆ ได้แก่ - โปรแกรม Final cut pro - โปรแกรม Motion 5 - โปรแกรม Adobe sound booth cs5 3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ - โปรแกรม Final cut pro - โปรแกรม Motion 5 - โปรแกรม Adobe sound booth cs5
  • 11. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง สื่อ เพื่อการศึกษาอาเซียน เนื้อหาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน มีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้ 4.1 ผลการพัฒนาโรงงาน การพัฒนาโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน ที่ประเทศไทยได้เข้าร่วม และจะก้าวสู่ประชาคมอาเซียนใน พุทธศักราช 2558 นี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้ วางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบ อินเทอร์เน็ต www.youtube.com ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล 4.2 ตัวอย่างผลงาน ภาพที่ 1 ภาพผลงานสื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน
  • 12. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน สามารถสรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ - โปรแกรม Final cut pro - โปรแกรม Motion 5 - โปรแกรม Adobe sound booth cs5 5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน การดาเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน สื่อเพื่อ การศึกษาอาเซียน เป็นสื่อวีดีทัศน์นาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต www.youtupe.com ที่มีทั้งภาพและเสียงสร้างความ สนใจช่วยพัฒนาให้ความรู้ของผู้ชม มีความเข้าใจ เห็นความสาคัญของประชาคมอาเซียนที่จะเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย สื่อวีดี ทัศน์เพื่อการศึกษาอาเซียน จึงเป็นสื่อที่มีประโยชน์ เป็นการนาซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประโยชน์ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายและมีเนื้อหาที่ออกมาหลายๆรูปแบบ
  • 13. บรรณานุกรม การผลิตสื่อวีดีทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์.สืบค้นเมื่อ วันที่ 19 สิงหาคม 2555 จาก เว็บไซต์: http://www.moe.go.th/webhr/index.php?option=com_content&vi ew=article&id=102:videoforpr&catid=35:prkm&Itemid=37 ประชาคมอาเซียน.สืบค้นเมื่อ วันที่ 19 สิงหาคม 2555 จาก เว็บไซต์:http://th.wikipedia.org/wiki/ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ รู้จัก ประเทศอาเซียน ก่อนก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน 2558.สืบค้นเมื่อ วันที่ 14 มิถุนายน 2555 จากเว็บไซต์:http://hilight.kapook.com/view
  • 14. ภาคผนวก ประวัติผู้จัดทาโครงงาน นายจิณณวัตร บริหารกิจอนันต์ เกิดวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2538 ที่จังหวัด กรุงเทพฯจบการศึกษาระดับชั้นประถมจาก โรงเรียน สารสาสน์วิเทศร่มเกล้า จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในปัจจุบันกาลัง ศึกษาอยู่ที่โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นายณพงศ์ สุวรรณเชษฐ เกิดวันที่ 10 เมษายน 2538 ที่จังหวัด กรุงเทพฯจบการศึกษาระดับชั้นประถมจากโรงเรียน อนุบาลพิบูลเวศม์ จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ที่ โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นางสาว ณัฏฐา โตรักษา เกิดวันที่ 21 มิถุนายน 2538 ที่จังหวัด กรุงเทพฯจบการศึกษาระดับชั้นประถมจากโรงเรียน กฤต ศิลป์วิทยา จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจาก โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ในปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ที่โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6