SlideShare a Scribd company logo
1 of 191
Download to read offline
สรุปภาษาไทย
1. โครงสรางของพยางค มีองคประกอบดังตอไปนี้ (เปลงเสียง 1 ครั้งก็คือ 1 พยางค)
พยัญชนะตน
สระ
วรรณยุกต
ทุกพยางคจําเปนตองมีเสมอ!
1.
2.
3.
พยัญชนะทาย (ตัวสะกด) บางพยางคไมจําเปนตองมีก็ได4.
จากจุดนี้ จึงเปนตัวตัดสินวาโครงสรางพยางคของใครเหมือน/ตางเปนอันดับแรก
2. โครงสรางของแตละพยางค ตองมีทั้งรูป และ เสียง
1. พยัญชนะตน รูป 44 เสียง 21
2. สระ รูป 21 เสียง 21
3. วรรณยุกต รูป 4 เสียง 5
4. พยัญชนะทาย รูป 37 เสียง 8
3. ใหเด็กๆ ถอดพยางค "ทรุด"
1. พยัญชนะตน รูป ทร เสียง /ซ/
2. สระ รูป ตีนเหยียด เสียง อุ (สั้น)
3. วรรณยุกต รูป -(สามัญ) เสียง ตรี
4. พยัญชนะทาย รูป ด เสียง /ต/
4. ใหเด็กๆ ถอดพยางค "หมอบ"
1. พยัญชนะตน รูป หม เสียง /ม/
2. สระ รูป ตัวออ เสียง ออ (ยาว)
3. วรรณยุกต รูป - (สามัญ) เสียง เอก
4. พยัญชนะทาย รูป บ เสียง /ป/
BOBBYtutor Thai Note
5. พยัญชนะตน มี 44 รูป (ก ถึง ฮ) แบงเปนอักษร 3 หมู เรียกวา อักษรไตรยางศ
อักษรกลาง ทองวา ไก จิก เด็ก ตาย บน ปาก อาว
อักษรสูง ทองวา ผัว ฝาก ถุง ขาว สาร ให ฉัน
อักษรตํ่าคู ทองวา พอ คา ฟน ทอง ซื้อ ชาง ฮอ
อักษรตํ่าเดี่ยว ทองวา งู ใหญ นอน อยู ณ ริม วัด โม ฬี โลก
* ที่เรียกวา ตํ่าคู เพราะมีเสียงคูกับอักษรสูง แมวาหนาตาจะไมเหมือนกัน
6. พยัญชนะตนมี 21 เสียง จากตัวรูป 44 รูป เหลือ 21 เสียง เพราะบางรูปมีเสียงซํ้ากัน
1. รูปพยัญชนะ ก จะเปนเสียง /ก/
2. รูปพยัญชนะ ข ฃ ค ฅ ฆ จะเปนเสียง /ค/ = /ข/ /ฃ/ /ฅ/ /ฆ/
3. รูปพยัญชนะ ง จะเปนเสียง /ง/
4. รูปพยัญชนะ จ จะเปนเสียง /จ/
5. รูปพยัญชนะ ช ฌ ฉ จะเปนเสียง /ช/
6. รูปพยัญชนะ ซ ส ศ ษ จะเปนเสียง /ซ/
7. รูปพยัญชนะ ย ญ จะเปนเสียง /ย/
8. รูปพยัญชนะ ด ฎ ฑ จะเปนเสียง /ด/ *ระวัง เสียงนี้ในพยัญชนะทายไมมีแลว แมกด = /ต/
9. รูปพยัญชนะ ต ฏ จะเปนเสียง /ต/
10. รูปพยัญชนะ ท ถ ธ ฑ ฒ ฐ จะเปนเสียง /ท/
11. รูปพยัญชนะ น ณ จะเปนเสียง /น/
12. รูปพยัญชนะ บ จะเปนเสียง /บ/ *ระวัง เสียงนี้ในพยัญชนะทายไมมีแลว แมกบ = /ป/
13. รูปพยัญชนะ ป จะเปนเสียง /ป/
14. รูปพยัญชนะ พ ผ ภ จะเปนเสียง /พ/
15. รูปพยัญชนะ ฟ ฝ จะเปนเสียง /ฟ/
16. รูปพยัญชนะ ม จะเปนเสียง /ม/
17. รูปพยัญชนะ ร (ฤ) จะเปนเสียง /ร/
18. รูปพยัญชนะ ล ฬ (ฦ) จะเปนเสียง /ล/
19. รูปพยัญชนะ ว จะเปนเสียง /ว/
20. รูปพยัญชนะ อ จะเปนเสียง /อ/
21. รูปพยัญชนะ ฮ ห จะเปนเสียง /ฮ/
7. เสียงพยัญชนะตนควบกลํ้า (เสียงพยัญชนะประสม, เสียงพยัญชนะตน 2 หนวยเสียง)
ทองวา กอนคํ่าไปพบเตี่ย (ก ค ป พ ต) คูณดวย ร ล ว
กร คร ปร พร ตร
ทั้งหมด 11 เสียง เปนของไทยกล คล ปล พล ?
กว คว ? ? ?
หมายเหตุ คร = ขร คล = ขล คว = ขว พล = ผล
หมายเหตุ เสียงควบกลํ้าที่มาจากภาษาอังกฤษ /ดร/ /ฟร/ /ฟล/ /บร/ /บล/
BOBBYtutor Thai Note
8. เสียงพยัญชนะตนควบกลํ้าไมแท มี 2 Version
8.1 ไมออกเสียง ร คือ ตัวหนาออกเสียง (ร ไมออกเสียง) จริง ไซร ศรี สรอย สราง สระ
8.2 "ทร" เปลี่ยนเสียงเปน ซ
ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอินทรี
มัทรีอินทรียมี เทริดนนทรีพุทราเพรา
ทรวงไทรทรัพยแทรกวัด โทรมนัสฉะเชิงเทรา
ตัว "ทร" เหลานี้เรา ออกสําเนียงเปนเสียง "ซ"
แต "ทร" ควบกลํ้าแทก็มี แตมาจากภาษาสันสกฤต จันทรา นิทรา อินทรา ภัทรา อินทรวิเชียรฉันท
9. อักษรนํา มี 2 Version (เอกลักษณอักษรนํา เวลาอานจะมีเสียง "ห" นํา)
9.1 อาน 2 พยางค ทองวา สูงหรือกลาง นําหนา ตํ่าเดี่ยว ใชสระตัวเดียวกัน (ทั้งคํามีสระ 1 ตัว)
พยางคหนาออกเสียง "อะ" พยางคหลังออกเสียง "ห" นํา
ผงก สนิม สยาย ตลาด ขนม สมัน
9.2 อาน 1 พยางค ทองวา "ห" นําตํ่าเดี่ยว หรือ "อ" นํา "ย"
หนอน หมอน หนอย อยา อยู อยาง อยาก
10. ภาษาไทยเรามีรูปพยัญชนะบางรูปไมออกเสียง เชน องค พรหม ปรารถนา สามารถ พุทธ พราหมณ เนตร
จักร หลาก หมา สรวล สรวง เสร็จ โทรม ทราบ หนอน สรอย ทรง ลักษณ ลักษมณ ฯลฯ
11. สระ มี 21 รูป 21 เสียง
1. วิสรรชนีย ะ
2. ลากขาง า
3. พินทุอิ 
4. หยาดนํ้าคาง 
5. ตีนเหยียด 
6. ตนคู 
7. ไมหนา เ
8. ไมโอ โ
9. ไมมลาย ไ
10. ไมมวน ใ
11. ฝนทอง ’
12.! ฟนหนู "
13. ไมไตคู  คําวา "ก็" เสียงสระเอาะ
14. ไมหันอากาศ 
15. ตัวรึ ฤ ยืมมาจาก สันสกฤต
16. ตัวรือ ฤๅ ยืมมาจาก สันสกฤต
17. ตัวลึ ฦ ยืมมาจาก สันสกฤต
18. ตังลือ ฦๅ ยืมมาจาก สันสกฤต
19. ตัวออ อ เปนสระ ก็ไดแฮะ!
20. ตัววอ ว เปนสระ ก็ไดแฮะ!
21. ตัวยอ ย เปนสระ ก็ไดแฮะ!
BOBBYtutor Thai Note
12. เสียงสระ มี 21 เสียง มี 2 Version
1. สระเดี่ยว (สระแท) 18 เสียง อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ = คูสระ
2. สระประสม (สระเลื่อน) 3 เสียง เอีย อัว เอือ ทองวา เมียกลัวเรือ
สระประสมตัวมันเองจะไมมีตัวสะกด แตถาตองการเติมสามารถทําไดภายหลัง
ลาย เมีย เมียง
ลาว กลัว กลวย
อาว เรือ เรือน
13. 8 พยางคทอง อํา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ = ไมใชสระเกิน
= อ + อะ + ม
= อ + อะ + ย
= อ + อะ + ย
= อ + อะ + ว
อํา
ไอ
ใอ
เอา
เปนพยางคที่มีตัวสะกดแมจะมองไมเห็น
= ร + อึฤ
ฤๅ
ฦ
ฦๅ
เปนพยางคที่ไมมีตัวสะกด
= ร + อื
= ล + อึ
= ล + อื
14. ระวังมีหลักอยูขอหนึ่ง คือ ภาษาไทยสามารถออกเสียงสระไมตรงกับรูป คือ ปกติรูปยาวออกเสียงยาว รูปสั้น
ออกเสียงสั้น แตบางคําออกเสียงไมตรงกับรูป
หลักการทําขอสอบ คือ ออกเสียงคูสระของมัน วาตรงกับชีวิตจริง ?
วาว รูปยาว แตออกเสียง สั้น (อะ)
อิเหนา รูปสั้น แตออกเสียง ยาว (อี)
คลินิก รูปสั้น แตออกเสียง ยาว (อี)
คอมพิวเตอร รูปยาว แตออกเสียง สั้น (เอาะ)
15. รูปสระบางรูปไมออกเสียง เชน ยาธาตุ นั่งขัดสมาธิ พยาธิ ญาติ ประวัติ เมรุ มาตุ ฯลฯ
16. สระลดรูป คือ มองไมเห็นรูปสระเดิม หรืออาจเปลี่ยนรูปเปนสระอื่นได เพราะมันมีตัวสะกด เชน กัน ศร เปน ชน
เชิง เลย สงน ฯลฯ
17. เปลี่ยนเสียงคูสระสั้น-ยาว จะมีผลตอความหมาย
วัด → วาด
จิน → จีน
แกะ → แก
เกาะ → กอ
18. วรรณยุกต มี 4 รูป 5 เสียง (สามัญไมมีรูปใหเห็น)
หลักการนับเสียงวรรณยุกต 1. ออกเสียงคํานั้นจากชีวิตจริงกอน
2. นับนิ้ว
19. วรรณยุกตตางกัน ความหมายจะตางกัน เชน เสือ เสื่อ เสื้อ
BOBBYtutor Thai Note
20. วรรณยุกตมีการออกเสียงไมตรงกับรูปก็ได
ขี้ริ้ว รูปโท แตเสียง ตรี
ทาน รูปเอก แตเสียง โท
21. พยัญชนะทาย มีรูป 37 รูป มี 8 เสียง (8 แม 8 มาตรา)
ตัวอักษรที่ใชเปนตัวสะกดไมไดมี ผัว ฝาก เฌอ เอม ให ฉัน ฮา
1. แมกก = เสียง /ก/ ใชรูปสะกด คือ ก ข ค ฆ
2. แมกบ = เสียง /ป/ ใชรูปสะกด คือ บ ป พ ภ ฟ
3. แมกด = เสียง /ต/ ใชรูปสะกด คือ ด ต จ ช ฎ ฏ ฐ ฒ ส ศ ษ ถ ท ธ ซ ฑ
4. แมกม = เสียง /ม/ ใชรูปสะกด คือ ม
5. แมกน = เสียง /น/ ใชรูปสะกด คือ น ณ ญ ร ล ฬ
6. แมกง = เสียง /ง/ ใชรูปสะกด คือ ง
7. แมเกย = เสียง /ย/ ใชรูปสะกด คือ ย
8. แมเกอว = เสียง /ว/ ใชรูปสะกด คือ ว
22. พยางคปด คือ พยางคที่มีเสียงตัวสะกด อํา ไอ ใอ เอา เชน กิน จิบ จํา ฯลฯ
พยางคเปด คือ พยางคที่ไมมีเสียงตัวสะกด เอีย อัว เอือ เชน ดุ ปู เมีย ฯลฯ
23. คําโสด : คํามูล (พยางคเดียวหรือหลายพยางคก็ได แตแยกจากกันไมไดแลว)
คําแตงงาน : ประสม ซอน ซํ้า สมาส สนธิ
24. คํามูล : ขาว อวน ไกล เพ็ญ โชว ขมิ้น ดิฉัน บะหมี่ เสวย ขจี สวรรคต ฯลฯ
25. คําประสม : เกิดจากคํามูล 2 คําขึ้นไปมารวมกันแลวเกิดความหมายใหม แตตองมีเคาความหมายเดิม ใชเรียก
สิ่งใหม คํามูล 2 คํานั้นหามเหมือน คลาย ตรงขาม มิฉะนั้นจะกลายเปน ซอนหมาย (คําประสม เชน นาม กริยา
หรือวิเศษณก็ได)
บานพัก เรือดวน ขายตัว
บานเรือน เรือแพ ซื้อขาย
1. N + N = N. เชน รถไฟ นํ้าปลา ฯลฯ
2. N + V. = N. เชน หมอดู เหล็กดัด ฯลฯ
3. N + adj = N. เชน มดแดง กลองดํา ฯลฯ
4. N + Prep = N. เชน คนกลาง ความหลัง ฯลฯ
5. V. + V. = N. เชน หอหมก กันสาด ฯลฯ
6. V. + N = N. เชน เรียงความ พัดลม ฯลฯ
7. N + V. + N = N. เชน ชางเย็บผา คนขายตั๋ว ฯลฯ
8. V. + V. = V. เชน เดินเลน ติดตั้ง ฯลฯ
9. V. + N = V. เชน ยกราง เดินสาย ฯลฯ
10. V. + adj = V. เชน อวดดี คิดคด ฯลฯ
11. N + V. = V. เชน หัวหมุน ใจแตก ฯลฯ
12. adj + N = V. เชน ดีใจ ออนใจ ฯลฯ
13. N + adj = adj. เชน ใจเย็น หัวสูง ฯลฯ
คําประสมสามารถแปลไมตรงตัว แปลเปรียบเทียบได เชน แมวมอง ปากฉลาม ตีนแมว ฯลฯ
BOBBYtutor Thai Note
26. คําซอน มี 2 Version
1. ซอนเพื่อความหมาย มีไวขยายความ (คํา 2 คําที่มาวางซอนตองมีความหมายทั้งคู คือ เหมือน คลาย ตรงขาม)
2. ซอนเพื่อเสียง มีไวไพเราะ (คํา 2 คําที่มาวางซอนกันตองมีเสียงพยัญชนะตนเสียงเดียวกัน แตจะมี 1 คํา ไมให
ความหมายหรืออาจไมใหความหมายของ 2 คําเลย)
คําซอนเพื่อความหมาย เชน บานเรือน เล็กนอย ซื้อขาย ฯลฯ
คําซอนเพื่อเสียง เชน ดีเด มองเมิง โลเล ฯลฯ
* คําซอนเพื่อความหมาย ความหมายหลักบางครั้งอยูที่คําหนาหรือหลังก็ได เชน ใจคอ นํ้าหูนํ้าตา หนาตา หูตา ปากคอ
ฯลฯ
ตารางความแตกตางระหวางคําประสมกับคําซอน
คําประสม คําซอน
1. ใชเรียกสิ่งใหม
2. หามเหมือน คลาย ตรงขาม
3. นํ้าหนักอยูที่คําตน
4. แปลเปรียบเทียบได
1. ไมไดเรียกสิ่งใหม
2. ตอง เหมือน คลาย ตรงขาม
3. นํ้าหนักเทากัน ไมมีใครเดนกวาใคร
4. แปลเปรียบเทียบไมได
27. คําซํ้า ตองมี ๆ ใหเห็น เพราะขี้เกียจเขียน 2 ครั้ง เชน เด็กๆ เพื่อนๆ ดังๆ ฯลฯ แตจะเขียนใช ๆ ได จะตองมี
ลักษณะ 3 ประการใหครบตอไปนี้
1. คําเขียนเหมือนกัน
2. ความหมายเหมือนกัน
3. หนาที่ของคําเหมือนกัน
* คําตอไปนี้ตองเปนคําซํ้าเสมอ เชน ฝนตกหยิมๆ พยักหนาหงึกๆ พูดฉอดๆ ไดมาเหนาะๆ
ความหมายที่เกิดจากการซํ้าคํา
1. บอกพหูพจน : เพื่อนๆ นองๆ ปๆ ตูๆ ฯลฯ
2. เนนความหมาย : ซวยสวย เดกเด็ก ดี๊ดี ฯลฯ
3. ไมเจาะจง : เชาๆ เย็นๆ หลังๆ แถวๆ ฯลฯ
4. แยกเปนสวน : คนๆ เรื่องๆ หองๆ อยางๆ ฯลฯ
5. เปลี่ยนความหมายจากเดิม : หยกๆ พื้นๆ ลวกๆ หมูๆ งูๆ ปลาๆ ฯลฯ
6. บอกความไมตั้งใจ : สงๆ เขียนๆ ชอบๆ ฯลฯ
7. ทํากริยานั้นไปเรื่อยๆ : มองๆ นั่งๆ เดินๆ ฯลฯ
8. บอกลักษณะ : หลอๆ อวบๆ ดําๆ สูงๆ ฯลฯ
28. คําสมาส มี 2 Version (ตองเปนภาษาอินเดีย คือ บาลี-สันสกฤต เพราะเปนหลักสูตรของอินเดีย)
28.1 สมาสแบบสมาส ที่พูดติดปากวา คําสมาส (ชน)
28.2 สมาสแบบสนธิ ที่พูดติดปากวา คําสนธิ (เชื่อม) คือ สมาสแบบกลมกลืนเสียง
* ระวัง ตอไปนี้ไมใชคําสมาส เพราะมีภาษาไทยแท ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ เขามาปน
พลเมือง ผลไม คุณคา ทุนทรัพย ราชวัง ราชดําเนิน พลความ พลเรือน พระพุทธเจา ตรัสรู สรรพสิ่ง
มูลคา ชํานาญการ เคมีภัณฑ ภูมิลําเนา เครื่องจักร บายศรี กลเม็ด กลมทา เมรุมาศ กระยาสารท
BOBBYtutor Thai Note
สมาส สนธิ
ชน
แยกงาย
เชื่อม
แยกยาก
แยกงาย : มองเห็นศัพทรูปเดิมเปนคําๆ เต็มๆ ไมเปลี่ยนแปลง
แยกยาก : มองไมเห็นศัพทรูปเดิมแตแยกแลว 99% คําหลังขึ้นตนดวย "อ"
28.1 คําสมาสแบบสมาส มีสูตรงายๆ 2 ขอ (ความหมายหลักจะอยูหลัง เวลาแปลจะ แปลจากขางหลังไปหนา)
1. ลางใหสะอาด คือ ลาง  และ ะ ของคําหนาทิ้ง
2. ทากาว คือ ตรงรอยตอของ 2 คําใหออกเสียง "อะ"
ศิลปะ + ศาสตร = ศิลปศาสตร
สวัสดิ์ + ภาพ = สวัสดิภาพ
สิทธิ์ + บัตร = สิทธิบัตร
ภูมิ + ศาสตร = ภูมิศาสตร
ชาติ + ภูมิ = ชาติภูมิ
ญาติ + เภท = ญาติเภท
อุบัติ + เหตุ = อุบัติเหตุ
วีระ + บุรุษ = วีรบุรุษ
ระวัง! เจอคําเหลานี้ลงทายจะเปนสมาสแบบสมาส
"กิจ การ กรรม กร ศึกษา ภัย สถาน ภาพ วิทยา ศิลป ธรรม ศาสตร"
= ศุลก + อากร
= ศิลป + อากรแต ศิลปากร
สนธิ
ศุลกากร
คุณากร
ประชากร
สรรพากร
= คุณ + อากร
= ประชา + อากร
= สรรพ + อากร
28.2 สมาสแบบสนธิ จะดูแยกออกจากกันแยกยาก แตเวลาแยกแลว คําหลังขึ้นตนดวย "อ" (แยกยาก คือ
มองไมเห็นศัพทรูปเดิมเปนตัวๆ) สนธิ มี 3 Version
1. สระสนธิ เอาสระกับสระมาเจอกัน
อะอา + อะอา = อา สุข + อภิบาล = สุขาภิบาล
อะอา + อิอี = อีเอ (อิ อี เอ) นร + อิศวร = นเรศวร
อะอา + อุอู = อุอูโอว (อุ อู โอ) นย + อุบาย = นโยบาย
อะอา + เอไอโอเอา = เอไอโอเอา ราช + ไอศูรย = ราไชศูรย
อิอี + อิ = อิ โกสี + อินทร = โกสินทร
อุอู + อุอู = อุอู ครู + อุปกรณ = ครุปกรณ
BOBBYtutor Thai Note
2. พยัญชนะสนธิ เอาพยัญชนะกับพยัญชนะมาเจอกัน (หลักการ คือ 1. เปลี่ยน ส. เปน โ 2. ลบ ส. ทิ้ง)
มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ
มนสฺ + รถ = มโนรถ
สรชฺ + ช = สโรช
ศิรสฺ + เพฐน = ศิโรเพฐน
เตชสฺ + ชัย = เตโชชัย
นิรสฺ + ภัย = นิรภัย
อาตมนฺ + ภาพ = อาตมภาพ
พรหมนฺ + ชาติ = พรหมชาติ
รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน
เตชสฺ + ธาตุ = เตโชธาตุ
นิรสฺ + ทุกข = นิรทุกข
ทุรสฺ + ชน = ทุรชน
ทรสฺ + พล = ทุรพล
ยสสฺ + ธร = ยโสธร
3. นฤคหิตสนธิ คือ สํ +
สระ
พยัญชนะวรรค
เศษวรรค
สํ เจอสระ ใหสระผม
สํ + อาคม = สมาคม
สํ + อาทาน = สมาทาน
สํ + อุทัย = สมุทัย
สํ + โอสร = สโมสร
สํ + อาส = สมาส
สํ + อิทธิ = สมิทธิ
สํ เจอพยัญชนะวรรค ใหเปลี่ยนเปนตัวสุดทายของวรรคนั้น
= สังคมก ข ค ฆ ง
*เปนภาษาบาลี-สันสกฤต
= สัญจร
= สัณฐาน
= สันธาน
= สัมผัส
จ ฉ ช ฌ ญ
ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
ต ถ ท ธ น
ป ผ พ ภ ม
สํ + คม
สํ + จร
สํ + ฐาน
สํ + ธาน
สํ + ผัส
เศษวรรค : วิรุฬหยลสํ
สํ เจอเศษวรรค ใหทิ้ง
สํ + โยค = สังโยค
สํ + หรณ = สังหรณ
สํ + วร = สังวร
สํ + วาส = สังวาส
สํ + สันทน = สังสันทน
BOBBYtutor Thai Note
29. คําเปนคําตาย ทองสูตร คือ ดูตัวสะกดอันดับแรก
คําตาย = เจอแม กบด มันก็ตาย จํา : ใครกบฏมันตองตาย เชน โรค ภาพ มรกต ฯลฯ
= ถาไมมีตัวสะกดคอยดูสระเสียงสั้น จํา : อายุสั้นมันก็ตาย เชน นะ ดุ ทิ ฯลฯ
คําเปน = เจอแม มนงยว เพราะยังมีชีวิตเปนๆ เธอเปนสาวชาวพมา เชน สม ชาง ฯลฯ
= ถาไมมีตัวสะกดคอยดูที่สระเสียงยาว เพราะชีวิตยืนยาวก็เปนๆ เชน ตา ดู ปู ฯลฯ
30. คําครุ คําลหุ ทองสูตร คือ ดูตัวสะกดกอนอันดับแรก
คําครุ : พยางคที่มีเสียงหนัก วิธีการจําดูจาก ค.
: เจอตัวสะกดทุกแมเปนครุ หมด เชน โรค ภาพ มรกต สม ชาง ฯลฯ
: ถาไมเจอตัวสะกดก็ดูที่สระเสียงยาว ยิ่งยาวยิ่งหนัก เชน ชูใจ มานี ฯลฯ
คําลหุ : พยางคที่มีเสียงเบา วิธีการจําดูจาก ล. เธอเกิดมาอาภัพ
: หามมีตัวสะกดและตองเจอสระเสียงสั้นเทานั้น เชน บ ธ ณ ก็ เงอะงะ เกะกะ เอะอะ ฯลฯ
* อํา ไอ ใอ เอา เปนครุ เพราะ มีตัวสะกด
31. คําไทยแท
1. 99% ไทยแทจะมีพยางคเดียว เชน กิน นอน ฉัน ขา ดิน นํ้า บน ใน ฯลฯ
2. 1% จะมี 2 พยางค
จะมาจากการกรอนเสียง (ตัดเสียง) เชน หมากพราว → มะพราว ตัวขาบ → ตะขาบ ฯลฯ
จะมาจากการเพิ่มเสียง เชน หนึ่ง → ประหนึ่ง โดด → กระโดด ทวง → ประทวง ฯลฯ
3. ไทยแทสะกดตรงตามมาตรา เชน รัก คับ รัด วัง เรือน ผม หาย ผิว ฯลฯ แตบางครั้งสะกดตรงตามมาตรา
ก็ไมใชไทยแท
ระวัง! โลก กาย ยาน พน ชน ราม ธน มน กนก วัย ชัย อภัย อาลัย → มาจาก บาลี-สันสกฤต
ระวัง! จมูก เดิน ตะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ปลนสะดม โงเขลา โปรด → มาจาก เขมร
4. ไทยแทไมมีการันต ยกเวน ผี้ว มาห เยียร = ไทยแท
5. ไทยแทมีวรรณยุกตได แตภาษาอื่นไมมีวรรณยุกต
6. ไทยแทไมนิยมตัวอักษรหยักๆ หัวแตกๆ หางยาวๆ เชน ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ยกเวนบางคําเปน
ไทยแท คือ หญิง หญา ใหญ ระฆัง ฆา เฆี่ยน เศิก ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯลฯ
32. คําบาลี-สันสกฤต
บาลีมีสระ 8 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
สันสกฤตมีสระ 14 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เพิ่ม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
บาลีมีพยัญชนะ 33 ตัว = 5 วรรคๆ 5 ตัว = 25 + เศษวรรค 8 = 33
สันสกฤตมีพยัญชนะ 35 ตัว = เหมือนบาลีทุกตัว เพิ่มพิเศษอีก 2 = ศ ษ
คําสันสกฤต ทองสูตร หระนะควบหันเคราะหกด
1. หระ คือ ประสมสระ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เปนสันสกฤต เชน ไมตรี เยาวชน ฤดู ฯลฯ
2. นะ คือ ประสมพยัญชนะ ศ ษ เปนสันสกฤต เชน ศาสนา รัศมี ศึกษา มนุษย ฯลฯ
3. ควบ คือ ควบกลํ้า เปนสันสกฤต จะควบกลํ้าศัพทหรูเลิศ เชน ปราชญ จักร อินทร ประทีบ ฯลฯ
4. หัน คือ รร เปนสันสกฤต เชน ธรรม จรรยา สวรรค อุปสรรค ฯลฯ
5. เคราะห คือ มีคําวา "เคราะห" เปนสันสกฤต เชน อนุเคราะห สังเคราะห วิเคราะห ฯลฯ
6. กด คือ ตัวสะกด ตัวตาม นอกเหนือกฎเกณฑของบาลี ยกใหเปนสันสกฤต เชน อัคนี มุกดา รักษา วิทยา
สัตว มนัส อาชญา ฯลฯ
BOBBYtutor Thai Note
คําบาลี ตองมีตัวสะกด ตัวตามอยูบรรทัดเดียวกัน
1. ทองวา 1 สะกด 1, 2 ตาม เชน สักกะ จักขุ สัจจะ มัจฉา รัฏฐ อัฏฐิ ทิฏฐิ อัตตา วัตถุ บุปผา กิจจ จิตต นิจจ
เขตต ฯลฯ
2. ทองวา 3 สะกด 3, 4 ตาม เชน อัคคี พยัคฆ วิชชา อัชฌาสัย วัฑฒนะ สิทธิ อัพภาส เวชช ฯลฯ
3. ทองวา 5 สะกด 1, 2, 3, 4, 5 ตาม เชน กังขา สัญญา วันทนา องค สันติ บิณฑบาต คัมภีร การุญญ
หิรัญญ อรัญญ สามัญญ ธัญญ เบญจ บุญญ ฯลฯ
4. เศษวรรคสะกด แลวเศษวรรคตาม เชน ภัสสร ปสสาวะ วัลลภ มัลลิกา นิสสัย นิสสิต ฯลฯ
33. คําเขมร
1. คนเขมรชอบสะสม จาน หญิง ลิง เรือ เสือ = สะกดดวย จ ญ ล ร ส
2. คนเขมรชอบควบ = ควบกลํ้า (คํางายๆ ธรรมดาๆ)
3. คนเขมรชอบนํา = อักษรนํา
4. คนเขมรชอบอํา = ขึ้นตนดวย "กํา คํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา สํา อํา"
5. คนเขมรชอบระบํา = บํา บัง บัน บรร
1. อํานาจ เสร็จ เสด็จ เพ็ญ สราญ เจริญ ถกล จรัล กํานัล กําธร อร ขจร จํารัส ตรัส ฯลฯ
2. กรวด กระบือ ขลาด เกลอ โปรด ประชุม ประเดิม คลัง กรม เพลา โขลน ไพร ปรุง เพลิง ฯลฯ
3. ขยม เขมา สนอง เสวย เขนย จมูก ถวาย ฉนํา ขนุน ขยํา ขนม จรวด สนิม ฯลฯ
4. กําเนิด จําแนก จําหนาย ชํานาญ ชํารุด ดําเนิน ดําริ ดํารัส ตํารา กําจัด อํานวย ฯลฯ
5. บําเพ็ญ บํานาญ บําบัด บังควร บังอาจ บังคม บันเทิง บันดาล บรรทุก บรรจุ บรรจง ฯลฯ
34. ราชาศัพท จํา 3 อยางตอไปนี้ใหดีๆ
1. ลําดับชั้นพระราชวงศไทย โดยมี 5 ชั้น (5 level)
2. จําคํานาม ทําใหเปน คํานามราชาศัพท
3. จําคํากริยา ทําใหเปน คํากริยาราชาศัพท
ชั้นที่ 1
* เปนคํานาม
พระบรม/พระบรมราช
ชั้นที่ 2
ชั้นที่ 3-4-5
พระราช
พระ
* คํากริยา เจออะไรเอา "ทรง" ขึ้นตนใหหมด แตเวนอยางเดียวที่ทรงขึ้นตนนําหนาไมได คือ คํานั้นเปนกริยา
ราชาศัพทอยูแลว
35. ราชวงศ 5 ชั้น
ชั้นที่ 1 (พระบาทสมเด็จ ....................)
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
ชั้นที่ 2 (สมเด็จพระบรม ....................)
สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
BOBBYtutor Thai Note
ชั้นที่ 3 (สมเด็จเจาฟา ....................)
สมเด็จพระเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี
สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี
ชั้นที่ 4 (พระองคเจา ....................)
พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา
* สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
(สมเด็จวัดอื่นๆ จะใชราชาศัพท ไมได)
ชั้นที่ 5 (หมอมเจา ....................)
หมอมเจาสิริวัณวรี มหิดล
ม.ร.ว. ม.ล. ไมใชราชาศัพท
36. การทําคํานามใหเปน คํานามราชาศัพท
1. ใชพระบรมหรือพระบรมราช นําหนาคํานามสําคัญมากๆ ของในหลวงพระองคเดียว เชน พระบรมมหาราชวัง
พระบรมราชินี พระบรมโอรสาธิราช พระสยามบรมราชกุมารี
* พระปรมาภิไธย (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร)
พระบรมนามาภิไธย (ชั้น 2 ใช พระนามาภิไธย)
* พระบรมราชโองการ (ชั้น 2 ใช พระราชโองการ) แตสมเด็จพระนางเจาฯ ใช พระราชเสาวณีย
พระบรมราโชวาท (ชั้น 2 ใช พระราโชวาท)
พระบรมราโชบาย (ชั้น 2 ใช พระราโชบาย)
* พระบรมราชูปถัมภ (ชั้น 2 ใช พระราชูปถัมภ) แตสมเด็จพระนางเจาฯ ใช พระบรมราชินูปถัมภ
พระบรมราชวินิจฉัย (ชั้น 2 ใช พระราชวินิจฉัย)
พระบรมราชวโรกาส (ชั้น 2 ใช พระราชวโรกาส)
พระบรมราชานุเคราะห (ชั้น 2 ใช พระราชานุเคราะห)
พระบรมเดชานุภาพ (ชั้น 2 ใช พระเดชานุภาพ)
2. "พระราช" ใชนําหนาทั่วๆ ไปของในหลวง และคํานามสําคัญของราชวงศลําดับ 2 เชน
1. พระราชหฤทัย 4. พระราชดําริ
2. พระราชประวัติ 5. พระราชประสงค
3. พระราชกุศล 6. พระราชนิพนธ
(ไหนนักเรียนลองถอดคําศัพทขางตนใหราชวงศ ลําดับ 3-4-5 จะใชวาอยางไร)
1. พระหฤทัย 4. พระดําริ
2. พระประวัติ 5. พระประสงค
3. พระกุศล 6. พระนิพนธ
BOBBYtutor Thai Note
3. "พระ" นําหนานามธรรมดาขั้นพื้นฐาน ชั้น 1-5 ใชไดหมด เชน พระเกาอี้ พระสุพรรณราช พระตําหนัก
พระบาท พระหัตถ พระนาสิก ฯลฯ
4. คําราชาศัพทบางคําไมนิยมใช "พระ" จะใช หลวง, ตน แทน เชน ชางหลวง เรือนหลวง ชางตน เรือตน
เรือนตน เครื่องตน ฯลฯ
37. การทํากริยา ทําใหเปน กริยาราชาศัพท
1. ทรง + กริยาธรรมดา กริยาราชาศัพท เชน ทรงเปลี่ยน ทรงเจิม ทรงวิ่ง ทรงฟง ฯลฯ
2. ทรง + นามธรรมดา กริยาราชาศัพท เชน ทรงกีตาร ทรงมา ทรงสกี ฯลฯ
3. ทรง + นามราชาศัพท กริยาราชาศัพท เชน ทรงพระราชดําริ ทรงพระราชสมภพ ฯลฯ
* คําที่หามใช ทรง นําหนา : ซูบพระองค บรรทม ประสูติ สวรรคต ประทับ เสวย เสด็จ เสด็จแปรพระราชฐาน
ตรัส รับสั่ง สรง โปรด พอพระราชหฤทัย พอพระทัย กริ้ว ทอดพระเนตร สุบิน พระราชทาน สิ้นพระชนม
38. มี, เปน + ราชาศัพท เชน มีพระราชประสงค เปนพระราชโอรส มีพระราชดําริ ฯลฯ
ทรงมี, ทรงเปน + คําธรรมดา เชน ทรงมีความสงสาร ทรงเปนครู ทรงเปนประธาน ฯลฯ
39. สวรรคต = ชั้น 1-2
สิ้นพระชนม = ชั้น 3-4
สิ้นชีพิตักษัย = ชั้น 5
ถึงแกอสัญกรรม = ประธานาธิบดี, ประธาน 3 อํานาจ, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี, รัฐมนตรี
ถึงแกอนิจกรรม = ขาราชการ ซี 9 ขึ้นไป, ทานผูหญิง
ถึงแกกรรม = พวกเราๆ ทานๆ
40. กราบบังคมทูลรายงาน = พูดรายงาน (ไมตองใสถวายขางหนารายงาน)
41. แสดงความจงรักภักดี = มีความจงรักภักดี (ไมตองใสถวายความจงรักภักดี)
42. รับเสด็จพระราชดําเนิน = ตอนรับ (ไมตองใสถวายการตอนรับ)
43. ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย = (ทูลเกลาฯ ถวาย) ของเล็กๆ ยกได
นอมเกลานอมกระหมอมถวาย = (นอมเกลาฯ ถวาย) ของใหญๆ หรือของเล็กจํานวนเยอะมาก
44. แปรพระราชฐาน = ไปพักผอน
เสด็จนิวัติพระนคร = ขากลับกรุงเทพฯ
45. "เสด็จ" ใชเหมือนกับ "ทรง" ทุกอยาง แตแพ ทรง อยู 1 อยาง คือ เสด็จ + นามธรรมดาไมได เชน เสด็จกีตาร
เสด็จ + กริยาธรรมดา = เสด็จไป เสด็จออก เสด็จขึ้น เสด็จลง ฯลฯ
เสด็จ + นามราชาศัพท = เสด็จพระราชสมภพ เสด็จพระราชดําเนิน ฯลฯ
46. เสด็จพระราชดําเนิน + V.หลัก (เพื่อบอกวัตถุประสงค)
เสด็จพระราชดําเนินไปเรียนตอตางประเทศ
เสด็จพระราชดําเนินตรวจพลสวนสนาม
เสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศไทย
47. พระบรมฉายาสาทิสลักษณ : รูปวาด
พระบรมฉายาลักษณ : รูปถาย
พระบรมรูป : รูปปน
BOBBYtutor Thai Note
48. พระปรมาภิไธย : ชื่อราชการทูลเกลาฯ ถวาย
พระบรมนามาภิไธย : ชื่อตัว (ภูมิพล)
พระราชสมัญญา : ชื่อที่ประชาชนทูลเกลาฯ ถวาย เชน พระปยมหาราช, พระมหาธีรราชเจา
49. วันพระบรมราชสมภพ : วันเกิด (5 ธันวาคม 2470)
วันคลายวันพระบรมราชสมภพ : วันคลายวันเกิด (5 ธันวาคม ของทุกป)
50. อาคันตุกะ : ใชเรียก สามัญชน, K ไปเปนแขกของ สามัญชน
ราชอาคันตุกะ : ใชเรียก สามัญชน ไปเปนแขกของ K
พระราชอาคันตุกะ : ใชเรียก K, ประธานาธิบดี ไปเปนแขกของ K
* ถา กษัตริย ไปเปนแขกของประธานาธิบดี จะใช อาคันตุกะ
* ถา ประธานาธิบดี ไปเปนแขกของกษัตริย จะใช พระราชอาคันตุกะ
* จําเจาบานเปนหลัก
51. ความหมายของคําในภาษาไทยมี 2 Version
1. แปลตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายนัยตรง
2. แปลไมตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายโดยนัย ความหมายโดยอุปมา ความหมายนัยประหวัด
ความหมายนัยตรง ความหมายโดยนัย
ดาว = stars
ฟน = teeth
ดาว = คนสวย คนเดน คนดัง
ฟน = นะ
52. ความหมายแบงตามลักษณะความหมาย มี 5 Version
1. ความหมายเหมือนกัน = ไวพจน (synonym)
2. ความหมายใกลเคียงกัน = (คลายๆ กัน แตไมเหมือนกัน)
3. ความหมายตรงขามกัน = (antonym)
4. พองรูป พองเสียง พองทั้งรูปพองทั้งเสียง (พอง แปลวา เหมือน คําจะพองกันไดตองมี 2 คําขึ้นไป
5. ความหมายแคบ กวาง
53. ไวพจน เวลาขอสอบ Ent ถาม คือ หลากคํา
พระเจาแผนดิน = ไท ไท บพิตร ขัตติยะ นฤบาล นฤบดี ฯลฯ
ทองฟา = เวหา หาว นภา โพยม นลฯ
ทอง = กนก สุวรรณ สุพรรณ กาญจนา เหม ฯลฯ
พระจันทร = แข แถง บุหลัน โสม รัชนีกร ศศิธร ฯลฯ
พระอาทิตย = ไถง รพี รวี ทิพากร อาภากร ฯลฯ
แผนดิน = ดาว ธาษตรี เมทินี หลา ปฐพี ฯลฯ
54. ความหมายใกลเคียงกัน
ภาพพจน = เปรียบเทียบ ปรบมือ = ยกยอง
ภาพลักษณ = Image ตบมือ = ทั่วๆ ไป
สมรรถภาพ = คน จักรวรรดิ = Kingdom (ดินแดน)
สมรรถนะ = เครื่องยนต จักรพรรดิ = King (คน)
BOBBYtutor Thai Note
55. ความหมายตรงขามกัน
มงคล ≠ อวมงคล
ทักษิณาวรรต ≠ อุตตราวรรต
โลกียธรรม ≠ โลกุตตรธรรม
นางฟา ≠ เทวดา
สวรรค ≠ นรก
สุริยัน ≠ จันทรา (หาม พระจันทร เพราะคนละระดับ)
56. พองรูป = หวงแหน จอกแหน
พองเสียง = ทาร ทาน ธาร
พองทั้งรูปพองทั้งเสียง = "อยาลืมฉันนะพี่" "อยาลืมฉันนะหลวงพี่"
*ความหมายที่มาพองจะไมเหมือนกัน
57. ความหมายแคบกวาง = สับเซต
ความหมายกวาง สี ภาชนะ มนุษย กีฬา ผลไม
ความหมายแคบ สีแดง หมอ ผูชาย วาว strawberry
58. ประโยคบกพรอง มี 10 Version
1. การใชคําขัดแยงกัน : ความหมายขัดกัน ไปดวยกันไมได
* คุณแมสับหมูทีละชิ้น แกเปน หั่น
* แมวาลูลูจะสวย แตเธอก็มีแฟนหลอ แกเปน ขี้เหร
ถาจะออก Ent หัวขอนี้ ระวัง! คําเชื่อม (บุพบท สันธาน ประพันธสรรพนาม ขัดแยงกัน)
2. ใชคําผิดความหมาย ระวังเรื่องคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน Ent จะเอาเขามาหลอก ทําใหสับสน เวลาอาน
ขอสอบใหสังเกตวา อานแลวสะดุดตรงไหน แปลกๆ ตรงไหน ไมเคยไดยินแปลกๆ ระวังตรงนั้น
* พอกลับมาเหนื่อยๆ คุณพอก็อาบนํ้าชําระลางสังขารใหสะอาด แลวก็เขานอน
* ที่ประชุมในสภาโตเถียงกันอยางอิสระเสรี
3. ใชสํานวนเปรียบเทียบไมเหมาะสม ระวังใชสํานวนไทยใหถูกตอง จะออกประมาณ 1 ขอ
* คุณครูกับอาจารยใหญสุมหัวเรื่องกําหนดวันสอบปลายภาค แกเปน ประชุม
* คุณยายตักบาตรเสร็จก็เลยกรวดนํ้าควํ่าขัน แกเปน กรวดนํ้า
4. ใชคําฟุมเฟอย ลักษณะภาษาไทยตองกะทัดรัด ชัดเจน หามเยิ่นเยอ คําไหนแปลเหมือนกันใหตัดทิ้ง มันเกิน
เขามาโดยไมจําเปนก็ใหตัดเสีย แตตองไมใหเสียความหมาย
ระวัง! มี ใน ให ทํา + การ, ความ = 99% จะฟุมเฟอย
คุณประเทืองมีความยินดีที่จะประกวดนางฟาจําแลง
แต 1% ก็อาจไมฟุมเฟอยก็ได
คุณประเทืองมีความรักใหเด็กๆ ผูชาย
* ในอดีตที่ผานมาชีวิตฉันขมขื่นเมื่ออยูกับเขา (ตัด ที่ผานมา ทิ้ง)
* โตขึ้นฉันอยากอยูกับเอิน จะไดเปนเกษตรกรชาวนาตัวอยางกับเขาบาง (ตัด ชาวนา ทิ้ง)
BOBBYtutor Thai Note
5. ใชสํานวนภาษาตางประเทศ หามใชสํานวนภาษาตางประเทศเด็ดขาด ในการสอบ Ent วิชาภาษาไทย
1. หลักไวยากรณไทย ตองเรียง ประธาน + กริยา + กรรม (Active) หามใช .......... โดย = สํานวนตางประเทศ
(Passive)
* ภาพยนตรเรื่อง "The beach" นําแสดงโดย ลีโอ พุฒ (ต.ป.ท.)
แกเปน →→→→ * ลีโอ พุฒ แสดงภาพยนตรเรื่อง "The beach" (ไทย)
2. ถูก .................... + ความหมายไมดี = ไวยากรณไทย
ถูก .................... + ความดี = สํานวนตางประเทศ
* คุณลอราถูกลวนลามเมื่อวานตอนกลับบาน (ไวยากรณไทย)
* คุณลูลูถูกเชิญใหมางานเลี้ยงสมาคมแมบานทหารบก (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน →→→→ * สมาคมแมบานทหารบกเชิญคุณลูลูใหมางานเลี้ยง (ไวยากรณไทย) (S + V + O)
3. มัน ถาแปลวา It's จะเปนสํานวนตางประเทศ
* มันเปนความลําบากของฉันที่จะเข็นครกขึ้นภูเขา (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน →→→→ * ฉันเข็นครกขึ้นภูเขาลําบาก (ไวยากรณไทย) (S + V + O)
* มันฝรั่งใสแกงใชไหม (สํานวนภาษาไทย)
4. ไวยากรณไทยตองมีลักษณนามตามหลังตัวเลข
* 3 พรรคการเมืองประชุมอยางเครงเครียด (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน →→→→ * พรรคการเมือง 3 พรรค ประชุมอยางเครงเครียด (ไวยากรณไทย) S + V + O
5. การวางสวนขยายตองวางไวขางหลัง ถึงจะเปนไวยากรณไทย
* ไมเปนการงายเลยที่ตํารวจจะตามจับนักโทษแหกคุก (สํานวนตางประเทศ)
แกเปน →→→→ * ตํารวจจะตามจับนักโทษแหกคุกไมงาย (ไวยากรณไทย) S + V + O
จําไวหลักๆ คือ ไวยากรณไทยจะตองเรียง S + V + O เปนพื้นฐาน
6. ตีความได 2 อยาง : ภาษาไทยบางครั้งกํากวม แปลได 2 ความหมาย เวลาเจอขอสอบใหแปลตรงตัว
ตามคํานั้นกอน แลวคอยๆ นึกอีกความหมายหนึ่งที่ซอนอยู
* อาการชักแบบนี้สงสัยจะโดนของ 1. Something
2. คุณไสย
* ดูนั่นสิ! ชมพูกําลังกิน 1. Eating
2. กําลังพอเหมาะที่จะกิน
7. วางสวนขยายผิดที่ ภาษาไทยสวนขยายตองวางขางหลังคําหลัก แตไมจําเปนตองติดกัน
* พระราชินีแหงอังกฤษตอนรับอยางสมเกียรติคณะทูตไทย
แกเปน →→→→ * พระราชินีแหงอังกฤษตอนรับคณะทูตไทยอยางสมเกียรติ
* พวกเรากอเจดียทรายในวันสงกรานตอยางสนุกสนาน
แกเปน →→→→ * พวกเรากอเจดียทรายอยางสนุกสนานในวันสงกรานต
8. ประโยคไมสมบูรณ อาจจะขาดประธาน กริยา กรรม บุพบท สันธาน หรือขาดอีก 1 ประโยค
* คณะแมบานสหกรณอําเภอภูเขียวที่พึ่งจะเขาเฝาฯ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ
ขาด กิริยา (แลวทําไมตอละ)
* แมวาเขาจะเปนผูบุกเบิกการคิดคนยาสมุนไพรสําหรับแกโรคมะเร็งไดสําเร็จเปนคนแรก
ขาด 1 ประโยค
BOBBYtutor Thai Note
9. ภาษาผิดระดับ ไวยากรณไทยใน 1 ประโยค ตองใชภาษาระดับเดียวกัน หามใช 2 ระดับในประโยคเดียวกัน
* คณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติอภิปรายเรื่องวิกฤตการณในอิรักอยางเมามัน
* คุณแมจะบอกคุณพอตอนไหนคะ วาหนูสําเร็จการศึกษาปริญญาขั้นนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
10. เวนวรรคตอนผิด : ระวัง! คําประสมในภาษาไทยจะถูกฉีกใหอาน 2 แบบ แลวถาอานเวนวรรคตอนผิด
ความหมายจะกํากวม
* พี่วิลลี่คะขอจานรองแกวหนอยสิ
* จดหมายลงทะเบียนเสร็จหรือยัง
59. ภาพพจน มี 8 Version (ภาพพจนตองมีการเปรียบเทียบ)
1. อุปมา เปรียบ เหมือน มีคําที่แปลวา เหมือน = ดุจ ประดุจ ดัง ดั่ง ปูน เพียง ราว เสมอ ประหนึ่ง
กล ละมาย คลาย ครุวนา เชน เทียบ เลห พาง ฉัน แมน เฉก ยิ่ง ปาน ฯลฯ
"เจางามพักตรผองเพียงบุหลันฉาย"
ระวัง ! มีคําตระกูล "เหมือน" แตไมใชอุปมา เพราะ ไมไดเปรียบเทียบ โดยเฉพาะคําวา เหมือน ดัง เชน
2. อุปลักษณ เปรียบ เปน คือ หรือ ละคํา ไมตองใส เปน, คือ ก็ได
"ฉันเปนตะเกียงสองทางใหเธอเดิน" = อุปลักษณ
Ent ชอบออก ระวัง! "ฉันก็เปนผูหญิงคนหนึ่ง" (เจิน เจิน) = ไมใชอุปลักษณ เพราะ ไมไดเปรียบเทียบ
"พี่จะเปนบัลลังกตระการ แมนองคือนางพญา" = อุปลักษณ
แกวกิริยาตัดพอขุนแผนวาตัวเองสูนางวันทองไมได จึงพูดวา
"หิ่งหอยหรือจะแขงแสงพระจันทร อยาปนนํ้าใหหลงตะลึงเงา"
หิ่งหอย = แกวกิริยา
แสงพระจันทร = วันทอง
* อุปลักษณแบบละคํา (Ent' ชอบออก)
แตประโยคนี้ "ฉันเปนดั่งพฤกษาในวนาลึก" จะยกใหเปนอุปมาหรืออุปลักษณ
* จําเลยนะ เปนดั่ง เปนดุจ เปนเฉก เปนเชน เปนเพียง เปนเหมือน = อุปมา
3. สัญลักษณ, นามนัย = ตระกูลเดียวกัน "พูดปุบรูปบ" แตคนละตัว
สัญลักษณ = ศัพทที่จะเปนสัญลักษณไดจะตองมีความเหมือน จุดเดนรวมกับหรือ (Intersection) กับคําแปล
เชน
อีกา คนชั้นตํ่าแปลวา
ตํ่าตอย
หงส คนชั้นสูงแปลวา
ผูดี
พายุ อุปสรรคแปลวา
วุนวาย
ดอกมะเขือ ความออนนอมแปลวา
นอมลง
BOBBYtutor Thai Note
นามนัย = ศัพทที่จะเปนนามนัย ศัพทตัวนั้นตองเปน จุดสําคัญ เปนสวนหนึ่งหรือเปนแค สับเซตของคําแปล
เชน
ทีมโสมหมายถึงประเทศเกาหลี
นวมหมายถึงนักมวย
เมืองนํ้าหอมหมายถึงประเทศฝรั่งเศส
ปากกาหมายถึงนักเขียน
เปนจุดเดน
เปนจุดเดน
เปนจุดเดน
เปนจุดเดน
จําไววา : เปนสัญลักษณแลวจะเปนนามนัยไมได เปนนามนัยแลว เปนสัญลักษณไมได
จําไววา : สัญลักษณ, นามนัย = พูดปุบรูปบ สังคมเขากําหนดไวแลว
: อุปลักษณละคํา = แลวแตกวีจะเปรียบเทียบเปนอะไรก็ได
*ระวัง! สัตวในนิทานอีสปถือวาเปนสัญลักษณ เชน
ราชสีห = ผูมีอํานาจ
ลา = คนโง
งูเหา = คนทรยศ
สุนัขจิ้งจอก = พวกเจาเลห
4. บุคลาธิษฐาน : อธิษฐานโดยทําสิ่งที่ไมใชคน ใหทํากริยาเหมือนคน ทองสูตรวา "เจาประคุณ ขอใหเปนคนทีเถอะ"
(บุคคลวัต, บุคคลสมมุติ)
"ดอกหญาสายระบําขําเจาลมแลง"
"นํ้าพริกกะปมัวยั่วใหฉันเกิดกิเลส"
หลักการบุคลาธิษฐานใหดูที่ V. + adj.
5. อธิพจน ≠ อวพจน (อ อาง โอเวอร)
อธิพจน = คนกลาว OVERมากกวาความเปนจริง
อวพจน = คนกลาว OVERนอยกวาความเปนจริง
อธิพจน
อวพจน
FACT
"เรื่องนี้สบายมาก เรื่องขี้ผง" = อวพจน
"พี่คิดถึงนองทุกนาที" = อธิพจน
อธิพจน, อวพจน = OVER คนทําเอง
บุคลาธิษฐาน = OVER แบบสิ่งที่ไมใชคนเปนคนทํา
6. สัทพจน = เลียนเสียงธรรมชาติ (ส. เสือ Sound of Music)
"ไกขัน" = ไมใชสัทพจน
"เอกอี๊เอกเอก" = สัทพจน
"ฟารอง" = ไมใชสัทพจน
"เปรี้ยงเปรี้ยง" = สัทพจน
BOBBYtutor Thai Note
7. ปฏิพากย = การกลาวขัดแยง
"ผูหญิงสวยเปนบา"
"คุณปาใจดีฉิบ lose"
8. อุปมานิทัศน : เปนการเปรียบโดยยกประโยคยาวๆ มาเปรียบ แตอุปมายกแคคํา
"นักเรียนก็เหมือนเพชรที่จะตองถูกเจียระไน ใหเพชรเงางาม สองประกาย บางมุมเหลี่ยมอาจจะไมคม
ตองเจียใหคม เพื่อจะใหสมเปนเพชรนํ้าหนึ่งประดับหัวแหวน โดยครูคนนี้และจะตั้งใจเจียเพชรเม็ดนี้ใหประณีตที่สุด"
60. คําประพันธในวรรณคดีไทย
คําประพันธ จํานวนคําใน 1 บท แบงวรรคละ สูตรสัมผัส
กลอนแปด
กาพยฉบัง 16
กาพยสุรางคนางค 28
กาพยยานี 11
อินทรวิเชียรฉันท 11
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสามสุภาพ
รายยาว
32 × 2 = 64
16 × 2 = 32
28 × 2 = 56
22 × 2 = 44
22 × 2 = 44
30 ± 2, 4 = 32, 34
19 + 2 = 21
ไมแนนอน
8 - 8 - 8 - 8
6 - 4 - 6
4 - 4 - 4 - 4 - 4 - 4 - 4
5 - 6 - 5 - 6
5 - 6 - 5 - 6
5 - 2 5 - 2 5 - 2 5 - 4
5 - 5 - 5 - 6
ไมแนนอน
8 - 11 16 - 24 - 27
6 - 10 (16 - 22)
"เมื่อคืนฉันฝน"
5 - 8 11 - 16
5 - 8 11 - 16
พระลอ, พระราม
เครื่องบินรอนลง
ตรงไหนก็ได
ขอสอบ Ent จะใหประโยคยาวๆ มาแลวใหเราแบงวรรค แลวถามวาเปนคําประพันธชนิดใด
สูตร 1. นับคํา
2. สงสัยวาเปนอะไรใหลองแบงวรรค แลวเอาสัมผัสแทนคาวาลงจังหวะไหม
ระวัง! ตัวหลอก
คูแรก ฉบัง 16 2 บท = กลอนแปด 1 บท
คูสอง กาพยยานี 11 กับ อินทรวิเชียรฉันท 11 แตกตางตรงฉันท 3 - 6 - 7 - 9 = ลหุ
คูสาม กาพยยานี 11 กับ โคลงสามสุภาพ จํานวนคําใกลเคียงกัน
คูสี่ กลอนแปด กับ โคลงสี่สุภาพ จํานวนคําใกลเคียงกัน แตโคลงมีเอก 7 โท 4
ทองสูตรสัมผัสของสุรางคนางค : "เมื่อคืนฉันฝน วาเธอกับฉัน ชวนกันขี่ควาย ควายมันไลขวิด หวุดหวิดเจียนตาย
ฝนดีหรือราย ทํานายใหที"
โคลงสามสุภาพ :
 ก
  กก ( )
* ขอสอบ Ent แบบคําประพันธแนวใหม จะใหวรรคแบงมาเรียบรอยแลว แตสลับวรรคมั่วกัน ใหนักเรียนเรียง
ลําดับใหถูกตอง นักเรียนก็ใชสูตรเดียวกับขางบน
"พระสมุทรสุดลึกลนคณนาสายดิ่งทิ้งทอดมาหยั่งไดเขาสูงอาจวัดวากําหนดจิตมนุษยนั้นไซรยากแทหยั่งถึง"
เปนคําประพันธ โคลงสี่สุภาพ
BOBBYtutor Thai Note
61. ความงามวรรณศิลป มี 8 Version
1. สัมผัสสระ : สระกับตัวสะกดเสียงเดียวกัน แตเสียงพยัญชนะตนหามเหมือนกัน
"เปนแถวทองลองตามกัน"
"เจริญกรุง บํารุงเมือง เฟองนคร"
"จันทรจวง ดวงจันทร"
"อาภาพร นครสวรรค" พร
พร
คร
2. สัมผัสอักษร : (สัมผัสพยัญชนะ) ใหดูที่เสียงพยัญชนะตนเสียงเดียวกัน
"ยุย ญาติเยอะ" เสียงพยัญชนะตน /ย/
"พี่จําใจจําจากเจาพรากมา"
"ตองจําจําใจจากเจาคืนคอย"
3. สัมผัสวรรณยุกต : สัมผัสวรรณยุกตแทนที่จะเหมือนกันมาเจอกัน แตกลับเรียงวรรณยุกตจาก นอย → มาก
มาก → นอย (2 ตัว หรือ 3 ตัวก็ได)
"บึงบัวตุมตุมตุม กลางตม"
"แมลงเมาเมาเมาฉม ซมซราบ"
แต "แมนแมมาจักวอน พี่ชี้"
"ดลยังเวียงดานดาว โดยมี"
* ไมใชสัมผัสวรรณยุกต เพราะตัวสะกดไมเหมือนกัน
4. จินตภาพ : ภาพที่เกิดในสมองจินตนาการ มี 3 Version
1. จินตภาพดาน ภาพ (แสง + สี) "ใบระกาหนาบันบนชั้นมุข สุวรรณสุกเลื่อมแกวประภัสสร"
2. จินตภาพดาน เคลื่อนไหว (นาฏการ) "เรือสิงหวิ่งเผนโผน โจนตามคลื่นฝนฝาฟอง"
3. จินตภาพดาน เสียง = สัทพจน "สายธารไหลจอกจอกเซาะซอกหิน"
หลักการทําใหสังเกต V. + adj
5. การใชคําที่มีเสียงและจังหวะดุจดนตรี (ตองแยกออกเปน 2 ตัว คือ เสียงและจังหวะ)
1. เสียงดุจดนตรี : มีวรรณยุกตหลายๆ เสียงใน 1 วรรค แตไมจําเปนตองเรียงวรรณยุกตเหมือนสัมผัส
วรรณยุกต "ตะลึงเหลียวเปลี่ยวเปลาใหเหงาหงิม"
2. จังหวะดุจดนตรี : ใน 1 วรรค แบงจังหวะการอานไดเทาๆ กัน (ถวง ....................)
"เชาทําเปนหนายบายบอกเหนื่อยเย็นเมื่อยลา"
"ถือหัตถงาทาเห็นงาม ตามทํานองตองธรรมเนียม เตรียมทุกหมวดตรวจทุกหมู"
6. การเลนคํา : ใชคําๆ เดียวกันวางทั่วๆ ไป แลวความหมายไมเหมือนกัน เชน
"นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา"
เลนคําวา นวล
BOBBYtutor Thai Note
7. การซํ้าคํา : ใชคําๆ เดียวกันวางทั่วๆ ไป แลวความหมายตองแปลเหมือนกันทุกตัว เชน
"งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย
งามพริ้มยิ้มแยมพราย งามคําหวานลานใจถวิล"
ซํ้าคําวา งาม เพราะทุกตัวแปลวา Beautiful
8. ดุลเสียงและดุลความหมาย : 2 วรรค มีคําเทากันและตําแหนงเดียวกันมีคําเหมือนกัน จึงใหเสียงและความหมาย
เหมือนกัน เชน
"มีเพื่อนเลนก็ไมเหมือนกับเพื่อนตาย มีเพื่อนชายก็ไมเหมือนมีเพื่อนชม"
"ยิ่งวายิ่งยุ" (วรรคเดียวแบบนี้อนุโลม)
"รูหลบเปนปก รูหลีกเปนหาง"
62. ประโยคความเดียว ความรวม ความซอน
ความเดียว = S1 + V1 สวนขยายยาวไดแตตองเปนวลี ของแทมีเลข 1 (S., V.)
ความรวม = 2 ความเดียว = 1 ความหมาย โดยเอาสันธานเชื่อม ของแทตองมีเลข 2 (S., V.)
ความซอน = ซอน แปลวา ขยาย จําอยางนี้กอน โดยสวนขยายเปนประโยค แสดงวาก็ตองมี 2 ประโยครวมกัน
แตใหดูวาเอา "ที่ ซึ่ง อัน ผูที่ ผูซึ่ง วา ให" เชื่อม โดย 2 ประโยคนั้นนํ้าหนักไมเทากัน โดยมีประโยคหนึ่งเปนตัวตั้ง
แลวมีอีกประโยคมาขยาย
(ความเดียว) เขาปลูกขาวนาปรังทุกปริมแปลงเกษตรสาธิต
(ความรวม) เขาปลูกขาวนาปรังทุกปและเขาขายขาวนาปรังทุกป = "เขาปลูกและขายขาวนาปรังทุกป"
(ความซอน) เขาปลูกขาวนาปรังที่กํานันทรงเสนอแนะ
ระวัง! 1. ความรวมกับความซอน สามารถละตัวเชื่อมได แตก็มีวิธีดูที่ นํ้าหนักประโยค
2. หลัง ที่ ซึ่ง อัน .................... จะเปนประโยคขยาย
สรุปความแตกตางระหวาง ความเดียว ความรวม ความซอน
1. เดียว กับ รวม ใหดูที่ เลข 1 + 2
2. รวม กับ ซอน ใหดูที่ เอาอะไรเชื่อม
3. ซอน กับ เดียว ใหดูที่ เอาอะไรขยาย
ลองทําดูวาเปนประโยคความอะไร
(ซอน) 1. นายกรัฐมนตรีใหคําสัญญาแกชาวไทยวา จะแกปญหาเศรษฐกิจใหได
(ซอน) 2. คนที่ลอบยิงทานประธานาธิบดีตองเปนคนวงใน
(รวม) 3. แตฉันก็ทําสุดความสามารถแลวก็ยังไมประสบความสําเร็จ
(เดียว) 4. ตัวอยางที่ดีตองเปนที่โรงเรียนนายรอย
(เดียว) 5. คุณธรรมของผูใหญ คือ เมตตาธรรมตอเพื่อนมนุษยและสัตวโลก
(ซอน) 6. เจาหนาที่ของสหรัฐพบวา ทหารอิรักสะสมขีปนาวุธในโกดังสินคาใกลกรุงแบกแดด
(รวม) 7. สถาบันวิจัยจุฬาภรณรวมกับมูลนิธิสายใจไทยจัดงานครั้งนี้
(เดียว) 8. งานฤดูหนาวของจังหวัดเชียงใหมสําเร็จไปไดดวยความรวมมือของประชาชนชาวเชียงใหม
(ซอน) 9. บุคคลใดที่ไมเคยพบกับความทุกขเลย คือ บุคคลที่ไมเคยพบกับประสบการณชีวิต
(รวม) 10. เจาหมูนอยหัวใจเทวดาวิ่งงับอนาคอนดาอยางเมามัน
BOBBYtutor Thai Note
(ซอน) 11. ชาวลอนดอนชินกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงเสมอๆ
(ซอน) 12. พนักงานขององคการโทรศัพทกําลังปนเสาอยูใกลหอประชุมของโรงเรียน
(ซอน) 13. คุณครู Lilly ไมชอบนักเรียนลอกขอสอบ
(ซอน) 14. ชาวไทยตองทนกับสภาพเศรษฐกิจอยางนี้จนเสียขวัญหมดแลว
(เดียว) 15. การไมพูดระหวางรับประทานอาหารเปนนิสัยที่ดีของลูกผูหญิง
(ซอน) 16. ภาพที่เธอสงเขาประกวดและเพื่อนๆ ชวยกันวาดนั้น ไดรับรางวัลชนะเลิศ
(รวม) 17. ชาวประมงทําลายปะการังที่ทางรัฐบาลสงวน แต ส.ส. บางคนเห็นดีดวยกับชาวประมง
(ซอน) 18. ภาพวาดนางบุษบาเสี่ยงเทียนที่คุณจักรพันธุวาดนั้น ไดรับรางวัลพระราชทาน
(รวม) 19. การวายนํ้าเปนกิจกรรมที่มีประโยชนตอรางกายทุกสวน และการพักผอนซึ่งเปนกิจกรรมของคนเรามี
ความสําคัญไมแพกัน
(รวม) 20. หากเราสามารถเก็บเศษใบไมและกระปองนํ้าอัดลมตามชายหาดไดแลวก็จะทําใหชายหาดพัทยาสวยขึ้น
(ซอน) 21. การที่คุณแมหักเงินคาขนมพวกเธอเปนการลงโทษอยางเบาๆ
(รวม) 22. หมาของฉันไลกัดนักเรียนกลุมนั้น
(รวม) 23. ครูใชปากกาหมึกซึมตรวจการบานนักเรียน
(ซอน) 24. เขาตบหนาเพื่อนยืนหลังโตะ
(ซอน) 25. ผลิตภัณฑที่สรางจากภูมิปญญาของชาวบาน เปนงานที่นายกยองอยางหนึ่ง
63. การอานจับใจความ (ออกสอบเยอะมาก) หลักการทํา คือ
1. ยังสรุปใจความ (Main Idea) ไมได อยาอาน choice 4 ขอ
2. หา 3 W (Who, What, Why)
3. ไลผี คือ เอา choice ที่ผิดแนๆ ออกไปกอน
ระวัง ! จุดหลอกของการอานจับใจความ
1. การเปรียบเทียบ อันไหนเกิดจริง อันไหนเปรียบเทียบ ตองจับใหได
2. ศัพทที่แปลไมตรงตัว (เราก็อาศัย บริบท ในการตีความ)
3. การตอบดูใหดี มี 2 แง จะตอบคลุมหรือตอบเจาะ (choice 2 ขอ สุดทายจะบอกเราเอง)
4. ระวัง Error ภาษาที่เขียน choice ตีความดีๆ มันจะหลอก
64. โวหาร ทางรอยแกว มี 7 Version
1. บรรยายโวหาร ไดเรื่องราว ขอมูล
2. พรรณนาโวหาร ไดภาพรายละเอียด
3. อธิบายโวหาร ทําใหเขาใจ
4. สาธกโวหาร ยกตัวอยาง
5. เทศนาโวหาร สั่งสอน
6. อุปมาโวหาร เปรียบเทียบ (คลุมทั้งหมด 8 ภาพพจน)
7. อภิปรายโวหาร โนมนาวใจ (Persuade)
BOBBYtutor Thai Note
บรรยายโวหาร (เนื้อๆ) = ได Information ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร
พรรณนาโวหาร (นํ้าๆ) = ได Detail ใหภาพรายละเอียด บุคคล วัตถุ สถานที่ เหตุการณ มี 2 ลักษณะ
คือ แยกสวนประกอบ : ชี้ลักษณะเดน
สูตรการดูพรรณนาโวหาร คือ ตระกูล ว. + แซมเปรียบเทียบ
วิเศษณ วิลิศ วิจิตร เวอร + แซมเปรียบเทียบ
65. อธิบายโวหาร มี 6 Version เรียกวา กลวิธีอธิบาย
1. การอธิบายตามลําดับขั้น : ใชกับเรื่องๆ นั้นตองเปน ขั้นตอน กรรมวิธี
2. การใชตัวอยาง : เพื่อให เห็นภาพชัดเจน
3. การเปรียบเทียบความเหมือน/ตาง : ใชเปรียบเทียบของ 2 สิ่งไมใชภาพพจน
4. การชี้สาเหตุผลลัพธสัมพันธกัน : ใชใหเหตุผลอธิบาย
5. การนิยาม : จะใชกับคําศัพท แตไมจําเปนตองมี หมายถึง, คือ เสมอไป
6. การกลาวซํ้าดวยถอยคําที่แปลกออกไป : อธิบายใหมเปนรอบที่ 2 แตจะใชคํา งายขึ้น มักจะมีคําวา กลาวคือ
แตไมตองมี กลาวคือ เสมอไปก็ได ถาไมมี กลาวคือ เขาจะเวนวรรคเอา (ขอความหนาและหลัง กลาวคือ ตองมี
ความหมายเหมือนกัน)
66. ทรรศนะ คือ ความคิดเห็น (Opinion) อาจถูกหรือผิดก็ได เพราะไมใช FACT
คําที่แสดงทรรศนะ คือ คง คงจะ นา นาจะ ควร ควรจะ พึง พึงจะ อาจ อาจจะ หรือ ผมเห็นวา, เขาใจวา,
สรุปวา, มีมติวา, เสนอวา หรืออาจไมมีคําพวกนี้เลยก็ได
ทรรศนะ มี 3 Version
1. ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง (Guess) : เดา, สันนิษฐาน ไมใช บอก ขอเท็จจริง
2. ทรรศนะเชิงคุณคา/คานิยม (Evaluate) : ประเมินคา, ตัดสินใจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
3. ทรรศนะเชิงนโยบาย (Suggest) : แนะนํา
* พี่ชายเธอดูเทหระเบิดเลย หุนดี หนาตาก็ใชได (ทรรศนะเชิงคุณคา)
* ฉันวาเธอเอาเรื่องแสงสีกับกินดีอยูดีสอบดีกวา เหมาะกับเธอดี (ทรรศนะเชิงนโยบาย)
* คงไมใชนักโทษแหกคุก 4 คนนี่หรอก ฉันวาคงตองเปนผูคุมตางหาก (ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง)
67. ระเบียบวิธีคิด มี 3 Version
1. วิเคราะห : หาสาเหตุ ทําไมเกิด = ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง
2. ประเมินคา : ใหความเห็นประเมิน = ทรรศนะเชิงคุณคา/คานิยม
3. สังเคราะห : คิดวิธีการ Idea ใหญๆ = ทรรศนะเชิงนโยบาย
68. โครงสรางเหตุผล มี 2 องคประกอบ คือ
(เกิดกอน) 1. เหตุ สาเหตุ ขอสนับสนุน
(เกิดหลัง) 2. ผล ผลลัพธ ขอสรุป
ระวัง! สันธานเหลานี้จะเจอเสมอเรื่องโครงสรางเหตุผล เพราะ, เนื่องจาก, ดวย, ก็เลย, จึง, ดังนั้น, เมื่อ.....จึง,
เพราะ.....จึง
เวลาออก Ent เรื่องนี้ใหดู โครงสรางดีๆ วาเขาเอา สาเหตุหรือผลลัพธขึ้นตนลงทาย
BOBBYtutor Thai Note
69. อุปนัย = เกือบและ!
นิรนัย = แนแน!
นัย ทองวา จริง อุป ทองวา เกือบ นิร ทองวา แนๆ
อุปนัย : ไมแนนอน ไมจําเปน โอกาสเกิดไมถึง 100%
นิรนัย : ตอง Sure เกิดแนๆ เปนอยางนั้นแนๆ 100%
* "ดูผูชายคนนี้สิ แตงตัวดี ทองหยองเต็มตัว ใสสูทดวย เปนลูกเจาสัวแหงๆ"
ประโยคนี้เปน อุปนัย นิรนัย
* ทุกปชวงตนเดือนธันวาคม นกนางแอนจะมาเกาะตามเสาไฟฟาถนนสีลมเต็มไปหมด เดี๋ยวธันวาคมปนี้ก็ตองมาอีก"
ประโยคนี้เปน อุปนัย นิรนัย
วิธีการดูอุปนัยและนิรนัย คือ ดูวาเกิดแนหรือไมแนไมจําเปน
70. อนุมาน 3 Version แบบสัมพันธเปนเหตุเปนผลกัน
1. การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ (เดา อนาคต)
2. การอนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา สาเหตุ (เดา อดีต)
3. การอนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา ผลลัพธ (เดา อนาคต)
(ไมมี! การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา สาเหตุ)
สูตรการทํา 1. หาทอน ที่เกิดขึ้นกับทอนเดาใหเจอ
2. ดูวาเดา อดีต เดาอนาคต
* "ปลาลอยเปนแพอยางนี้ ใครชางใจรายปลอยนํ้าเสียลงแมนํ้าอีกแลว"
อนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา สาเหตุ
* "รีบๆ หนอยคุณพี่ เราคงตองทันแนๆ รถไฟเที่ยวสุดทาย"
อนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ
* "ยาหมองยี่หอนี้ขายดีเปนอันดับ 1 ที่อเมริกา รับรองถามาขายในเมืองโดยก็ตองอันดับหนึ่งแนๆ"
อนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา ผลลัพธ
71. การโนมนาวใจ = อภิปราย โวหาร การทําใหใครคนหนึ่งเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ แลวมาทําตามเรา มีกลวิธี
การโนมนาวใจ 6 Version
1. ใชความนาเชื่อถือของผูโนมนาวใจ
2. ใชเหตุผลหนักแนน
3. ความรูสึกรวมหรืออารมณรวม พวกเดียวกัน ชอบเหมือนกัน
4. ชี้ใหเห็นทางเลือกทั้งดีและเสีย
5. สรางความบันเทิง
6. เราใหเกิดอารมณแรงกลา ภาษารุนแรง OVER
* ระวัง! การโนมนาวใจตองใชหลัก สุภาพ นุมนวล หามขู บีบบังคับ นํ้าเสียงออนวอน วิงวอน หรือขอรอง
ปนี้ระวัง! จะออกคําขวัญกับลักษณะภาษาโนมนาวใจ
BOBBYtutor Thai Note
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai
Thai

More Related Content

What's hot

แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
NU
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
npapak74
 

What's hot (20)

แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 

Similar to Thai

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
vp12052499
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
Rose'zll LD
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 

Similar to Thai (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
การเขียนตัวสะกดอันใหม่ 270856
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

Thai

  • 1. สรุปภาษาไทย 1. โครงสรางของพยางค มีองคประกอบดังตอไปนี้ (เปลงเสียง 1 ครั้งก็คือ 1 พยางค) พยัญชนะตน สระ วรรณยุกต ทุกพยางคจําเปนตองมีเสมอ! 1. 2. 3. พยัญชนะทาย (ตัวสะกด) บางพยางคไมจําเปนตองมีก็ได4. จากจุดนี้ จึงเปนตัวตัดสินวาโครงสรางพยางคของใครเหมือน/ตางเปนอันดับแรก 2. โครงสรางของแตละพยางค ตองมีทั้งรูป และ เสียง 1. พยัญชนะตน รูป 44 เสียง 21 2. สระ รูป 21 เสียง 21 3. วรรณยุกต รูป 4 เสียง 5 4. พยัญชนะทาย รูป 37 เสียง 8 3. ใหเด็กๆ ถอดพยางค "ทรุด" 1. พยัญชนะตน รูป ทร เสียง /ซ/ 2. สระ รูป ตีนเหยียด เสียง อุ (สั้น) 3. วรรณยุกต รูป -(สามัญ) เสียง ตรี 4. พยัญชนะทาย รูป ด เสียง /ต/ 4. ใหเด็กๆ ถอดพยางค "หมอบ" 1. พยัญชนะตน รูป หม เสียง /ม/ 2. สระ รูป ตัวออ เสียง ออ (ยาว) 3. วรรณยุกต รูป - (สามัญ) เสียง เอก 4. พยัญชนะทาย รูป บ เสียง /ป/ BOBBYtutor Thai Note
  • 2. 5. พยัญชนะตน มี 44 รูป (ก ถึง ฮ) แบงเปนอักษร 3 หมู เรียกวา อักษรไตรยางศ อักษรกลาง ทองวา ไก จิก เด็ก ตาย บน ปาก อาว อักษรสูง ทองวา ผัว ฝาก ถุง ขาว สาร ให ฉัน อักษรตํ่าคู ทองวา พอ คา ฟน ทอง ซื้อ ชาง ฮอ อักษรตํ่าเดี่ยว ทองวา งู ใหญ นอน อยู ณ ริม วัด โม ฬี โลก * ที่เรียกวา ตํ่าคู เพราะมีเสียงคูกับอักษรสูง แมวาหนาตาจะไมเหมือนกัน 6. พยัญชนะตนมี 21 เสียง จากตัวรูป 44 รูป เหลือ 21 เสียง เพราะบางรูปมีเสียงซํ้ากัน 1. รูปพยัญชนะ ก จะเปนเสียง /ก/ 2. รูปพยัญชนะ ข ฃ ค ฅ ฆ จะเปนเสียง /ค/ = /ข/ /ฃ/ /ฅ/ /ฆ/ 3. รูปพยัญชนะ ง จะเปนเสียง /ง/ 4. รูปพยัญชนะ จ จะเปนเสียง /จ/ 5. รูปพยัญชนะ ช ฌ ฉ จะเปนเสียง /ช/ 6. รูปพยัญชนะ ซ ส ศ ษ จะเปนเสียง /ซ/ 7. รูปพยัญชนะ ย ญ จะเปนเสียง /ย/ 8. รูปพยัญชนะ ด ฎ ฑ จะเปนเสียง /ด/ *ระวัง เสียงนี้ในพยัญชนะทายไมมีแลว แมกด = /ต/ 9. รูปพยัญชนะ ต ฏ จะเปนเสียง /ต/ 10. รูปพยัญชนะ ท ถ ธ ฑ ฒ ฐ จะเปนเสียง /ท/ 11. รูปพยัญชนะ น ณ จะเปนเสียง /น/ 12. รูปพยัญชนะ บ จะเปนเสียง /บ/ *ระวัง เสียงนี้ในพยัญชนะทายไมมีแลว แมกบ = /ป/ 13. รูปพยัญชนะ ป จะเปนเสียง /ป/ 14. รูปพยัญชนะ พ ผ ภ จะเปนเสียง /พ/ 15. รูปพยัญชนะ ฟ ฝ จะเปนเสียง /ฟ/ 16. รูปพยัญชนะ ม จะเปนเสียง /ม/ 17. รูปพยัญชนะ ร (ฤ) จะเปนเสียง /ร/ 18. รูปพยัญชนะ ล ฬ (ฦ) จะเปนเสียง /ล/ 19. รูปพยัญชนะ ว จะเปนเสียง /ว/ 20. รูปพยัญชนะ อ จะเปนเสียง /อ/ 21. รูปพยัญชนะ ฮ ห จะเปนเสียง /ฮ/ 7. เสียงพยัญชนะตนควบกลํ้า (เสียงพยัญชนะประสม, เสียงพยัญชนะตน 2 หนวยเสียง) ทองวา กอนคํ่าไปพบเตี่ย (ก ค ป พ ต) คูณดวย ร ล ว กร คร ปร พร ตร ทั้งหมด 11 เสียง เปนของไทยกล คล ปล พล ? กว คว ? ? ? หมายเหตุ คร = ขร คล = ขล คว = ขว พล = ผล หมายเหตุ เสียงควบกลํ้าที่มาจากภาษาอังกฤษ /ดร/ /ฟร/ /ฟล/ /บร/ /บล/ BOBBYtutor Thai Note
  • 3. 8. เสียงพยัญชนะตนควบกลํ้าไมแท มี 2 Version 8.1 ไมออกเสียง ร คือ ตัวหนาออกเสียง (ร ไมออกเสียง) จริง ไซร ศรี สรอย สราง สระ 8.2 "ทร" เปลี่ยนเสียงเปน ซ ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรุดโทรมหมายนกอินทรี มัทรีอินทรียมี เทริดนนทรีพุทราเพรา ทรวงไทรทรัพยแทรกวัด โทรมนัสฉะเชิงเทรา ตัว "ทร" เหลานี้เรา ออกสําเนียงเปนเสียง "ซ" แต "ทร" ควบกลํ้าแทก็มี แตมาจากภาษาสันสกฤต จันทรา นิทรา อินทรา ภัทรา อินทรวิเชียรฉันท 9. อักษรนํา มี 2 Version (เอกลักษณอักษรนํา เวลาอานจะมีเสียง "ห" นํา) 9.1 อาน 2 พยางค ทองวา สูงหรือกลาง นําหนา ตํ่าเดี่ยว ใชสระตัวเดียวกัน (ทั้งคํามีสระ 1 ตัว) พยางคหนาออกเสียง "อะ" พยางคหลังออกเสียง "ห" นํา ผงก สนิม สยาย ตลาด ขนม สมัน 9.2 อาน 1 พยางค ทองวา "ห" นําตํ่าเดี่ยว หรือ "อ" นํา "ย" หนอน หมอน หนอย อยา อยู อยาง อยาก 10. ภาษาไทยเรามีรูปพยัญชนะบางรูปไมออกเสียง เชน องค พรหม ปรารถนา สามารถ พุทธ พราหมณ เนตร จักร หลาก หมา สรวล สรวง เสร็จ โทรม ทราบ หนอน สรอย ทรง ลักษณ ลักษมณ ฯลฯ 11. สระ มี 21 รูป 21 เสียง 1. วิสรรชนีย ะ 2. ลากขาง า 3. พินทุอิ  4. หยาดนํ้าคาง  5. ตีนเหยียด  6. ตนคู  7. ไมหนา เ 8. ไมโอ โ 9. ไมมลาย ไ 10. ไมมวน ใ 11. ฝนทอง ’ 12.! ฟนหนู " 13. ไมไตคู  คําวา "ก็" เสียงสระเอาะ 14. ไมหันอากาศ  15. ตัวรึ ฤ ยืมมาจาก สันสกฤต 16. ตัวรือ ฤๅ ยืมมาจาก สันสกฤต 17. ตัวลึ ฦ ยืมมาจาก สันสกฤต 18. ตังลือ ฦๅ ยืมมาจาก สันสกฤต 19. ตัวออ อ เปนสระ ก็ไดแฮะ! 20. ตัววอ ว เปนสระ ก็ไดแฮะ! 21. ตัวยอ ย เปนสระ ก็ไดแฮะ! BOBBYtutor Thai Note
  • 4. 12. เสียงสระ มี 21 เสียง มี 2 Version 1. สระเดี่ยว (สระแท) 18 เสียง อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ = คูสระ 2. สระประสม (สระเลื่อน) 3 เสียง เอีย อัว เอือ ทองวา เมียกลัวเรือ สระประสมตัวมันเองจะไมมีตัวสะกด แตถาตองการเติมสามารถทําไดภายหลัง ลาย เมีย เมียง ลาว กลัว กลวย อาว เรือ เรือน 13. 8 พยางคทอง อํา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ = ไมใชสระเกิน = อ + อะ + ม = อ + อะ + ย = อ + อะ + ย = อ + อะ + ว อํา ไอ ใอ เอา เปนพยางคที่มีตัวสะกดแมจะมองไมเห็น = ร + อึฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เปนพยางคที่ไมมีตัวสะกด = ร + อื = ล + อึ = ล + อื 14. ระวังมีหลักอยูขอหนึ่ง คือ ภาษาไทยสามารถออกเสียงสระไมตรงกับรูป คือ ปกติรูปยาวออกเสียงยาว รูปสั้น ออกเสียงสั้น แตบางคําออกเสียงไมตรงกับรูป หลักการทําขอสอบ คือ ออกเสียงคูสระของมัน วาตรงกับชีวิตจริง ? วาว รูปยาว แตออกเสียง สั้น (อะ) อิเหนา รูปสั้น แตออกเสียง ยาว (อี) คลินิก รูปสั้น แตออกเสียง ยาว (อี) คอมพิวเตอร รูปยาว แตออกเสียง สั้น (เอาะ) 15. รูปสระบางรูปไมออกเสียง เชน ยาธาตุ นั่งขัดสมาธิ พยาธิ ญาติ ประวัติ เมรุ มาตุ ฯลฯ 16. สระลดรูป คือ มองไมเห็นรูปสระเดิม หรืออาจเปลี่ยนรูปเปนสระอื่นได เพราะมันมีตัวสะกด เชน กัน ศร เปน ชน เชิง เลย สงน ฯลฯ 17. เปลี่ยนเสียงคูสระสั้น-ยาว จะมีผลตอความหมาย วัด → วาด จิน → จีน แกะ → แก เกาะ → กอ 18. วรรณยุกต มี 4 รูป 5 เสียง (สามัญไมมีรูปใหเห็น) หลักการนับเสียงวรรณยุกต 1. ออกเสียงคํานั้นจากชีวิตจริงกอน 2. นับนิ้ว 19. วรรณยุกตตางกัน ความหมายจะตางกัน เชน เสือ เสื่อ เสื้อ BOBBYtutor Thai Note
  • 5. 20. วรรณยุกตมีการออกเสียงไมตรงกับรูปก็ได ขี้ริ้ว รูปโท แตเสียง ตรี ทาน รูปเอก แตเสียง โท 21. พยัญชนะทาย มีรูป 37 รูป มี 8 เสียง (8 แม 8 มาตรา) ตัวอักษรที่ใชเปนตัวสะกดไมไดมี ผัว ฝาก เฌอ เอม ให ฉัน ฮา 1. แมกก = เสียง /ก/ ใชรูปสะกด คือ ก ข ค ฆ 2. แมกบ = เสียง /ป/ ใชรูปสะกด คือ บ ป พ ภ ฟ 3. แมกด = เสียง /ต/ ใชรูปสะกด คือ ด ต จ ช ฎ ฏ ฐ ฒ ส ศ ษ ถ ท ธ ซ ฑ 4. แมกม = เสียง /ม/ ใชรูปสะกด คือ ม 5. แมกน = เสียง /น/ ใชรูปสะกด คือ น ณ ญ ร ล ฬ 6. แมกง = เสียง /ง/ ใชรูปสะกด คือ ง 7. แมเกย = เสียง /ย/ ใชรูปสะกด คือ ย 8. แมเกอว = เสียง /ว/ ใชรูปสะกด คือ ว 22. พยางคปด คือ พยางคที่มีเสียงตัวสะกด อํา ไอ ใอ เอา เชน กิน จิบ จํา ฯลฯ พยางคเปด คือ พยางคที่ไมมีเสียงตัวสะกด เอีย อัว เอือ เชน ดุ ปู เมีย ฯลฯ 23. คําโสด : คํามูล (พยางคเดียวหรือหลายพยางคก็ได แตแยกจากกันไมไดแลว) คําแตงงาน : ประสม ซอน ซํ้า สมาส สนธิ 24. คํามูล : ขาว อวน ไกล เพ็ญ โชว ขมิ้น ดิฉัน บะหมี่ เสวย ขจี สวรรคต ฯลฯ 25. คําประสม : เกิดจากคํามูล 2 คําขึ้นไปมารวมกันแลวเกิดความหมายใหม แตตองมีเคาความหมายเดิม ใชเรียก สิ่งใหม คํามูล 2 คํานั้นหามเหมือน คลาย ตรงขาม มิฉะนั้นจะกลายเปน ซอนหมาย (คําประสม เชน นาม กริยา หรือวิเศษณก็ได) บานพัก เรือดวน ขายตัว บานเรือน เรือแพ ซื้อขาย 1. N + N = N. เชน รถไฟ นํ้าปลา ฯลฯ 2. N + V. = N. เชน หมอดู เหล็กดัด ฯลฯ 3. N + adj = N. เชน มดแดง กลองดํา ฯลฯ 4. N + Prep = N. เชน คนกลาง ความหลัง ฯลฯ 5. V. + V. = N. เชน หอหมก กันสาด ฯลฯ 6. V. + N = N. เชน เรียงความ พัดลม ฯลฯ 7. N + V. + N = N. เชน ชางเย็บผา คนขายตั๋ว ฯลฯ 8. V. + V. = V. เชน เดินเลน ติดตั้ง ฯลฯ 9. V. + N = V. เชน ยกราง เดินสาย ฯลฯ 10. V. + adj = V. เชน อวดดี คิดคด ฯลฯ 11. N + V. = V. เชน หัวหมุน ใจแตก ฯลฯ 12. adj + N = V. เชน ดีใจ ออนใจ ฯลฯ 13. N + adj = adj. เชน ใจเย็น หัวสูง ฯลฯ คําประสมสามารถแปลไมตรงตัว แปลเปรียบเทียบได เชน แมวมอง ปากฉลาม ตีนแมว ฯลฯ BOBBYtutor Thai Note
  • 6. 26. คําซอน มี 2 Version 1. ซอนเพื่อความหมาย มีไวขยายความ (คํา 2 คําที่มาวางซอนตองมีความหมายทั้งคู คือ เหมือน คลาย ตรงขาม) 2. ซอนเพื่อเสียง มีไวไพเราะ (คํา 2 คําที่มาวางซอนกันตองมีเสียงพยัญชนะตนเสียงเดียวกัน แตจะมี 1 คํา ไมให ความหมายหรืออาจไมใหความหมายของ 2 คําเลย) คําซอนเพื่อความหมาย เชน บานเรือน เล็กนอย ซื้อขาย ฯลฯ คําซอนเพื่อเสียง เชน ดีเด มองเมิง โลเล ฯลฯ * คําซอนเพื่อความหมาย ความหมายหลักบางครั้งอยูที่คําหนาหรือหลังก็ได เชน ใจคอ นํ้าหูนํ้าตา หนาตา หูตา ปากคอ ฯลฯ ตารางความแตกตางระหวางคําประสมกับคําซอน คําประสม คําซอน 1. ใชเรียกสิ่งใหม 2. หามเหมือน คลาย ตรงขาม 3. นํ้าหนักอยูที่คําตน 4. แปลเปรียบเทียบได 1. ไมไดเรียกสิ่งใหม 2. ตอง เหมือน คลาย ตรงขาม 3. นํ้าหนักเทากัน ไมมีใครเดนกวาใคร 4. แปลเปรียบเทียบไมได 27. คําซํ้า ตองมี ๆ ใหเห็น เพราะขี้เกียจเขียน 2 ครั้ง เชน เด็กๆ เพื่อนๆ ดังๆ ฯลฯ แตจะเขียนใช ๆ ได จะตองมี ลักษณะ 3 ประการใหครบตอไปนี้ 1. คําเขียนเหมือนกัน 2. ความหมายเหมือนกัน 3. หนาที่ของคําเหมือนกัน * คําตอไปนี้ตองเปนคําซํ้าเสมอ เชน ฝนตกหยิมๆ พยักหนาหงึกๆ พูดฉอดๆ ไดมาเหนาะๆ ความหมายที่เกิดจากการซํ้าคํา 1. บอกพหูพจน : เพื่อนๆ นองๆ ปๆ ตูๆ ฯลฯ 2. เนนความหมาย : ซวยสวย เดกเด็ก ดี๊ดี ฯลฯ 3. ไมเจาะจง : เชาๆ เย็นๆ หลังๆ แถวๆ ฯลฯ 4. แยกเปนสวน : คนๆ เรื่องๆ หองๆ อยางๆ ฯลฯ 5. เปลี่ยนความหมายจากเดิม : หยกๆ พื้นๆ ลวกๆ หมูๆ งูๆ ปลาๆ ฯลฯ 6. บอกความไมตั้งใจ : สงๆ เขียนๆ ชอบๆ ฯลฯ 7. ทํากริยานั้นไปเรื่อยๆ : มองๆ นั่งๆ เดินๆ ฯลฯ 8. บอกลักษณะ : หลอๆ อวบๆ ดําๆ สูงๆ ฯลฯ 28. คําสมาส มี 2 Version (ตองเปนภาษาอินเดีย คือ บาลี-สันสกฤต เพราะเปนหลักสูตรของอินเดีย) 28.1 สมาสแบบสมาส ที่พูดติดปากวา คําสมาส (ชน) 28.2 สมาสแบบสนธิ ที่พูดติดปากวา คําสนธิ (เชื่อม) คือ สมาสแบบกลมกลืนเสียง * ระวัง ตอไปนี้ไมใชคําสมาส เพราะมีภาษาไทยแท ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ เขามาปน พลเมือง ผลไม คุณคา ทุนทรัพย ราชวัง ราชดําเนิน พลความ พลเรือน พระพุทธเจา ตรัสรู สรรพสิ่ง มูลคา ชํานาญการ เคมีภัณฑ ภูมิลําเนา เครื่องจักร บายศรี กลเม็ด กลมทา เมรุมาศ กระยาสารท BOBBYtutor Thai Note
  • 7. สมาส สนธิ ชน แยกงาย เชื่อม แยกยาก แยกงาย : มองเห็นศัพทรูปเดิมเปนคําๆ เต็มๆ ไมเปลี่ยนแปลง แยกยาก : มองไมเห็นศัพทรูปเดิมแตแยกแลว 99% คําหลังขึ้นตนดวย "อ" 28.1 คําสมาสแบบสมาส มีสูตรงายๆ 2 ขอ (ความหมายหลักจะอยูหลัง เวลาแปลจะ แปลจากขางหลังไปหนา) 1. ลางใหสะอาด คือ ลาง  และ ะ ของคําหนาทิ้ง 2. ทากาว คือ ตรงรอยตอของ 2 คําใหออกเสียง "อะ" ศิลปะ + ศาสตร = ศิลปศาสตร สวัสดิ์ + ภาพ = สวัสดิภาพ สิทธิ์ + บัตร = สิทธิบัตร ภูมิ + ศาสตร = ภูมิศาสตร ชาติ + ภูมิ = ชาติภูมิ ญาติ + เภท = ญาติเภท อุบัติ + เหตุ = อุบัติเหตุ วีระ + บุรุษ = วีรบุรุษ ระวัง! เจอคําเหลานี้ลงทายจะเปนสมาสแบบสมาส "กิจ การ กรรม กร ศึกษา ภัย สถาน ภาพ วิทยา ศิลป ธรรม ศาสตร" = ศุลก + อากร = ศิลป + อากรแต ศิลปากร สนธิ ศุลกากร คุณากร ประชากร สรรพากร = คุณ + อากร = ประชา + อากร = สรรพ + อากร 28.2 สมาสแบบสนธิ จะดูแยกออกจากกันแยกยาก แตเวลาแยกแลว คําหลังขึ้นตนดวย "อ" (แยกยาก คือ มองไมเห็นศัพทรูปเดิมเปนตัวๆ) สนธิ มี 3 Version 1. สระสนธิ เอาสระกับสระมาเจอกัน อะอา + อะอา = อา สุข + อภิบาล = สุขาภิบาล อะอา + อิอี = อีเอ (อิ อี เอ) นร + อิศวร = นเรศวร อะอา + อุอู = อุอูโอว (อุ อู โอ) นย + อุบาย = นโยบาย อะอา + เอไอโอเอา = เอไอโอเอา ราช + ไอศูรย = ราไชศูรย อิอี + อิ = อิ โกสี + อินทร = โกสินทร อุอู + อุอู = อุอู ครู + อุปกรณ = ครุปกรณ BOBBYtutor Thai Note
  • 8. 2. พยัญชนะสนธิ เอาพยัญชนะกับพยัญชนะมาเจอกัน (หลักการ คือ 1. เปลี่ยน ส. เปน โ 2. ลบ ส. ทิ้ง) มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ มนสฺ + รถ = มโนรถ สรชฺ + ช = สโรช ศิรสฺ + เพฐน = ศิโรเพฐน เตชสฺ + ชัย = เตโชชัย นิรสฺ + ภัย = นิรภัย อาตมนฺ + ภาพ = อาตมภาพ พรหมนฺ + ชาติ = พรหมชาติ รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน เตชสฺ + ธาตุ = เตโชธาตุ นิรสฺ + ทุกข = นิรทุกข ทุรสฺ + ชน = ทุรชน ทรสฺ + พล = ทุรพล ยสสฺ + ธร = ยโสธร 3. นฤคหิตสนธิ คือ สํ + สระ พยัญชนะวรรค เศษวรรค สํ เจอสระ ใหสระผม สํ + อาคม = สมาคม สํ + อาทาน = สมาทาน สํ + อุทัย = สมุทัย สํ + โอสร = สโมสร สํ + อาส = สมาส สํ + อิทธิ = สมิทธิ สํ เจอพยัญชนะวรรค ใหเปลี่ยนเปนตัวสุดทายของวรรคนั้น = สังคมก ข ค ฆ ง *เปนภาษาบาลี-สันสกฤต = สัญจร = สัณฐาน = สันธาน = สัมผัส จ ฉ ช ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ต ถ ท ธ น ป ผ พ ภ ม สํ + คม สํ + จร สํ + ฐาน สํ + ธาน สํ + ผัส เศษวรรค : วิรุฬหยลสํ สํ เจอเศษวรรค ใหทิ้ง สํ + โยค = สังโยค สํ + หรณ = สังหรณ สํ + วร = สังวร สํ + วาส = สังวาส สํ + สันทน = สังสันทน BOBBYtutor Thai Note
  • 9. 29. คําเปนคําตาย ทองสูตร คือ ดูตัวสะกดอันดับแรก คําตาย = เจอแม กบด มันก็ตาย จํา : ใครกบฏมันตองตาย เชน โรค ภาพ มรกต ฯลฯ = ถาไมมีตัวสะกดคอยดูสระเสียงสั้น จํา : อายุสั้นมันก็ตาย เชน นะ ดุ ทิ ฯลฯ คําเปน = เจอแม มนงยว เพราะยังมีชีวิตเปนๆ เธอเปนสาวชาวพมา เชน สม ชาง ฯลฯ = ถาไมมีตัวสะกดคอยดูที่สระเสียงยาว เพราะชีวิตยืนยาวก็เปนๆ เชน ตา ดู ปู ฯลฯ 30. คําครุ คําลหุ ทองสูตร คือ ดูตัวสะกดกอนอันดับแรก คําครุ : พยางคที่มีเสียงหนัก วิธีการจําดูจาก ค. : เจอตัวสะกดทุกแมเปนครุ หมด เชน โรค ภาพ มรกต สม ชาง ฯลฯ : ถาไมเจอตัวสะกดก็ดูที่สระเสียงยาว ยิ่งยาวยิ่งหนัก เชน ชูใจ มานี ฯลฯ คําลหุ : พยางคที่มีเสียงเบา วิธีการจําดูจาก ล. เธอเกิดมาอาภัพ : หามมีตัวสะกดและตองเจอสระเสียงสั้นเทานั้น เชน บ ธ ณ ก็ เงอะงะ เกะกะ เอะอะ ฯลฯ * อํา ไอ ใอ เอา เปนครุ เพราะ มีตัวสะกด 31. คําไทยแท 1. 99% ไทยแทจะมีพยางคเดียว เชน กิน นอน ฉัน ขา ดิน นํ้า บน ใน ฯลฯ 2. 1% จะมี 2 พยางค จะมาจากการกรอนเสียง (ตัดเสียง) เชน หมากพราว → มะพราว ตัวขาบ → ตะขาบ ฯลฯ จะมาจากการเพิ่มเสียง เชน หนึ่ง → ประหนึ่ง โดด → กระโดด ทวง → ประทวง ฯลฯ 3. ไทยแทสะกดตรงตามมาตรา เชน รัก คับ รัด วัง เรือน ผม หาย ผิว ฯลฯ แตบางครั้งสะกดตรงตามมาตรา ก็ไมใชไทยแท ระวัง! โลก กาย ยาน พน ชน ราม ธน มน กนก วัย ชัย อภัย อาลัย → มาจาก บาลี-สันสกฤต ระวัง! จมูก เดิน ตะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ปลนสะดม โงเขลา โปรด → มาจาก เขมร 4. ไทยแทไมมีการันต ยกเวน ผี้ว มาห เยียร = ไทยแท 5. ไทยแทมีวรรณยุกตได แตภาษาอื่นไมมีวรรณยุกต 6. ไทยแทไมนิยมตัวอักษรหยักๆ หัวแตกๆ หางยาวๆ เชน ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ยกเวนบางคําเปน ไทยแท คือ หญิง หญา ใหญ ระฆัง ฆา เฆี่ยน เศิก ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯลฯ 32. คําบาลี-สันสกฤต บาลีมีสระ 8 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ สันสกฤตมีสระ 14 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เพิ่ม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ บาลีมีพยัญชนะ 33 ตัว = 5 วรรคๆ 5 ตัว = 25 + เศษวรรค 8 = 33 สันสกฤตมีพยัญชนะ 35 ตัว = เหมือนบาลีทุกตัว เพิ่มพิเศษอีก 2 = ศ ษ คําสันสกฤต ทองสูตร หระนะควบหันเคราะหกด 1. หระ คือ ประสมสระ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เปนสันสกฤต เชน ไมตรี เยาวชน ฤดู ฯลฯ 2. นะ คือ ประสมพยัญชนะ ศ ษ เปนสันสกฤต เชน ศาสนา รัศมี ศึกษา มนุษย ฯลฯ 3. ควบ คือ ควบกลํ้า เปนสันสกฤต จะควบกลํ้าศัพทหรูเลิศ เชน ปราชญ จักร อินทร ประทีบ ฯลฯ 4. หัน คือ รร เปนสันสกฤต เชน ธรรม จรรยา สวรรค อุปสรรค ฯลฯ 5. เคราะห คือ มีคําวา "เคราะห" เปนสันสกฤต เชน อนุเคราะห สังเคราะห วิเคราะห ฯลฯ 6. กด คือ ตัวสะกด ตัวตาม นอกเหนือกฎเกณฑของบาลี ยกใหเปนสันสกฤต เชน อัคนี มุกดา รักษา วิทยา สัตว มนัส อาชญา ฯลฯ BOBBYtutor Thai Note
  • 10. คําบาลี ตองมีตัวสะกด ตัวตามอยูบรรทัดเดียวกัน 1. ทองวา 1 สะกด 1, 2 ตาม เชน สักกะ จักขุ สัจจะ มัจฉา รัฏฐ อัฏฐิ ทิฏฐิ อัตตา วัตถุ บุปผา กิจจ จิตต นิจจ เขตต ฯลฯ 2. ทองวา 3 สะกด 3, 4 ตาม เชน อัคคี พยัคฆ วิชชา อัชฌาสัย วัฑฒนะ สิทธิ อัพภาส เวชช ฯลฯ 3. ทองวา 5 สะกด 1, 2, 3, 4, 5 ตาม เชน กังขา สัญญา วันทนา องค สันติ บิณฑบาต คัมภีร การุญญ หิรัญญ อรัญญ สามัญญ ธัญญ เบญจ บุญญ ฯลฯ 4. เศษวรรคสะกด แลวเศษวรรคตาม เชน ภัสสร ปสสาวะ วัลลภ มัลลิกา นิสสัย นิสสิต ฯลฯ 33. คําเขมร 1. คนเขมรชอบสะสม จาน หญิง ลิง เรือ เสือ = สะกดดวย จ ญ ล ร ส 2. คนเขมรชอบควบ = ควบกลํ้า (คํางายๆ ธรรมดาๆ) 3. คนเขมรชอบนํา = อักษรนํา 4. คนเขมรชอบอํา = ขึ้นตนดวย "กํา คํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา สํา อํา" 5. คนเขมรชอบระบํา = บํา บัง บัน บรร 1. อํานาจ เสร็จ เสด็จ เพ็ญ สราญ เจริญ ถกล จรัล กํานัล กําธร อร ขจร จํารัส ตรัส ฯลฯ 2. กรวด กระบือ ขลาด เกลอ โปรด ประชุม ประเดิม คลัง กรม เพลา โขลน ไพร ปรุง เพลิง ฯลฯ 3. ขยม เขมา สนอง เสวย เขนย จมูก ถวาย ฉนํา ขนุน ขยํา ขนม จรวด สนิม ฯลฯ 4. กําเนิด จําแนก จําหนาย ชํานาญ ชํารุด ดําเนิน ดําริ ดํารัส ตํารา กําจัด อํานวย ฯลฯ 5. บําเพ็ญ บํานาญ บําบัด บังควร บังอาจ บังคม บันเทิง บันดาล บรรทุก บรรจุ บรรจง ฯลฯ 34. ราชาศัพท จํา 3 อยางตอไปนี้ใหดีๆ 1. ลําดับชั้นพระราชวงศไทย โดยมี 5 ชั้น (5 level) 2. จําคํานาม ทําใหเปน คํานามราชาศัพท 3. จําคํากริยา ทําใหเปน คํากริยาราชาศัพท ชั้นที่ 1 * เปนคํานาม พระบรม/พระบรมราช ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 3-4-5 พระราช พระ * คํากริยา เจออะไรเอา "ทรง" ขึ้นตนใหหมด แตเวนอยางเดียวที่ทรงขึ้นตนนําหนาไมได คือ คํานั้นเปนกริยา ราชาศัพทอยูแลว 35. ราชวงศ 5 ชั้น ชั้นที่ 1 (พระบาทสมเด็จ ....................) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ชั้นที่ 2 (สมเด็จพระบรม ....................) สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี BOBBYtutor Thai Note
  • 11. ชั้นที่ 3 (สมเด็จเจาฟา ....................) สมเด็จพระเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร สมเด็จพระเจาลูกเธอเจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ชั้นที่ 4 (พระองคเจา ....................) พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา * สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (สมเด็จวัดอื่นๆ จะใชราชาศัพท ไมได) ชั้นที่ 5 (หมอมเจา ....................) หมอมเจาสิริวัณวรี มหิดล ม.ร.ว. ม.ล. ไมใชราชาศัพท 36. การทําคํานามใหเปน คํานามราชาศัพท 1. ใชพระบรมหรือพระบรมราช นําหนาคํานามสําคัญมากๆ ของในหลวงพระองคเดียว เชน พระบรมมหาราชวัง พระบรมราชินี พระบรมโอรสาธิราช พระสยามบรมราชกุมารี * พระปรมาภิไธย (พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร) พระบรมนามาภิไธย (ชั้น 2 ใช พระนามาภิไธย) * พระบรมราชโองการ (ชั้น 2 ใช พระราชโองการ) แตสมเด็จพระนางเจาฯ ใช พระราชเสาวณีย พระบรมราโชวาท (ชั้น 2 ใช พระราโชวาท) พระบรมราโชบาย (ชั้น 2 ใช พระราโชบาย) * พระบรมราชูปถัมภ (ชั้น 2 ใช พระราชูปถัมภ) แตสมเด็จพระนางเจาฯ ใช พระบรมราชินูปถัมภ พระบรมราชวินิจฉัย (ชั้น 2 ใช พระราชวินิจฉัย) พระบรมราชวโรกาส (ชั้น 2 ใช พระราชวโรกาส) พระบรมราชานุเคราะห (ชั้น 2 ใช พระราชานุเคราะห) พระบรมเดชานุภาพ (ชั้น 2 ใช พระเดชานุภาพ) 2. "พระราช" ใชนําหนาทั่วๆ ไปของในหลวง และคํานามสําคัญของราชวงศลําดับ 2 เชน 1. พระราชหฤทัย 4. พระราชดําริ 2. พระราชประวัติ 5. พระราชประสงค 3. พระราชกุศล 6. พระราชนิพนธ (ไหนนักเรียนลองถอดคําศัพทขางตนใหราชวงศ ลําดับ 3-4-5 จะใชวาอยางไร) 1. พระหฤทัย 4. พระดําริ 2. พระประวัติ 5. พระประสงค 3. พระกุศล 6. พระนิพนธ BOBBYtutor Thai Note
  • 12. 3. "พระ" นําหนานามธรรมดาขั้นพื้นฐาน ชั้น 1-5 ใชไดหมด เชน พระเกาอี้ พระสุพรรณราช พระตําหนัก พระบาท พระหัตถ พระนาสิก ฯลฯ 4. คําราชาศัพทบางคําไมนิยมใช "พระ" จะใช หลวง, ตน แทน เชน ชางหลวง เรือนหลวง ชางตน เรือตน เรือนตน เครื่องตน ฯลฯ 37. การทํากริยา ทําใหเปน กริยาราชาศัพท 1. ทรง + กริยาธรรมดา กริยาราชาศัพท เชน ทรงเปลี่ยน ทรงเจิม ทรงวิ่ง ทรงฟง ฯลฯ 2. ทรง + นามธรรมดา กริยาราชาศัพท เชน ทรงกีตาร ทรงมา ทรงสกี ฯลฯ 3. ทรง + นามราชาศัพท กริยาราชาศัพท เชน ทรงพระราชดําริ ทรงพระราชสมภพ ฯลฯ * คําที่หามใช ทรง นําหนา : ซูบพระองค บรรทม ประสูติ สวรรคต ประทับ เสวย เสด็จ เสด็จแปรพระราชฐาน ตรัส รับสั่ง สรง โปรด พอพระราชหฤทัย พอพระทัย กริ้ว ทอดพระเนตร สุบิน พระราชทาน สิ้นพระชนม 38. มี, เปน + ราชาศัพท เชน มีพระราชประสงค เปนพระราชโอรส มีพระราชดําริ ฯลฯ ทรงมี, ทรงเปน + คําธรรมดา เชน ทรงมีความสงสาร ทรงเปนครู ทรงเปนประธาน ฯลฯ 39. สวรรคต = ชั้น 1-2 สิ้นพระชนม = ชั้น 3-4 สิ้นชีพิตักษัย = ชั้น 5 ถึงแกอสัญกรรม = ประธานาธิบดี, ประธาน 3 อํานาจ, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี, รัฐมนตรี ถึงแกอนิจกรรม = ขาราชการ ซี 9 ขึ้นไป, ทานผูหญิง ถึงแกกรรม = พวกเราๆ ทานๆ 40. กราบบังคมทูลรายงาน = พูดรายงาน (ไมตองใสถวายขางหนารายงาน) 41. แสดงความจงรักภักดี = มีความจงรักภักดี (ไมตองใสถวายความจงรักภักดี) 42. รับเสด็จพระราชดําเนิน = ตอนรับ (ไมตองใสถวายการตอนรับ) 43. ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย = (ทูลเกลาฯ ถวาย) ของเล็กๆ ยกได นอมเกลานอมกระหมอมถวาย = (นอมเกลาฯ ถวาย) ของใหญๆ หรือของเล็กจํานวนเยอะมาก 44. แปรพระราชฐาน = ไปพักผอน เสด็จนิวัติพระนคร = ขากลับกรุงเทพฯ 45. "เสด็จ" ใชเหมือนกับ "ทรง" ทุกอยาง แตแพ ทรง อยู 1 อยาง คือ เสด็จ + นามธรรมดาไมได เชน เสด็จกีตาร เสด็จ + กริยาธรรมดา = เสด็จไป เสด็จออก เสด็จขึ้น เสด็จลง ฯลฯ เสด็จ + นามราชาศัพท = เสด็จพระราชสมภพ เสด็จพระราชดําเนิน ฯลฯ 46. เสด็จพระราชดําเนิน + V.หลัก (เพื่อบอกวัตถุประสงค) เสด็จพระราชดําเนินไปเรียนตอตางประเทศ เสด็จพระราชดําเนินตรวจพลสวนสนาม เสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศไทย 47. พระบรมฉายาสาทิสลักษณ : รูปวาด พระบรมฉายาลักษณ : รูปถาย พระบรมรูป : รูปปน BOBBYtutor Thai Note
  • 13. 48. พระปรมาภิไธย : ชื่อราชการทูลเกลาฯ ถวาย พระบรมนามาภิไธย : ชื่อตัว (ภูมิพล) พระราชสมัญญา : ชื่อที่ประชาชนทูลเกลาฯ ถวาย เชน พระปยมหาราช, พระมหาธีรราชเจา 49. วันพระบรมราชสมภพ : วันเกิด (5 ธันวาคม 2470) วันคลายวันพระบรมราชสมภพ : วันคลายวันเกิด (5 ธันวาคม ของทุกป) 50. อาคันตุกะ : ใชเรียก สามัญชน, K ไปเปนแขกของ สามัญชน ราชอาคันตุกะ : ใชเรียก สามัญชน ไปเปนแขกของ K พระราชอาคันตุกะ : ใชเรียก K, ประธานาธิบดี ไปเปนแขกของ K * ถา กษัตริย ไปเปนแขกของประธานาธิบดี จะใช อาคันตุกะ * ถา ประธานาธิบดี ไปเปนแขกของกษัตริย จะใช พระราชอาคันตุกะ * จําเจาบานเปนหลัก 51. ความหมายของคําในภาษาไทยมี 2 Version 1. แปลตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายนัยตรง 2. แปลไมตรงตัวตามพจนานุกรม = ความหมายโดยนัย ความหมายโดยอุปมา ความหมายนัยประหวัด ความหมายนัยตรง ความหมายโดยนัย ดาว = stars ฟน = teeth ดาว = คนสวย คนเดน คนดัง ฟน = นะ 52. ความหมายแบงตามลักษณะความหมาย มี 5 Version 1. ความหมายเหมือนกัน = ไวพจน (synonym) 2. ความหมายใกลเคียงกัน = (คลายๆ กัน แตไมเหมือนกัน) 3. ความหมายตรงขามกัน = (antonym) 4. พองรูป พองเสียง พองทั้งรูปพองทั้งเสียง (พอง แปลวา เหมือน คําจะพองกันไดตองมี 2 คําขึ้นไป 5. ความหมายแคบ กวาง 53. ไวพจน เวลาขอสอบ Ent ถาม คือ หลากคํา พระเจาแผนดิน = ไท ไท บพิตร ขัตติยะ นฤบาล นฤบดี ฯลฯ ทองฟา = เวหา หาว นภา โพยม นลฯ ทอง = กนก สุวรรณ สุพรรณ กาญจนา เหม ฯลฯ พระจันทร = แข แถง บุหลัน โสม รัชนีกร ศศิธร ฯลฯ พระอาทิตย = ไถง รพี รวี ทิพากร อาภากร ฯลฯ แผนดิน = ดาว ธาษตรี เมทินี หลา ปฐพี ฯลฯ 54. ความหมายใกลเคียงกัน ภาพพจน = เปรียบเทียบ ปรบมือ = ยกยอง ภาพลักษณ = Image ตบมือ = ทั่วๆ ไป สมรรถภาพ = คน จักรวรรดิ = Kingdom (ดินแดน) สมรรถนะ = เครื่องยนต จักรพรรดิ = King (คน) BOBBYtutor Thai Note
  • 14. 55. ความหมายตรงขามกัน มงคล ≠ อวมงคล ทักษิณาวรรต ≠ อุตตราวรรต โลกียธรรม ≠ โลกุตตรธรรม นางฟา ≠ เทวดา สวรรค ≠ นรก สุริยัน ≠ จันทรา (หาม พระจันทร เพราะคนละระดับ) 56. พองรูป = หวงแหน จอกแหน พองเสียง = ทาร ทาน ธาร พองทั้งรูปพองทั้งเสียง = "อยาลืมฉันนะพี่" "อยาลืมฉันนะหลวงพี่" *ความหมายที่มาพองจะไมเหมือนกัน 57. ความหมายแคบกวาง = สับเซต ความหมายกวาง สี ภาชนะ มนุษย กีฬา ผลไม ความหมายแคบ สีแดง หมอ ผูชาย วาว strawberry 58. ประโยคบกพรอง มี 10 Version 1. การใชคําขัดแยงกัน : ความหมายขัดกัน ไปดวยกันไมได * คุณแมสับหมูทีละชิ้น แกเปน หั่น * แมวาลูลูจะสวย แตเธอก็มีแฟนหลอ แกเปน ขี้เหร ถาจะออก Ent หัวขอนี้ ระวัง! คําเชื่อม (บุพบท สันธาน ประพันธสรรพนาม ขัดแยงกัน) 2. ใชคําผิดความหมาย ระวังเรื่องคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน Ent จะเอาเขามาหลอก ทําใหสับสน เวลาอาน ขอสอบใหสังเกตวา อานแลวสะดุดตรงไหน แปลกๆ ตรงไหน ไมเคยไดยินแปลกๆ ระวังตรงนั้น * พอกลับมาเหนื่อยๆ คุณพอก็อาบนํ้าชําระลางสังขารใหสะอาด แลวก็เขานอน * ที่ประชุมในสภาโตเถียงกันอยางอิสระเสรี 3. ใชสํานวนเปรียบเทียบไมเหมาะสม ระวังใชสํานวนไทยใหถูกตอง จะออกประมาณ 1 ขอ * คุณครูกับอาจารยใหญสุมหัวเรื่องกําหนดวันสอบปลายภาค แกเปน ประชุม * คุณยายตักบาตรเสร็จก็เลยกรวดนํ้าควํ่าขัน แกเปน กรวดนํ้า 4. ใชคําฟุมเฟอย ลักษณะภาษาไทยตองกะทัดรัด ชัดเจน หามเยิ่นเยอ คําไหนแปลเหมือนกันใหตัดทิ้ง มันเกิน เขามาโดยไมจําเปนก็ใหตัดเสีย แตตองไมใหเสียความหมาย ระวัง! มี ใน ให ทํา + การ, ความ = 99% จะฟุมเฟอย คุณประเทืองมีความยินดีที่จะประกวดนางฟาจําแลง แต 1% ก็อาจไมฟุมเฟอยก็ได คุณประเทืองมีความรักใหเด็กๆ ผูชาย * ในอดีตที่ผานมาชีวิตฉันขมขื่นเมื่ออยูกับเขา (ตัด ที่ผานมา ทิ้ง) * โตขึ้นฉันอยากอยูกับเอิน จะไดเปนเกษตรกรชาวนาตัวอยางกับเขาบาง (ตัด ชาวนา ทิ้ง) BOBBYtutor Thai Note
  • 15. 5. ใชสํานวนภาษาตางประเทศ หามใชสํานวนภาษาตางประเทศเด็ดขาด ในการสอบ Ent วิชาภาษาไทย 1. หลักไวยากรณไทย ตองเรียง ประธาน + กริยา + กรรม (Active) หามใช .......... โดย = สํานวนตางประเทศ (Passive) * ภาพยนตรเรื่อง "The beach" นําแสดงโดย ลีโอ พุฒ (ต.ป.ท.) แกเปน →→→→ * ลีโอ พุฒ แสดงภาพยนตรเรื่อง "The beach" (ไทย) 2. ถูก .................... + ความหมายไมดี = ไวยากรณไทย ถูก .................... + ความดี = สํานวนตางประเทศ * คุณลอราถูกลวนลามเมื่อวานตอนกลับบาน (ไวยากรณไทย) * คุณลูลูถูกเชิญใหมางานเลี้ยงสมาคมแมบานทหารบก (สํานวนตางประเทศ) แกเปน →→→→ * สมาคมแมบานทหารบกเชิญคุณลูลูใหมางานเลี้ยง (ไวยากรณไทย) (S + V + O) 3. มัน ถาแปลวา It's จะเปนสํานวนตางประเทศ * มันเปนความลําบากของฉันที่จะเข็นครกขึ้นภูเขา (สํานวนตางประเทศ) แกเปน →→→→ * ฉันเข็นครกขึ้นภูเขาลําบาก (ไวยากรณไทย) (S + V + O) * มันฝรั่งใสแกงใชไหม (สํานวนภาษาไทย) 4. ไวยากรณไทยตองมีลักษณนามตามหลังตัวเลข * 3 พรรคการเมืองประชุมอยางเครงเครียด (สํานวนตางประเทศ) แกเปน →→→→ * พรรคการเมือง 3 พรรค ประชุมอยางเครงเครียด (ไวยากรณไทย) S + V + O 5. การวางสวนขยายตองวางไวขางหลัง ถึงจะเปนไวยากรณไทย * ไมเปนการงายเลยที่ตํารวจจะตามจับนักโทษแหกคุก (สํานวนตางประเทศ) แกเปน →→→→ * ตํารวจจะตามจับนักโทษแหกคุกไมงาย (ไวยากรณไทย) S + V + O จําไวหลักๆ คือ ไวยากรณไทยจะตองเรียง S + V + O เปนพื้นฐาน 6. ตีความได 2 อยาง : ภาษาไทยบางครั้งกํากวม แปลได 2 ความหมาย เวลาเจอขอสอบใหแปลตรงตัว ตามคํานั้นกอน แลวคอยๆ นึกอีกความหมายหนึ่งที่ซอนอยู * อาการชักแบบนี้สงสัยจะโดนของ 1. Something 2. คุณไสย * ดูนั่นสิ! ชมพูกําลังกิน 1. Eating 2. กําลังพอเหมาะที่จะกิน 7. วางสวนขยายผิดที่ ภาษาไทยสวนขยายตองวางขางหลังคําหลัก แตไมจําเปนตองติดกัน * พระราชินีแหงอังกฤษตอนรับอยางสมเกียรติคณะทูตไทย แกเปน →→→→ * พระราชินีแหงอังกฤษตอนรับคณะทูตไทยอยางสมเกียรติ * พวกเรากอเจดียทรายในวันสงกรานตอยางสนุกสนาน แกเปน →→→→ * พวกเรากอเจดียทรายอยางสนุกสนานในวันสงกรานต 8. ประโยคไมสมบูรณ อาจจะขาดประธาน กริยา กรรม บุพบท สันธาน หรือขาดอีก 1 ประโยค * คณะแมบานสหกรณอําเภอภูเขียวที่พึ่งจะเขาเฝาฯ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ขาด กิริยา (แลวทําไมตอละ) * แมวาเขาจะเปนผูบุกเบิกการคิดคนยาสมุนไพรสําหรับแกโรคมะเร็งไดสําเร็จเปนคนแรก ขาด 1 ประโยค BOBBYtutor Thai Note
  • 16. 9. ภาษาผิดระดับ ไวยากรณไทยใน 1 ประโยค ตองใชภาษาระดับเดียวกัน หามใช 2 ระดับในประโยคเดียวกัน * คณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติอภิปรายเรื่องวิกฤตการณในอิรักอยางเมามัน * คุณแมจะบอกคุณพอตอนไหนคะ วาหนูสําเร็จการศึกษาปริญญาขั้นนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต 10. เวนวรรคตอนผิด : ระวัง! คําประสมในภาษาไทยจะถูกฉีกใหอาน 2 แบบ แลวถาอานเวนวรรคตอนผิด ความหมายจะกํากวม * พี่วิลลี่คะขอจานรองแกวหนอยสิ * จดหมายลงทะเบียนเสร็จหรือยัง 59. ภาพพจน มี 8 Version (ภาพพจนตองมีการเปรียบเทียบ) 1. อุปมา เปรียบ เหมือน มีคําที่แปลวา เหมือน = ดุจ ประดุจ ดัง ดั่ง ปูน เพียง ราว เสมอ ประหนึ่ง กล ละมาย คลาย ครุวนา เชน เทียบ เลห พาง ฉัน แมน เฉก ยิ่ง ปาน ฯลฯ "เจางามพักตรผองเพียงบุหลันฉาย" ระวัง ! มีคําตระกูล "เหมือน" แตไมใชอุปมา เพราะ ไมไดเปรียบเทียบ โดยเฉพาะคําวา เหมือน ดัง เชน 2. อุปลักษณ เปรียบ เปน คือ หรือ ละคํา ไมตองใส เปน, คือ ก็ได "ฉันเปนตะเกียงสองทางใหเธอเดิน" = อุปลักษณ Ent ชอบออก ระวัง! "ฉันก็เปนผูหญิงคนหนึ่ง" (เจิน เจิน) = ไมใชอุปลักษณ เพราะ ไมไดเปรียบเทียบ "พี่จะเปนบัลลังกตระการ แมนองคือนางพญา" = อุปลักษณ แกวกิริยาตัดพอขุนแผนวาตัวเองสูนางวันทองไมได จึงพูดวา "หิ่งหอยหรือจะแขงแสงพระจันทร อยาปนนํ้าใหหลงตะลึงเงา" หิ่งหอย = แกวกิริยา แสงพระจันทร = วันทอง * อุปลักษณแบบละคํา (Ent' ชอบออก) แตประโยคนี้ "ฉันเปนดั่งพฤกษาในวนาลึก" จะยกใหเปนอุปมาหรืออุปลักษณ * จําเลยนะ เปนดั่ง เปนดุจ เปนเฉก เปนเชน เปนเพียง เปนเหมือน = อุปมา 3. สัญลักษณ, นามนัย = ตระกูลเดียวกัน "พูดปุบรูปบ" แตคนละตัว สัญลักษณ = ศัพทที่จะเปนสัญลักษณไดจะตองมีความเหมือน จุดเดนรวมกับหรือ (Intersection) กับคําแปล เชน อีกา คนชั้นตํ่าแปลวา ตํ่าตอย หงส คนชั้นสูงแปลวา ผูดี พายุ อุปสรรคแปลวา วุนวาย ดอกมะเขือ ความออนนอมแปลวา นอมลง BOBBYtutor Thai Note
  • 17. นามนัย = ศัพทที่จะเปนนามนัย ศัพทตัวนั้นตองเปน จุดสําคัญ เปนสวนหนึ่งหรือเปนแค สับเซตของคําแปล เชน ทีมโสมหมายถึงประเทศเกาหลี นวมหมายถึงนักมวย เมืองนํ้าหอมหมายถึงประเทศฝรั่งเศส ปากกาหมายถึงนักเขียน เปนจุดเดน เปนจุดเดน เปนจุดเดน เปนจุดเดน จําไววา : เปนสัญลักษณแลวจะเปนนามนัยไมได เปนนามนัยแลว เปนสัญลักษณไมได จําไววา : สัญลักษณ, นามนัย = พูดปุบรูปบ สังคมเขากําหนดไวแลว : อุปลักษณละคํา = แลวแตกวีจะเปรียบเทียบเปนอะไรก็ได *ระวัง! สัตวในนิทานอีสปถือวาเปนสัญลักษณ เชน ราชสีห = ผูมีอํานาจ ลา = คนโง งูเหา = คนทรยศ สุนัขจิ้งจอก = พวกเจาเลห 4. บุคลาธิษฐาน : อธิษฐานโดยทําสิ่งที่ไมใชคน ใหทํากริยาเหมือนคน ทองสูตรวา "เจาประคุณ ขอใหเปนคนทีเถอะ" (บุคคลวัต, บุคคลสมมุติ) "ดอกหญาสายระบําขําเจาลมแลง" "นํ้าพริกกะปมัวยั่วใหฉันเกิดกิเลส" หลักการบุคลาธิษฐานใหดูที่ V. + adj. 5. อธิพจน ≠ อวพจน (อ อาง โอเวอร) อธิพจน = คนกลาว OVERมากกวาความเปนจริง อวพจน = คนกลาว OVERนอยกวาความเปนจริง อธิพจน อวพจน FACT "เรื่องนี้สบายมาก เรื่องขี้ผง" = อวพจน "พี่คิดถึงนองทุกนาที" = อธิพจน อธิพจน, อวพจน = OVER คนทําเอง บุคลาธิษฐาน = OVER แบบสิ่งที่ไมใชคนเปนคนทํา 6. สัทพจน = เลียนเสียงธรรมชาติ (ส. เสือ Sound of Music) "ไกขัน" = ไมใชสัทพจน "เอกอี๊เอกเอก" = สัทพจน "ฟารอง" = ไมใชสัทพจน "เปรี้ยงเปรี้ยง" = สัทพจน BOBBYtutor Thai Note
  • 18. 7. ปฏิพากย = การกลาวขัดแยง "ผูหญิงสวยเปนบา" "คุณปาใจดีฉิบ lose" 8. อุปมานิทัศน : เปนการเปรียบโดยยกประโยคยาวๆ มาเปรียบ แตอุปมายกแคคํา "นักเรียนก็เหมือนเพชรที่จะตองถูกเจียระไน ใหเพชรเงางาม สองประกาย บางมุมเหลี่ยมอาจจะไมคม ตองเจียใหคม เพื่อจะใหสมเปนเพชรนํ้าหนึ่งประดับหัวแหวน โดยครูคนนี้และจะตั้งใจเจียเพชรเม็ดนี้ใหประณีตที่สุด" 60. คําประพันธในวรรณคดีไทย คําประพันธ จํานวนคําใน 1 บท แบงวรรคละ สูตรสัมผัส กลอนแปด กาพยฉบัง 16 กาพยสุรางคนางค 28 กาพยยานี 11 อินทรวิเชียรฉันท 11 โคลงสี่สุภาพ โคลงสามสุภาพ รายยาว 32 × 2 = 64 16 × 2 = 32 28 × 2 = 56 22 × 2 = 44 22 × 2 = 44 30 ± 2, 4 = 32, 34 19 + 2 = 21 ไมแนนอน 8 - 8 - 8 - 8 6 - 4 - 6 4 - 4 - 4 - 4 - 4 - 4 - 4 5 - 6 - 5 - 6 5 - 6 - 5 - 6 5 - 2 5 - 2 5 - 2 5 - 4 5 - 5 - 5 - 6 ไมแนนอน 8 - 11 16 - 24 - 27 6 - 10 (16 - 22) "เมื่อคืนฉันฝน" 5 - 8 11 - 16 5 - 8 11 - 16 พระลอ, พระราม เครื่องบินรอนลง ตรงไหนก็ได ขอสอบ Ent จะใหประโยคยาวๆ มาแลวใหเราแบงวรรค แลวถามวาเปนคําประพันธชนิดใด สูตร 1. นับคํา 2. สงสัยวาเปนอะไรใหลองแบงวรรค แลวเอาสัมผัสแทนคาวาลงจังหวะไหม ระวัง! ตัวหลอก คูแรก ฉบัง 16 2 บท = กลอนแปด 1 บท คูสอง กาพยยานี 11 กับ อินทรวิเชียรฉันท 11 แตกตางตรงฉันท 3 - 6 - 7 - 9 = ลหุ คูสาม กาพยยานี 11 กับ โคลงสามสุภาพ จํานวนคําใกลเคียงกัน คูสี่ กลอนแปด กับ โคลงสี่สุภาพ จํานวนคําใกลเคียงกัน แตโคลงมีเอก 7 โท 4 ทองสูตรสัมผัสของสุรางคนางค : "เมื่อคืนฉันฝน วาเธอกับฉัน ชวนกันขี่ควาย ควายมันไลขวิด หวุดหวิดเจียนตาย ฝนดีหรือราย ทํานายใหที" โคลงสามสุภาพ :  ก   กก ( ) * ขอสอบ Ent แบบคําประพันธแนวใหม จะใหวรรคแบงมาเรียบรอยแลว แตสลับวรรคมั่วกัน ใหนักเรียนเรียง ลําดับใหถูกตอง นักเรียนก็ใชสูตรเดียวกับขางบน "พระสมุทรสุดลึกลนคณนาสายดิ่งทิ้งทอดมาหยั่งไดเขาสูงอาจวัดวากําหนดจิตมนุษยนั้นไซรยากแทหยั่งถึง" เปนคําประพันธ โคลงสี่สุภาพ BOBBYtutor Thai Note
  • 19. 61. ความงามวรรณศิลป มี 8 Version 1. สัมผัสสระ : สระกับตัวสะกดเสียงเดียวกัน แตเสียงพยัญชนะตนหามเหมือนกัน "เปนแถวทองลองตามกัน" "เจริญกรุง บํารุงเมือง เฟองนคร" "จันทรจวง ดวงจันทร" "อาภาพร นครสวรรค" พร พร คร 2. สัมผัสอักษร : (สัมผัสพยัญชนะ) ใหดูที่เสียงพยัญชนะตนเสียงเดียวกัน "ยุย ญาติเยอะ" เสียงพยัญชนะตน /ย/ "พี่จําใจจําจากเจาพรากมา" "ตองจําจําใจจากเจาคืนคอย" 3. สัมผัสวรรณยุกต : สัมผัสวรรณยุกตแทนที่จะเหมือนกันมาเจอกัน แตกลับเรียงวรรณยุกตจาก นอย → มาก มาก → นอย (2 ตัว หรือ 3 ตัวก็ได) "บึงบัวตุมตุมตุม กลางตม" "แมลงเมาเมาเมาฉม ซมซราบ" แต "แมนแมมาจักวอน พี่ชี้" "ดลยังเวียงดานดาว โดยมี" * ไมใชสัมผัสวรรณยุกต เพราะตัวสะกดไมเหมือนกัน 4. จินตภาพ : ภาพที่เกิดในสมองจินตนาการ มี 3 Version 1. จินตภาพดาน ภาพ (แสง + สี) "ใบระกาหนาบันบนชั้นมุข สุวรรณสุกเลื่อมแกวประภัสสร" 2. จินตภาพดาน เคลื่อนไหว (นาฏการ) "เรือสิงหวิ่งเผนโผน โจนตามคลื่นฝนฝาฟอง" 3. จินตภาพดาน เสียง = สัทพจน "สายธารไหลจอกจอกเซาะซอกหิน" หลักการทําใหสังเกต V. + adj 5. การใชคําที่มีเสียงและจังหวะดุจดนตรี (ตองแยกออกเปน 2 ตัว คือ เสียงและจังหวะ) 1. เสียงดุจดนตรี : มีวรรณยุกตหลายๆ เสียงใน 1 วรรค แตไมจําเปนตองเรียงวรรณยุกตเหมือนสัมผัส วรรณยุกต "ตะลึงเหลียวเปลี่ยวเปลาใหเหงาหงิม" 2. จังหวะดุจดนตรี : ใน 1 วรรค แบงจังหวะการอานไดเทาๆ กัน (ถวง ....................) "เชาทําเปนหนายบายบอกเหนื่อยเย็นเมื่อยลา" "ถือหัตถงาทาเห็นงาม ตามทํานองตองธรรมเนียม เตรียมทุกหมวดตรวจทุกหมู" 6. การเลนคํา : ใชคําๆ เดียวกันวางทั่วๆ ไป แลวความหมายไมเหมือนกัน เชน "นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา" เลนคําวา นวล BOBBYtutor Thai Note
  • 20. 7. การซํ้าคํา : ใชคําๆ เดียวกันวางทั่วๆ ไป แลวความหมายตองแปลเหมือนกันทุกตัว เชน "งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย งามพริ้มยิ้มแยมพราย งามคําหวานลานใจถวิล" ซํ้าคําวา งาม เพราะทุกตัวแปลวา Beautiful 8. ดุลเสียงและดุลความหมาย : 2 วรรค มีคําเทากันและตําแหนงเดียวกันมีคําเหมือนกัน จึงใหเสียงและความหมาย เหมือนกัน เชน "มีเพื่อนเลนก็ไมเหมือนกับเพื่อนตาย มีเพื่อนชายก็ไมเหมือนมีเพื่อนชม" "ยิ่งวายิ่งยุ" (วรรคเดียวแบบนี้อนุโลม) "รูหลบเปนปก รูหลีกเปนหาง" 62. ประโยคความเดียว ความรวม ความซอน ความเดียว = S1 + V1 สวนขยายยาวไดแตตองเปนวลี ของแทมีเลข 1 (S., V.) ความรวม = 2 ความเดียว = 1 ความหมาย โดยเอาสันธานเชื่อม ของแทตองมีเลข 2 (S., V.) ความซอน = ซอน แปลวา ขยาย จําอยางนี้กอน โดยสวนขยายเปนประโยค แสดงวาก็ตองมี 2 ประโยครวมกัน แตใหดูวาเอา "ที่ ซึ่ง อัน ผูที่ ผูซึ่ง วา ให" เชื่อม โดย 2 ประโยคนั้นนํ้าหนักไมเทากัน โดยมีประโยคหนึ่งเปนตัวตั้ง แลวมีอีกประโยคมาขยาย (ความเดียว) เขาปลูกขาวนาปรังทุกปริมแปลงเกษตรสาธิต (ความรวม) เขาปลูกขาวนาปรังทุกปและเขาขายขาวนาปรังทุกป = "เขาปลูกและขายขาวนาปรังทุกป" (ความซอน) เขาปลูกขาวนาปรังที่กํานันทรงเสนอแนะ ระวัง! 1. ความรวมกับความซอน สามารถละตัวเชื่อมได แตก็มีวิธีดูที่ นํ้าหนักประโยค 2. หลัง ที่ ซึ่ง อัน .................... จะเปนประโยคขยาย สรุปความแตกตางระหวาง ความเดียว ความรวม ความซอน 1. เดียว กับ รวม ใหดูที่ เลข 1 + 2 2. รวม กับ ซอน ใหดูที่ เอาอะไรเชื่อม 3. ซอน กับ เดียว ใหดูที่ เอาอะไรขยาย ลองทําดูวาเปนประโยคความอะไร (ซอน) 1. นายกรัฐมนตรีใหคําสัญญาแกชาวไทยวา จะแกปญหาเศรษฐกิจใหได (ซอน) 2. คนที่ลอบยิงทานประธานาธิบดีตองเปนคนวงใน (รวม) 3. แตฉันก็ทําสุดความสามารถแลวก็ยังไมประสบความสําเร็จ (เดียว) 4. ตัวอยางที่ดีตองเปนที่โรงเรียนนายรอย (เดียว) 5. คุณธรรมของผูใหญ คือ เมตตาธรรมตอเพื่อนมนุษยและสัตวโลก (ซอน) 6. เจาหนาที่ของสหรัฐพบวา ทหารอิรักสะสมขีปนาวุธในโกดังสินคาใกลกรุงแบกแดด (รวม) 7. สถาบันวิจัยจุฬาภรณรวมกับมูลนิธิสายใจไทยจัดงานครั้งนี้ (เดียว) 8. งานฤดูหนาวของจังหวัดเชียงใหมสําเร็จไปไดดวยความรวมมือของประชาชนชาวเชียงใหม (ซอน) 9. บุคคลใดที่ไมเคยพบกับความทุกขเลย คือ บุคคลที่ไมเคยพบกับประสบการณชีวิต (รวม) 10. เจาหมูนอยหัวใจเทวดาวิ่งงับอนาคอนดาอยางเมามัน BOBBYtutor Thai Note
  • 21. (ซอน) 11. ชาวลอนดอนชินกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงเสมอๆ (ซอน) 12. พนักงานขององคการโทรศัพทกําลังปนเสาอยูใกลหอประชุมของโรงเรียน (ซอน) 13. คุณครู Lilly ไมชอบนักเรียนลอกขอสอบ (ซอน) 14. ชาวไทยตองทนกับสภาพเศรษฐกิจอยางนี้จนเสียขวัญหมดแลว (เดียว) 15. การไมพูดระหวางรับประทานอาหารเปนนิสัยที่ดีของลูกผูหญิง (ซอน) 16. ภาพที่เธอสงเขาประกวดและเพื่อนๆ ชวยกันวาดนั้น ไดรับรางวัลชนะเลิศ (รวม) 17. ชาวประมงทําลายปะการังที่ทางรัฐบาลสงวน แต ส.ส. บางคนเห็นดีดวยกับชาวประมง (ซอน) 18. ภาพวาดนางบุษบาเสี่ยงเทียนที่คุณจักรพันธุวาดนั้น ไดรับรางวัลพระราชทาน (รวม) 19. การวายนํ้าเปนกิจกรรมที่มีประโยชนตอรางกายทุกสวน และการพักผอนซึ่งเปนกิจกรรมของคนเรามี ความสําคัญไมแพกัน (รวม) 20. หากเราสามารถเก็บเศษใบไมและกระปองนํ้าอัดลมตามชายหาดไดแลวก็จะทําใหชายหาดพัทยาสวยขึ้น (ซอน) 21. การที่คุณแมหักเงินคาขนมพวกเธอเปนการลงโทษอยางเบาๆ (รวม) 22. หมาของฉันไลกัดนักเรียนกลุมนั้น (รวม) 23. ครูใชปากกาหมึกซึมตรวจการบานนักเรียน (ซอน) 24. เขาตบหนาเพื่อนยืนหลังโตะ (ซอน) 25. ผลิตภัณฑที่สรางจากภูมิปญญาของชาวบาน เปนงานที่นายกยองอยางหนึ่ง 63. การอานจับใจความ (ออกสอบเยอะมาก) หลักการทํา คือ 1. ยังสรุปใจความ (Main Idea) ไมได อยาอาน choice 4 ขอ 2. หา 3 W (Who, What, Why) 3. ไลผี คือ เอา choice ที่ผิดแนๆ ออกไปกอน ระวัง ! จุดหลอกของการอานจับใจความ 1. การเปรียบเทียบ อันไหนเกิดจริง อันไหนเปรียบเทียบ ตองจับใหได 2. ศัพทที่แปลไมตรงตัว (เราก็อาศัย บริบท ในการตีความ) 3. การตอบดูใหดี มี 2 แง จะตอบคลุมหรือตอบเจาะ (choice 2 ขอ สุดทายจะบอกเราเอง) 4. ระวัง Error ภาษาที่เขียน choice ตีความดีๆ มันจะหลอก 64. โวหาร ทางรอยแกว มี 7 Version 1. บรรยายโวหาร ไดเรื่องราว ขอมูล 2. พรรณนาโวหาร ไดภาพรายละเอียด 3. อธิบายโวหาร ทําใหเขาใจ 4. สาธกโวหาร ยกตัวอยาง 5. เทศนาโวหาร สั่งสอน 6. อุปมาโวหาร เปรียบเทียบ (คลุมทั้งหมด 8 ภาพพจน) 7. อภิปรายโวหาร โนมนาวใจ (Persuade) BOBBYtutor Thai Note
  • 22. บรรยายโวหาร (เนื้อๆ) = ได Information ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร พรรณนาโวหาร (นํ้าๆ) = ได Detail ใหภาพรายละเอียด บุคคล วัตถุ สถานที่ เหตุการณ มี 2 ลักษณะ คือ แยกสวนประกอบ : ชี้ลักษณะเดน สูตรการดูพรรณนาโวหาร คือ ตระกูล ว. + แซมเปรียบเทียบ วิเศษณ วิลิศ วิจิตร เวอร + แซมเปรียบเทียบ 65. อธิบายโวหาร มี 6 Version เรียกวา กลวิธีอธิบาย 1. การอธิบายตามลําดับขั้น : ใชกับเรื่องๆ นั้นตองเปน ขั้นตอน กรรมวิธี 2. การใชตัวอยาง : เพื่อให เห็นภาพชัดเจน 3. การเปรียบเทียบความเหมือน/ตาง : ใชเปรียบเทียบของ 2 สิ่งไมใชภาพพจน 4. การชี้สาเหตุผลลัพธสัมพันธกัน : ใชใหเหตุผลอธิบาย 5. การนิยาม : จะใชกับคําศัพท แตไมจําเปนตองมี หมายถึง, คือ เสมอไป 6. การกลาวซํ้าดวยถอยคําที่แปลกออกไป : อธิบายใหมเปนรอบที่ 2 แตจะใชคํา งายขึ้น มักจะมีคําวา กลาวคือ แตไมตองมี กลาวคือ เสมอไปก็ได ถาไมมี กลาวคือ เขาจะเวนวรรคเอา (ขอความหนาและหลัง กลาวคือ ตองมี ความหมายเหมือนกัน) 66. ทรรศนะ คือ ความคิดเห็น (Opinion) อาจถูกหรือผิดก็ได เพราะไมใช FACT คําที่แสดงทรรศนะ คือ คง คงจะ นา นาจะ ควร ควรจะ พึง พึงจะ อาจ อาจจะ หรือ ผมเห็นวา, เขาใจวา, สรุปวา, มีมติวา, เสนอวา หรืออาจไมมีคําพวกนี้เลยก็ได ทรรศนะ มี 3 Version 1. ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง (Guess) : เดา, สันนิษฐาน ไมใช บอก ขอเท็จจริง 2. ทรรศนะเชิงคุณคา/คานิยม (Evaluate) : ประเมินคา, ตัดสินใจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 3. ทรรศนะเชิงนโยบาย (Suggest) : แนะนํา * พี่ชายเธอดูเทหระเบิดเลย หุนดี หนาตาก็ใชได (ทรรศนะเชิงคุณคา) * ฉันวาเธอเอาเรื่องแสงสีกับกินดีอยูดีสอบดีกวา เหมาะกับเธอดี (ทรรศนะเชิงนโยบาย) * คงไมใชนักโทษแหกคุก 4 คนนี่หรอก ฉันวาคงตองเปนผูคุมตางหาก (ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง) 67. ระเบียบวิธีคิด มี 3 Version 1. วิเคราะห : หาสาเหตุ ทําไมเกิด = ทรรศนะเชิงขอเท็จจริง 2. ประเมินคา : ใหความเห็นประเมิน = ทรรศนะเชิงคุณคา/คานิยม 3. สังเคราะห : คิดวิธีการ Idea ใหญๆ = ทรรศนะเชิงนโยบาย 68. โครงสรางเหตุผล มี 2 องคประกอบ คือ (เกิดกอน) 1. เหตุ สาเหตุ ขอสนับสนุน (เกิดหลัง) 2. ผล ผลลัพธ ขอสรุป ระวัง! สันธานเหลานี้จะเจอเสมอเรื่องโครงสรางเหตุผล เพราะ, เนื่องจาก, ดวย, ก็เลย, จึง, ดังนั้น, เมื่อ.....จึง, เพราะ.....จึง เวลาออก Ent เรื่องนี้ใหดู โครงสรางดีๆ วาเขาเอา สาเหตุหรือผลลัพธขึ้นตนลงทาย BOBBYtutor Thai Note
  • 23. 69. อุปนัย = เกือบและ! นิรนัย = แนแน! นัย ทองวา จริง อุป ทองวา เกือบ นิร ทองวา แนๆ อุปนัย : ไมแนนอน ไมจําเปน โอกาสเกิดไมถึง 100% นิรนัย : ตอง Sure เกิดแนๆ เปนอยางนั้นแนๆ 100% * "ดูผูชายคนนี้สิ แตงตัวดี ทองหยองเต็มตัว ใสสูทดวย เปนลูกเจาสัวแหงๆ" ประโยคนี้เปน อุปนัย นิรนัย * ทุกปชวงตนเดือนธันวาคม นกนางแอนจะมาเกาะตามเสาไฟฟาถนนสีลมเต็มไปหมด เดี๋ยวธันวาคมปนี้ก็ตองมาอีก" ประโยคนี้เปน อุปนัย นิรนัย วิธีการดูอุปนัยและนิรนัย คือ ดูวาเกิดแนหรือไมแนไมจําเปน 70. อนุมาน 3 Version แบบสัมพันธเปนเหตุเปนผลกัน 1. การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ (เดา อนาคต) 2. การอนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา สาเหตุ (เดา อดีต) 3. การอนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา ผลลัพธ (เดา อนาคต) (ไมมี! การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา สาเหตุ) สูตรการทํา 1. หาทอน ที่เกิดขึ้นกับทอนเดาใหเจอ 2. ดูวาเดา อดีต เดาอนาคต * "ปลาลอยเปนแพอยางนี้ ใครชางใจรายปลอยนํ้าเสียลงแมนํ้าอีกแลว" อนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา สาเหตุ * "รีบๆ หนอยคุณพี่ เราคงตองทันแนๆ รถไฟเที่ยวสุดทาย" อนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ * "ยาหมองยี่หอนี้ขายดีเปนอันดับ 1 ที่อเมริกา รับรองถามาขายในเมืองโดยก็ตองอันดับหนึ่งแนๆ" อนุมานจาก ผลลัพธ ไปหา ผลลัพธ 71. การโนมนาวใจ = อภิปราย โวหาร การทําใหใครคนหนึ่งเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ แลวมาทําตามเรา มีกลวิธี การโนมนาวใจ 6 Version 1. ใชความนาเชื่อถือของผูโนมนาวใจ 2. ใชเหตุผลหนักแนน 3. ความรูสึกรวมหรืออารมณรวม พวกเดียวกัน ชอบเหมือนกัน 4. ชี้ใหเห็นทางเลือกทั้งดีและเสีย 5. สรางความบันเทิง 6. เราใหเกิดอารมณแรงกลา ภาษารุนแรง OVER * ระวัง! การโนมนาวใจตองใชหลัก สุภาพ นุมนวล หามขู บีบบังคับ นํ้าเสียงออนวอน วิงวอน หรือขอรอง ปนี้ระวัง! จะออกคําขวัญกับลักษณะภาษาโนมนาวใจ BOBBYtutor Thai Note