SlideShare a Scribd company logo
1 of 210
Download to read offline
สนทนาภาษาธรรม เลม ๑๙
     จากเว็บไซตกัลยาณธรรม

         ตอบปญหาโดย

  ทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร
ชมรมกัลยาณธรรม
              หนังสือดีอันดับที่ ๑๔๗

สนทนาภาษาธรรมเลม ๑๙ : จาก website kanlayanatam.com
ตอบคำถามโดย          : ทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร

จัดพิมพถวายเปนพุทธบูชาโดย
ชมรมกัลยาณธรรม              ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากน้ำ อ.เมือง
                            จ.สมุทรปราการ โทร. ๐๒-๗๐๒๙๖๒๔
หรือ ชมรมกัลยาณธรรม         ๘๙/๖-๗ ซอยศึกษาวิทยา ถ.สาธรเหนือ
                            สีลม บางรัก กทม. โทร. ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘
ภาพปก : ภาพประกอบ        : ดญ.กมลมาศ สมุทรรัตนกุล
คติธรรมประจำฉบับ         : กิจปฏิบัติของพระโพธิสัตว
รูปเลม-จัดพิมพ         : กอนเมฆแอนดกนยกรป โทร. ๐๘๙ ๗๘๕-๓๖๕๐
                                         ั  ุ
พิมพครั้งที่ ๑          : พฤษภาคม ๒๕๕๔ จำนวน ๖,๕๐๐ เลม




             สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ
      การใหธรรมะเปนทาน ยอมชนะการใหทั้งปวง
            www.kanlayanatam.com
ชมรมกัลยาณธรรม

  ขอนอมถวายเปนพุทธบูชา

           และ

    กราบบูชาอาจริยคุณ

           แด

ทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร
คำนำในการจัดพิมพถวายเปนพุทธบูชา
           ชมรมกัลยาณธรรม ไดดำเนินกิจกรรมเผยแผธรรมและใหธรรมทาน
แกสาธุชนตอเนื่องเกือบทศวรรษ นอกจากการไดรับศรัทธาหนุนเนื่องจาก
มหาชนแลว ปจจัยสำคัญอีกประการหนึงคือ พวกเรามีครูผูประเสริฐทีเปยม
                                        ่                            ่ 
ดวยเมตตาและความเสียสละ คือทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร เปนเหมือน
รมไมใหญที่มีธรรมหยั่งรากลึก เปนศูนยรวมแหงศรัทธาและพลังใจในการ
สืบสานความดีงาม รักใครสามัคคีในหมูพี่นองกัลยาณธรรม และเปนที่มา
แหงประโยชนแกพหูชน เพื่อพระศาสนาอยางไมมีที่สิ้นสุด
           คอลัมนสนทนาภาษาธรรม ยืนหยัดมาอยางยาวนาน เคียงคูกับเว็บ 
ไซตกัลยาณธรรมที่ไมเคยเงียบเหงา ทานอาจารย ดร.สนอง มีเมตตาตอบ
ปญหาและขอของใจของผูใฝธรรม ชวยดับทุกขและหาทางแกทางออกแกผู
                           
มีปญหาทีถามมาไดอยางกระจางชัดถูกตรงตามธรรม และดวยเมตตา ทาน
           ่
อาจารยทำงานอยางตรากตรำตอเนือง บางคราวตืนขึนมาตอบคำถามตอน
                                     ่             ่ ้
ตีหนึ่งถึงตีสองจนรุงเชา หวังใหทุกทานที่ถามมา รวมทั้งผูอานไดคลายทุกข
และมีแสงธรรมนำทางแหงชีวิต
             ชมรมกัลยาณธรรม ขอนอมบูชาพระคุณทานอาจารยผูเปรียบ
ประดุจบิดาของเราทุกคน บุญกุศลใดอันเกิดจากพลังแหงความดี ที่ชมรม
กัลยาณธรรมมีสวนเกื้อกูลใหเกิด และทำใหเจริญงอกงามขึ้น ขอบุญกุศล
นั้นจงเปนพลังอันยิ่งใหญ มาคุมครองอภิบาลทานอาจารยผูเปนแบบอยาง
ใหถึงยังฝงแหงความพนทุกขตามที่ทานปรารถนาทุกประการ และหวังวา
ทานผูอานจะไดรับประโยชนจากสนทนาปญหาธรรมเลมที่ ๑๙ ตามสมควร
                                              ทพญ.อัจฉรา กลิ่นสุวรรณ
                                             ประธานชมรมกัลยาณธรรม
อนุโมทนากถา

          หนังสือสนทนาภาษาธรรม เปนการตอบปญหา โดยใช
ปญญาเห็นถูกตามธรรมเสนอวิธีแกปญหา ผูใดเขาถึงความจริง
เชนนีได หรือปฏิบตตามคำชีแนะ ดวยการคนเหตุทีถูกตองไดแลว
      ้           ั ิ     ้                   ่
ปญหายอมหมดไปอยางถาวร

         ผู ตอบ ปญหา ขอบคุณทุก ทาน ที่ รวม แรง กาย แรง ใจ
ตลอดจนแรงทรัพย ทำใหหนังสือสนทนาภาษาธรรมสำเร็จเปน
รูปเลม และเผยแพรใหมวลชนไดรู พรอมทั้งอางเอาอานิสงส
แหงการใหปญญาเปนทานในครั้งนี้ จงเปนพลวปจจัยสงผลให
ชีวิตของทุกทานดำเนินไปสะดวก ราบรื่น และมีความสุข ทั้งใน
ชาติปจจุบันและชาติหนาถัดๆไป เทอญ.




                                           ดร.สนอง วรอุไร
๖ : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m


                                                                                                                     หนา
๑.    ชางวาดรูป ................................................................................................... ๑๐
๒.    โอกาสเปนคนดี ......................................................................................... ๑๓
๓.    เปนเรืองของเขา ........................................................................................ ๑๕
                 ่
๔.    อยูที่บานก็ทำได ........................................................................................ ๑๖
๕.    ลูกออด ......................................................................................................... ๑๗
๖.    สัตวโลกเปนไปตามกรรม ........................................................................... ๑๘
๗.    กลัวสัมภเวสี ................................................................................................. ๒๑
๘.    ผีคออะไร ..................................................................................................... ๒๓
             ื
๙.    รูดวยปญญาเห็นแจง .............................................................................. ๒๕
         
๑๐.   เห็นดวยไหม ................................................................................................ ๒๖
๑๑.   อยากชวยคนอืน ......................................................................................... ๒๙
                              ่
๑๒.   เพศทีสาม .................................................................................................... ๓๑
               ่
๑๓.   หักคอปลา .................................................................................................. ๓๓
๑๔.   คนตกงาน ..................................................................................................... ๓๗
๑๕.   รถแกสปะทะรถน้ำมัน ................................................................................ ๓๙
๑๖.   เรืองพระราหู ............................................................................................... ๔๒
         ่
๑๗.   เขาสมาธิระดับ ๓ ไดหรือไม ................................................................. ๔๕
๑๘.   รับขัน .............................................................................................................. ๔๕
๑๙.   คนจิตฟุง ........................................................................................................... ๔๗
                   
๒๐.   ใครวาไมดี .................................................................................................... ๔๘
๒๑.   มาตรวัดการปฏิบตธรรม ............................................................................ ๔๙
                                   ั ิ
๒๒.   ขอภริยาไปบวช ........................................................................................ ๕๒
๒๓.   ตัณหาขวางกัน ................................................................................................ ๕๓
                           ้
๒๔.   กรรมตัดรอน ............................................................................................ ๕๕
๒๕.   กลับคืนสูธรรมชาติ ................................................................................... ๕๗
                     
๒๖.   แทะกระดูกขาตัวเอง ................................................................................. ๕๘
๒๗.   วินยของพระ .................................................................................................... ๖๐
           ั
๒๘.   สงสารคุณแม .............................................................................................. ๖๓
๒๙.   ไปวัดกับแม ..................................................................................................... ๖๖
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๗


๓๐.   รูแตไมมี ...................................................................................................... ๖๙
๓๑.   อำนาจของกรรม ..................................................................................... ๗๒
๓๒.   บัวกำลังจะแยมบานกลีบ ........................................................................... ๗๔
๓๓.   ตามรอยธรรม ................................................................................................ ๗๙
๓๔.   ประพฤติไมถกตรง ....................................................................................... ๘๑
                              ู
๓๕.   ศีลคุมใจ ............................................................................................................. ๘๒
๓๖.   คนชางสงสัย .................................................................................................... ๘๔
๓๗.   กะจะเขาไปแอบหลับ ................................................................................ ๘๙
๓๘.   สังฆทานทางไกล ......................................................................................... ๙๑
๓๙.   ยิมไดเร็ว ......................................................................................................... ๙๒
          ้
๔๐.   เปนการพนันหรือไม ...................................................................................... ๙๔
๔๑.   ไมสามารถกำจัดมาร .................................................................................... ๙๖
๔๒.   กึงนังกึงนอน ................................................................................................ ๙๗
         ่ ่ ่
๔๓.   ลำบากมาก .................................................................................................. ๙๘
๔๔.   ทุกขเพราะเห็นผิด ..................................................................................... ๑๐๐
๔๕.   ปฏิบตธรรมใหถกทาง .............................................................................. ๑๐๒
                  ั ิ           ู
๔๖.   ผูไมหวังเกิดอีก .......................................................................................... ๑๐๓
            
๔๗.   สิวบนใบหนา ............................................................................................... ๑๐๖
๔๘.   ชอบคิดในสิงไมดี ........................................................................................ ๑๐๘
                            ่
๔๙.   สีลพพตปรามาส ........................................................................................ ๑๐๙
               ั
๕๐.   แมแทกับแมบุญธรรม ......................................................................... ๑๑๑
๕๑.   ณ ปาวาลเจดีย .............................................................................................. ๑๑๔
๕๒.   อินทรียยงออน ............................................................................................. ๑๑๘
                       ั
๕๓.   ควรแกไขอยางไร ................................................................................... ๑๒๐
๕๔.   ทำวิจยอยูที่ USA ....................................................................................... ๑๒๑
                   ั 
๕๕.   ทำงานในคาสิโน ...................................................................................... ๑๒๒
๕๖.   วิบตเพราะทำอาชีพเสียง ........................................................................ ๑๒๗
              ั ิ                          ่
๕๗.   ยังเห็นผิด ..................................................................................................... ๑๓๓
๕๘.   สงบบางฟงบาง ..................................................................................... ๑๓๕
                          ุ
๕๙.   รูสกพะวักพะวน .......................................................................................... ๑๓๗
         ึ
๖๐.   นอนสูงกวาแม .............................................................................................. ๑๔๐
๘ : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m


๖๑.   โงเอง .......................................................................................................... ๑๔๒
๖๒.   ควรเลิกกับเธอไหม ..................................................................................... ๑๔๔
๖๓.   เขาเปนคนขีเมา ........................................................................................... ๑๔๖
                          ้
๖๔.   ควรฝกวันละกีชวโมง ................................................................................ ๑๔๗
                              ่ ั่
๖๕.   ทำอยางไรไดอยางนัน ............................................................................... ๑๔๘
                                         ้
๖๖.   ไมอยากทำแลวคะ ...................................................................................... ๑๔๙
๖๗.   ตามแบบหลวงพอ ....................................................................................... ๑๕๐
๖๘.   ตองปฏิบตอยางไร ................................................................................... ๑๕๒
                    ั ิ
๖๙.   หนูตองการชวยคุณแม ............................................................................. ๑๕๕
              
๗๐.   หากเปนเรืองจริง ........................................................................................ ๑๕๗
                      ่
๗๑.   ไดบญหรือไดบาป ..................................................................................... ๑๖๑
            ุ
๗๒.   ทำงานอยูทลำพูน ....................................................................................... ๑๖๒
                      ี่
๗๓.   ขออนุญาตรบกวน ................................................................................... ๑๖๔
๗๔.   ผูสำนึกผิด ...................................................................................................... ๑๖๗
        
๗๕.   งงไปงงมา ...................................................................................................... ๑๖๙
๗๖.   ตกใจปนงง ๆ ............................................................................................. ๑๗๑
๗๗.   อยากใหเปลียนชือ ...................................................................................... ๑๗๔
                            ่ ่
๗๘.   คำถามทีคาใจมานาน ................................................................................. ๑๗๖
                  ่
๗๙.   อยากใหแมสบายใจ ................................................................................... ๑๗๗
๘๐.   ตองการลาพุทธภูมิ ................................................................................... ๑๘๐
๘๑.   อธิษฐานและขอพร .................................................................................... ๑๘๒
๘๒.   เพือเตรียมตัวตาย .................................................................................... ๑๘๔
          ่
๘๓.   เหมือนกับมีสองคน .................................................................................... ๑๘๖
๘๔.   ฆราวาสสอนสงฆไดไหม ....................................................................... ๑๘๘
๘๕.   ดูใหถกตรง .................................................................................................... ๑๙๐
                ู
๘๖.   กลัวกรรมใหผล ............................................................................................ ๑๙๔
๘๗.   ทำไดหรือไม .................................................................................................. ๑๙๗
๘๘.   เห็นตางจากสามีคะ .................................................................................... ๑๙๘
                                    
๘๙.   ทำเหตุใหตรง ............................................................................................... ๒๐๒
๙๐.   กรรมสนองกรรม ....................................................................................... ๒๐๔
เสียงกระซิบสูดวงใจเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๒
พระอานันท พุทธธัมโม ณ โฮงหลวงวัดบานปาง ต.ศรีวิชัย อ.ลี้ จ.ลำพูน


              ความผิดคือดาบอันคมกลา ความถูกก็คือดาบอันคมกลา
                          สุดแตใครจะใชใหเกิดประโยชน
        ตัวเจาคือกระจกเงาของเจา คนอื่นก็เปนกระจกเงาของเจาดวย
               คนดีจะไมหลงยกยอตนเอง และจะไมตั้งตัวเปนเอก
        คนชั่วเปนอุทาหรณที่มีคณคายิ่ง คนดีก็เปนเยี่ยงอยางอันล้ำเลิศ
                                  ุ
      วาจาที่ออกมาจากใจคนดี มิใชถอยคำหวานลอมเพื่อประโยชนตน
          เมื่อใจเปนนาย กายเปนบาว เจาจะเปนผูขับขี่ไปบนสรรพชีวิต
                 พุทโธ ธัมโม สังโฆ เปนที่พ่งอันประเสริฐของเจา
                                             ึ
                       เห็นกายมิใชกาย นั่นคือ พุทธมณฑล
                      เห็นจิตมิใชจิต นั่นคือองคพระพุทธเจา
                เห็นสรรพชีวิตไรตัวตน นั่นคือเห็นเหลาอริยะสาวก
           ขอใหดวงใจของเจาจงเปนน้ำอมตะรสหลอเลี้ยงสัตวโลก
          ขอใหดวงตาของเจาจงเปนแสงสวางสองทางใหชีวิตทั้งมวล
                   ขอใหหูของเจาจงสดับสรรพสิ่งเปนธรรมสาร
          ขอใหปากของเจาจงเปลงวาจาอันเปนมิตรภาพและสันติภาพ
               ขอใหเทาของเจาจงกาวไปสูทางแหงความสรางสรรค
       ขอใหมือของเจาจงเชื่อมสัมพันธไมตรีผูกมิตรกับทุกผูอยารูคลาย
     ขอใหสายโลหิตของเจาเปนทิพยโอสถรักษาโรคาพยาธิของทุกรูปนาม
  ขอใหชวิตรางกายของเจาเปนตนโพธิ์แกวที่อาศัยพักรอนของสัตวโลกทั้งผอง
        ี
10 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๑๐


๑. ชางวาดรูป

คำถาม
          กราบเรียนทานอาจารยสนอง วรอุไรที่เคารพ
          ๑. ผมไมแนใจวาสิ่งที่ทำไปเปนบาปหรือเปลา... ดวย
ความที่บานภรรยาผม ที่ผมอยูนั้นมีเนื้อที่ในบานคอนขางจำกัด..
คือมีชั้นเดียว แลวผมก็ไดนำโตะหมูบูชา และพระพุทธรูป พระ
เครื่อง(สมเด็จพระญาณสังวร หลวงปูเณรคำ ฉัตติโก ฯลฯ) ไป
ไวในหองนอนดวยเพือความสะดวกในการสวดมนตนังสมาธิ มัน
                     ่                              ่
จะเปนบาปไหมที่ผมทำแบบนี้... เพราะหองนอนตองมีกิจของ
ฆราวาส... แตเรื่องการวางเทาผมจะไมชี้ไปทางพระพุทธรูปเด็ด
ขาด ผมพยายามคิดในทางทีดีวาผมมีความจำเปน ผมไมมเจตนา
                            ่                           ี
คิดและทำแบบนี้ ผมมีความศรัทธาดวยซ้ำ ถาผมจำไมผิด หลวง
พอจรัญเคยบอกไวในหนังสือไววา ใครมีโตะหมูบูชาไวในหองนอน
                                              
เทวดาจะไมสถิตพระพุทธรูป... ผมไมติดใจวาจะมีอะไรมาสถิต
หรือไม แตที่ผมทำมันเปนบาปไหมครับ
          ๒. ทุกเดือน ผมจะสงเงินเลี้ยงดูพอแมตามกำลัง (ผม
ทำงานรับราชการเงินเดือนเพิงเริมตนไดไมนาน) ไมเคยขาดการ
                              ่ ่
สงตั้งแตรับราชการมาเกือบสามปแลว ตั้งแตเด็กจนทำงานไม
เคยทำตัวใหพอแมเสียใจในเรื่องไมดี.. แตผมไมคอยไดมีโอกาส
ปรนนิบัติอยูใกลๆเพราะทำงานที่กรุงเทพ อยูกรุงเทพตั้งแตมา
เรียนจนทำงานเกือบ ๑๓ ปแลว ยังดีที่มีพี่สาวดูแลอยู อยาก
ถามอาจารยวา การดูแลพอแมแคสงเงินใหแตละเดือนมันเพียง
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๑
                                                             11


พอหรือไมกับการเลี้ยงดูบิดา มารดา มันดูนอยไปไหม ขาดตรง
ไหน ควรเพิ่มตรงไหนครับ
          ๓. ขณะที่ภรรยาตั้งครรภ ถาไดฟงธรรมะเพื่อเผื่อแผ
ถึงลูก ลูกจะไดสิงดีๆติดตัวมาตอนคลอดไหมครับ (ถาไมรวมกับ
                  ่
กรรมเกาที่ติดตัวมา)
          ๔. ผมเปนชางวาดรูป เคยวาดรูปพระบฏ(ผืนผายาวๆ
วาดรูปเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจา) บางครั้งมีความจำเปน
ตองนั่งทับพระพักตรพระพุทธเจา เพื่อจะวาดไดถนัด แบบนี้
ถือวาเปนบาปไหมครับ (แตกอนวาดก็กราบขอขมากอน)
          ๕. กอนผมและเพื่อนอีกคนจะสอบเขารับราชการได
ไดรวมกันวาดรูปพระเจาสิบชาติจำนวน ๑๒๐ รูป เพื่อแสดง
นิทรรศการในงานวันอาสาฬหบูชาที่ทองสนามหลวง ในตอน
กลางคืนของวันสุดทายที่กำลังจะวาดสำเร็จ ไดมีกลิ่นโชยเขา
มาในหอง ผมกับเพื่อนถึงกับมองหนากัน กลิ่นที่ไดรับนั้นเหมือน
กลิ่นน้ำหอมโบราณ หอมมากครับ(หอมอยูนาน) ถาผมจะคิดวา
เปนกลิ่นของเทพยดามาอนุโมทนาในอานิสงสครั้งนี้ จะเปนไป
ไดไหมครับ เพราะไมทราบวาเทวดามีกลิ่นประจำองคดวยหรือ
ไม หรือถาอาจารยจะกรุณา ถาอาจารยเคยไดรับ
รูกลิ่นเทวดาชวยอธิบายลักษณะกลิ่นไดไหมครับ
          (บางเรื่องที่ถามอาจไรสาระ ขอความ
กรุณาอาจารยชวยสงเคราะหดวยครับ เพราะ
ติดของในใจอยูนานแลวครับ)
          ขอบพระคุณอยางสูงครับ
12 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๑๒


คำตอบ
          (๑). ไมมีเจตนาลบหลูสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ไมถือวาเปนบาป
          (๒). การเลี้ยงดูพอแมดวยการสงเงินไปให ถือวาเปน
จริยธรรมที่ลูกที่ดีพึงปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีจริยธรรมของลูกที่
อยูหางไกล สามารถประพฤติได เชน ดำรงวงศสกุลมิใหเสื่อม
เสีย ประพฤติตนเปนทายาททีดี ไมนำความไมสบายใจไปสูพอแม
                                  ่                           
เมือใดทีไปทำบุญแทนทาน (บุญกิรยาวัตถุ ๑๐) ตองสือสารใหพอ
    ่ ่                                ิ                 ่
แมทราบ ดวยการโทรศัพทบอกใหรู เมือทานกลาวอนุโมทนา พอ
                                          ่
แมยอมไดรับบุญนั้น อนึ่งการสงหนังสือธรรมะไปใหพอแมอาน
สงซีดีธรรมะไปใหทานฟง สงวีดีโอธรรมะไปใหทานดู ฯลฯ ยัง
เปนการตอบแทนคุณของพอแมไดอีกดวย
          (๓). ไดแนนอนครับ
          (๔). อิรยาบถใดที่ผูถามปญหาไดกระทำแลว หากมีจิต
                   ิ
ระลึกไดและทำใหไมสบายใจ อิริยาบถนั้นถือวาเปนบาป
          การขอขมากรรม หมายถึง กลาวคำขอโทษที่ประพฤติ
ลวง เกิน สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ แลว ดวย กาย วาจา และ ใจ เพื่อ ให สิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์ยกโทษให ผูขอขมากรรมตองไมประพฤติลวงเกินเชน
นั้นอีก การขอขมากรรมจึงจะถือวาสัมฤทธิ์ผล
                     (๕). กลิ่นหอมที่ผูวาดรูปสัมผัสไดนั้น เปนการ
                     แสดงความยินดีของเทวดา กลิ่นหอมอันเปน
                      ทิพยมีลักษณะหอมทวนลม หอมไดไกลกวา
                      กลิ่นหอมใดๆที่มีอยูในภพมนุษย
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๓
                                                                 13


๒. โอกาสเปนคนดี

คำถาม
            กราบเรียนทาน อ.สนอง
            ทุกวันนีดิฉนมีความทุกขมากคะไมรวาจะแกไขอยางไรดี
                    ้ ั                            ู
ดิฉันเปนคนที่มีโมหะมาก และก็มีอกุศลสัญญาเก็บไวในจิตเยอะ
มาก
            คือ ดิฉัน ได มี โอกาส เขา รวม ปฏิบัติ แนว ของ คุณ แม สิริ
มาหลายครั้งทุกครั้งก็จะเห็นความไมดี(เลว) ของตัวเองเยอะ
มาก คือจะคิดไมดีตอพระพุทธ พระอริยสงฆ และผูมีพระคุณ
แบบไมมสาเหตุ บางทีไมเคยรูจกแคไดยนชือก็พาลไมชอบ ดาวา
          ี                  ่      ั         ิ ่
แชง ไมเขาใจตัวเองเลย กลัวใจตัวเองมากคะ รูวามันปาบมาก
พยายามรักษาสติแตก็ทำใหเลิกคิดไมได บางวันที่ตั้งใจรักษาสติ
ใหอยูกับการเดินหรือการหายใจมากๆ ความคิดอกุศสก็มีมาก
บางวันก็นอย
            ดิฉันควรจะทำอยางไรดีคะ อยากขอความกรุณาทาน
อาจารยชวยชี้แนะดวยคะขอพระคุณมากคะ
                                             ดวยความเคารพอยางสูง

คำตอบ
       คนที่รูวามีความไมดีอยูในตัว คนนั้นแหละที่จะมีโอกาส
พัฒนาตัวเองใหดีใหมีบุญเกิดขึ้นไดในวันขางหนา
14 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๑๔


          ศาสนาพุทธ เปนศาสนาที่มีเหตุผลกำกับ เปนศาสนา
แหงความจริง ฉะนั้นการคิดไมดีตอพระพุทธ พระอริยสงฆและ
ผูมีพระคุณ เหตุเปนเพราะจิตของผูคิดมีโปรแกรมติดลบเก็บ
บันทึกอยูภายใน คนประเภทนี้มีอัตตาสูงและมีกำลังของสติ
ออน “อัตตา” หมายถึงตัวตน หรือความเห็นแกตัว “สติ” หมาย
ถึงระลึกได นึกได ไมลืม เมื่อปจจัยทั้งสองทำงานรวมกัน ความ
คิดที่เปนอกุศลยอมเกิดขึ้นเปนธรรมดา ดังนั้นผูใดปรารถนาให
ตนเองมีความคิดทีดีงาม มีความคิดทีเปนบุญเปนกุศล ผูนันตอง
                    ่                    ่             ้
เอาศีลอยางนอยหาขอที่ไมขาด ไมทะลุ ไมดาง ไมพรอย มาคุม
ใจใหไดทุกขณะตื่น แลวนำตัวเองไปพัฒนาจิต (สมถภาวนา) ให
มีกำลังของสติกลาแข็ง จนจิตเขาถึงความตั้งมั่นเปนสมาธิจวน
แนวแน (อุปจารสมาธิ) แลวนำจิตไปพัฒนา (วิปสสนาภาวนา)
จนกระทั่งเขาถึงปญญาเห็นแจง ไดเมื่อใดแลวโอกาสที่อัตตาจะ
ดับไป จึงมีไดเปนได .... พิสูจนไหมครับ




         ในขณะนี้ ซึ่งไดอยูในกายอันไดพบธรรมและมีโอกาสอันดี
            อันไดมาโดยยาก การตั้งใจฟง ตั้งใจคิดไตรตรอง
        และตั้งสมาธิทั้งคืนและวัน เพื่อปลดปลอยตนเองและผูอื่น
    ใหหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิด คือกิจปฏิบัติของพระโพธิสัตว
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๕
                                                             15


๓. เปนเรื่องของเขา

คำถาม
         กราบเรียน ทานดร.สนอง
         ดิฉันยายบานใหม บานเลขที่ ๒๓๔/๒๖๗ หนาบานหัน
หนาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต ดิฉนอยากทราบวาจะหันหนาโตะ
                                    ั
หมูบูชาดานไหนของบาน เพราะตอนนี้หันโตะหมูหันหลังใหกับ
บานและมีคนทักวาไมดี ตอผูที่อยูอาศัย และมองดูก็ตรงตามที่
เขาทักมา จึงขอใหทาน ดร.สนองแนะนำดวย ดิฉันสวดมนตนั่ง
สมาธิทุกวัน
                                               ขอขอบคุณคะ

คำตอบ
          การประพฤตินอบนอม หมายถึงการแสดงความเคารพ
อยางสูง ผูใดประพฤติแลวบุญยอมเกิดขึ้น ในครั้งพุทธกาลไม
วาพระพุทธเจาสถิตอยู ณ ที่แหงใด พระสารีบุตรแสดงกิริยา
นอบนอม ดวย การ นอน หัน ศีรษะ ไป ทาง ที่ พระพุทธเจา ประทับ
ฉะนั้นผูถามปญหาวางโตะหมูบูชา แลวเห็นวา
เหมาะกับการแสดงความเคารพอยางสูงของ
ตน คนอื่นที่ไมเห็นดวยจะทายทักอยางไรก็
เปนเรื่องของเขา
16 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๑๖


๔. อยูที่บานก็ทำได

คำถาม
        เรียนถามเรื่องฝกการนั่งสมาธิ
        อยากจะเรียนถามทานอาจารยครับวา ผมอยากจะฝก
นั่งสมาธิดวยตัวเองจะทำไดไหมครับ
        แลวมีแนวทางยังไงครับ แลวตองมีบทสวดมนตกอน
หรือเปลาครับ เพราะผมทำงานอยูตางประเทศชวงนี้ ผมฟง
อาจารยบรรยาย ตามเว็บไซตตางๆครับ ผมคิดวาผมทำกรรม
มาเยอะพอสมควรครับ เพราะตอนเด็กๆเคยฆาสัตวตางๆเพื่อ
ทำอาหารครับ ผมอยากจะเสริมสรางบารมีและแผสวนกุศลให
เจากรรมเผื่อจะใหบาปกรรมทุเลา เบาบางลงบางครับ
                                           ขอบคุณครับ

คำตอบ
            บุคคลสามารถฝกสติอยูที่บานได ดวยการสวดมนต
สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (อิติปโสภควา ... จนจบ, สวากขา
โตฯ ..., สุปฏิปนโนฯ .... ) หลังจากสวดมนตจบแลวใหเจริญอานา
ปานสติ ดวยการหายใจเขากำหนดวา “พุท” หายใจออกกำหนด
วา “โธ” ประมาณ ๓๐ นาที หรือนานเทาที่มีเวลาทำได หลังจาก
นันใหอุทศบุญกุศลใหเจากรรมนายเวร ทุกครังทีทำกิจกรรมแลว
  ้       ิ                                 ้ ่
เสร็จ
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๗
                                                                 17


๕. ลูกออด

คำถาม
        กราบเรียนถามทานอาจารยดร.สนอง คะ
        กรณีทีทีบานมีสระน้ำ เนืองจากทิงไวนาน ทำใหมีคางคก
               ่่                ่      ้
กบ ลูกออดขึนในบอมากมาย สงเสียงดังมากๆกลัววาจะเปนการ
            ้
รบกวนเพื่อนบานขางเคียง ถาจะปลอยน้ำในสระออกก็กลัวลูก
ออด ไร ตางๆจะตาย ทิ้งไวก็จะเปนแหลงเพาะพันธุเพิ่มมากขึ้น
เรื่อยๆ กรณีนี้มีวิธีใดที่พอจะแกไขปญหาดังกลาวไดบางหรือไม
อยางไรคะ
                       ขอบพระคุณทานอาจารยอยางสูงที่เมตตา

คำตอบ
       แกปญหาดวยการใชสวิงตักลูกออดทีมีอยูในบอทังหมด
                                         ่          ้
ไปปลอยในแหลงน้ำอื่น แลวปลอยน้ำในสระออกใหแหง

      จิตของผูที่ยึดติดกับคนที่รักระส่ำระสายดุจสายน้ำ
          จิตของผูที่เกลียดชังศัตรูเผาไหมดั่งเชนไฟ
        จิตของผูที่โงเขลา หลงลืมไปวาจะรับอะไรไว
            และจะทิ้งอะไร เต็มไปดวยความบดบัง
    การไมยึดติดกับสิ่งตางๆ คือกิจปฏิบัติของพระโพธิสัตว
18 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๑๘


๖. สัตวโลกเปนไปตามกรรม

คำถาม
         ถามปญหา อ.สนอง วรอุไร
         กราบเรียนทานอาจารยสนองที่เคารพ ผมมีปญหาซึ่ง
เปนความทุกขทางใจ ขอความกรุณาอาจารยชวยผมดวยครับ
ความทุกขของผมก็คือ เมือปเศษมานีแมผมไดถึงแกความตายลง
                          ่       ้
ขณะนั้นทานอายุ ๙๑ ป หลายทานอาจเห็นวาทานอายุมากแลว
คงจะหมดอายุ แตมันมีเหตุใหผมเสียใจและจิตใจเศราหมองมา
ตลอดวาผมทำใหแมตายหรือไม กลาวคือ กอนตายแมมีอาการ
เจ็บปวดจากการมีแผลกดทับ แตผมและพี่ๆไมไดเอาแมไปโรง
พยาบาล เพราะผมไปเชื่อหมอที่รับมาดูและรักษาอาการวาไม
ตองเอาไปโรงพยาบาลหรอก เพราะแมอาการหนักคงอยูไดไม
นาน และหากเอาไปโรงพยาบาลหมอจะขูดแผลกดทับทำใหเจ็บ
ปวดมาก และจะมีการใสสายยางตางๆทำใหไดรับความทรมาน
แสนสาหัส ควรปลอยใหแมจากไปเองทีบาน ซึงผมก็เชือ แตแมมี
                                    ่    ่       ่
อาการทรุดลงเรือยๆ พีสาวและพีสะใภจึงไปรับหมออนามัยมาดู
                   ่    ่       ่
อาการ หมอใหรีบเอาไปโรงพยาบาล พี่สาวและพี่สะใภจะเอาไป
โรงพยาบาล แตพีๆอีกหลายคนก็คัดคาน บอกวาอยากใหแมตาย
                     ่
ที่บาน ไมใชที่โรงพยาบาล ผมกลับมาบานตอนเย็น พี่สาวใหผม
ตัดสินใจ ผมก็ตกลงใหเอาไปโรงพยาบาล แตพี่ๆบางคนยังคง
คัดคาน และแสดงความเบื่อหนายที่จะตองไปนอนเฝาแม ตาง
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๙
                                                            19


อยากใหแมไปเสียเร็วๆ ผมเลยใจเขว ไดโทรศัพทไปถามหมอคน
เดิมอีกครั้ง หมอยังคงยืนยันอยางเดิมวาไมควรเอาไป ผมเห็น
วาหมอคนนีเปนแพทยทีใหญกวาหมออนามัย นาเชือถือกวา เลย
            ้         ่                         ่
ตัดสินใจไมเอาแมไปโรงพยาบาล และนึกดีใจที่จะไดไมตองขัด
แยงกับพีๆอีกหลายคน แตนันเปนการตัดสินใจทีผิดพลาด เพราะ
         ่                ่                 ่
แมอาการทรุดลงเรือยๆ ผมเปดอินเตอรเน็ตดูวิธดูแลผูปวยแผล
                  ่                           ี   
กดทับ เขาบอกใหพลิกตัวบอยๆ เลยตกลงกับพี่สาวที่ดูแลแมวา
ใหพลิกตัวแมตอนเที่ยงคืน แตการณกลับเลวรายลง เพราะการ
พลิกตัวทำใหแมหายใจไมออก ซึ่งผมก็ไมทราบ คิดวาแมใกลจะ
ตายเอง พี่สาวเรียกผมไปนั่งดูใจ ผมดูจนกระทั่งแมหมดลมตอ
หนาตอตาผม ทำใหผมรูสึกผิด และเศราหมองใจเสียใจมาโดย
ตลอด เพราะผมรักแมมากแตกลับไมไดปฏิบัติตอแมใหดีที่สุด
ผมจึงขอถามดังนี้
        ๑. แมตายเพราะความผิดของผม หรือวาแมถึงคราว
จะตองตายเอง แลวผมมีความผิดบาปมากนอยแคไหนครับ
จะไถโทษไดอยางไร (จนถึงทุกวันนี้ผมยังคงทำบุญอุทิศใหแม
เสมอมา)
        ๒. การที่คนเราทุกคนถึงแกความตายเพราะผูนั้นถึง
คราวจะตองตายหรือไม อยางกรณีของแม ถึงผมจะพาแมไปโรง
พยาบาล แมก็ยังคงถึงแกความตายอยูดี เปนเชนนั้นหรือไม
        ๓. ทำอยางไรจิตใจผมจึงจะหายหมนหมองครับ
                    ขอใหอาจารยตอบและใหกำลังใจดวยครับ
20 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๒๐


คำตอบ
          กมฺมุนา วตฺตตีโลโก แปลวา สัตวโลกเปนไปตามกรรม
          (๑). เกิด-แก-ตาย เปนกฎธรรมชาติทีไมมใครผูใดแมแต
                                                 ่ ี 
พระพุทธเจา ยังไมสามารถเลี่ยงกฎนี้ได ดังนั้นเมื่อพระอัญญา
โกณฑัญญะ (ปฐมสาวก) พระมหาโมคคัลลานะ (อัครสาวกเบือง               ้
ซาย) มาทูลขออนุญาตเขานิพพาน พระพุทธเจามิไดทรงทักทวง
แตทรงอนุญาตใหเขานิพพานได สวนพระมหาปชาบดีภิกษุณี (ผู
เลี้ยงดูเจาชายสิทธัตถะ) มาทูลลาเขานิพพาน พระพุทธเจาตรัส
วา กาลฺชานาหิ โคตมี (จงรูเวลาเถิดทานโคตมี) แลวมีบัญชาให
แสดงฤทธิใหมวลชนดู เพือเปนการบอกใหรูวา สตรีเพศสามารถ
            ์                ่                 
พัฒนาจิตจนมีฤทธิได พระสารีบุตร (อัครสาวกเบืองขวา) มาทูล
                       ์                           ้
ลาเขานิพพาน พระพุทธเจามิไดทรงทักทวง แตทรงตรัสถามวา
แลวเธอจะไปนิพพานที่ไหน พระสารีบุตรกลาวตอบวา “ที่บาน
เกิด” หลังจากนั้นพระพุทธเจาทรงอนุญาตใหเขานิพพานได
          (๒). เปนเชนนั้นครับ
          (๓). ผูใดประสงคมิใหจิตเศราหมอง พึงดูพระอริยสาวก
                 
              เปนตัวอยาง แลวพัฒนาจิตใหเขาถึงธรรมแมเพียง
                   ขั้นตน เปน พระ โสดาบันที่ ตาย เกิด อีก ไม เกิน
                    เจ็ดชาติ ยังมีความทุกขเหลือนอยเทาขี้ฝุนติด
                     ปลายเล็บ เมื่อเทียบกับความทุกขที่กำจัดได
                     แลว เหมือนขี้ฝุนที่หลงเหลืออยูในพื้นปฐพี ....
                   พิสูจนแลวจริงครับ
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๑
                                                              21


๗. กลัวสัมภเวสี

คำถาม
          กราบเรียนอาจารย ดร. สนอง
          อาจารยคะ คุณพอหนู(วิคมน สิริทิพากร) ไดถูกรถชน
ที่หนารานดาวคะนอง จ.ลำพูน เมื่อ ๒๘ ส.ค. ๕๓ และทานได
เสียชีวิตลงที่ รพ.ลำพูน ๒๙ ส.ค. ๕๓ หนูมีคำถามมาปรึกษา
อาจารยดังนี้คะ
          ๑. คุณพอหนู เปนสัมภเวสี ใชไหมคะ แลว หนูจะทำ
อยางไรที่พอจะชวยทานไดบาง แลวเราจะทราบไดอยางไร วา
ทานจะหมดอายุขัยเมื่อใด (ปจจุบันหนู ปฏิบัติธรรมอยูที่บาน
และจะลาพักรอนไปปฏิบตทีวัดตาลเอน วัดอัมพวันหรือ ยุวพุทธฯ
                           ั ิ่
ตามแตโอกาสจะเอื้ออำนวยคะ) ไมนานมานี้ รุนนองมาคางเปน
เพือนทีบาน ไดเห็น ลักษณะคลายคุณพอมายืนทีหนาบานคะ นอง
    ่ ่                                       ่
เขามันใจวาไมใชคนแนๆ หนูเลยอธิฐานบอกเจาทีหรือเทวดาทีปก
      ่                                         ่          ่
ปกษรักษาบานหนูอยู หากเปนคุณพอจริงๆใหคุณพอเขามาอยูใน 
บานได จะได ไมรอน หนาวหรือเปยก หนูทำถูกไหมคะ แตแลว
ก็ทำใหหนู กลัว ไมกลาอยูบานคนเดียวอีกคะ
          ๒. นอกจากการเสียชีวตดวย อุบตเหตุแลว การเสียชีวต
                                ิ       ั ิ                    ิ
อยางใดอีกที่จะทำใหเปน สัมภเวสีคะ
          ๓ . ได อานที่ อาจารย ตอบ คำถาม หลาย ทาน ใน เรื่อง
สัมภเวสีแลว แตยังสงสัย(กลัว) วา สัมภเวสี สามารถปรากฏ
๒๒ : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
22


ใหเห็นหรือสื่อสารกับเราไดหรือไมคะ คือ ขณะนี้หนู กลัวจนจิต
ไมเปนสมาธิ ปฏิบตธรรมไดบางไมไดบาง หนูกำหนด กลัวหนอๆ
                  ั ิ
ๆๆ คิดหนอๆๆ ก็ยังไมนิ่งคะ จึงลืมตาแลว เดินจงกรม บางครั้ง
ก็กังวลใจ วุนวายใจ หนูจะแกไข อยางไรดีคะ
        ขอบคุณอาจารยดร. สนอง ที่เมตตาตอบคำถามหนูคะ

คำตอบ
           (๑). ผูที่ตายกอนครบอายุขัย ตองเปลี่ยนสภาพจากรูป
กายหยาบ ไปเปนรูปนามละเอียดที่เรียกวา สัมภเวสี ตรงกัน
ขามผูที่ตายตามอายุขัยกำหนด ตองไปเกิดในรูปใหมเปนสัตว
(รูปนาม) อยูในภพใดภพหนึ่งของวัฏฏะ ตามกรรมที่ทำไวเปน
เหตุ
           ขออนุญาตเจาที่ใหสัมภเวสีเขาบริเวณบานได เปนการ
กระทำที่สมควร แตสมควรยิ่งกวา หากไดทำบุญ (บุญกิริยา
วัตถุ ๑๐) แลวอุทิศบุญใหกับสัมภเวสี
           (๒). คำวา “อุบัติเหตุ” หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นโดย
ไมคาดคิด ซึ่งเปนผลมาจากอดีตของผูตาย ประพฤติกรรม
ตัดรอนมากอน เชน ฆาสัตว สรางเครื่องมือทำลายชีวิตของผู
อื่น ดื่มสุรา ฯลฯ
           (๓). ผูใดปฏิบัติสมถภาวนา แลวปรารถนาใหจิตตั้งมั่น
เปนสมาธิ ตองเอาศีลที่ ไมขาด ไมทะลุ ไมดาง ไมพรอย ลงคุม
ใหถึงใจ แลวจึงนำตัวเองเขาปฏิบัติธรรมขางตน โดยมีสัจจะ มี
ความเพียร และไมสงสัยในคำชี้แนะของครูบาอาจารยผูเขาถึง
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๓
                                                              23


ธรรมมากอน โอกาสจิตตั้งมั่นเปนสมาธิและเกิดความรูแจงใน
สรรพสิ่ง เชน กลัวผี กลัวตาย กลัวยากจน กลัวไมสบาย ฯลฯ
จะไมเกิดขึ้น .... พิสูจนไหม?


๘. ผีคืออะไร

คำถาม
           กราบเรียนอาจารยสนองที่คารพยิ่ง
           ผี คือ อะไร
           หนูมีอวิชชาอยูมากคะเกี่ยวกับความเขาใจเรื่องผี คือ
เมื่อใดถาหนูตองอยูในที่มืดแลว จะมีมโนภาพเห็นแตสิ่งนากลัว
คนตาย
           หนูอยากถามวา ผี ที่แทคืออะไร (ความหมายทาง
ธรรม) หนูอยากเขาใจใหถูก และจะไดเลิกกลัวหากรูวาแทจริง
แลว ผี คืออะไร มีความสามารถแคไหน และเราควรทำ
อยางไรหากเผชิญในขณะที่สติยังไมเขมแข็งพอ หนูปฏิบัติแนว
อานาปานสติ ของทานพุทธทาสทานไมเอยถึงเรื่องแนวนี้เลย
เราเลยไมไดคำตอบที่แท เลยจัดการกับใจไมถูกบอกความจริง
ใหจิตรูในสิ่งแทจริงไมไดเลย ยังกลัวมาก
           อยากรบกวนถามเปนขอนะคะเพื่อจะไดตอบงาย
           ๑. ผี มีจริง หรือไม
24 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๒๔


           ๒. ถามี ผีทำรายคนไดหรือไม
           ๓. ถาเราเผชิญหนากับผีเราจะตองทำอยางไร หากสติ
เรายังออนอยู
           ๔. มีวิธีฝกใหเลิกกลัวไดหรือไม หนูไมอยากกลัว เพราะ
ดูเหมือนเรืองไรสาระทีไมเกียวกับการปฏิบติ แตจิตมันฝงใจมาก
             ่             ่ ่                ั
เมื่ออยูในที่มืดแลวเปนทุกครั้ง ฝกสูกับความรูสึกนี้แลวนอนคน
เดียวตอนไปปฏิบตธรรม ยังไมมคำตอบใหจิตเลยยังกลัวอยูมาก
                     ั ิ            ี                         
คะ
                                       ดวยความเคารพอยางยิ่งคะ

คำตอบ
          คำวา “ผี” หมายถึง สภาวะของจิตวิญญาณที่มองไม
เห็น แตเชื่อกันวาอาจปรากฏเปนรูปนามหยาบใหระบบประสาท
สัมผัสได และใหคุณใหโทษกับมนุษยได
          ในทางธรรม “ผี” หมายถึง สัมภเวสี ที่ยังไมไปเกิดเปน
สัตวอยูในภพใดๆของวัฏฏะ เมื่อใดที่ผูถามปญหาพัฒนาจิตให
มีกำลังของสติกลาแข็ง และมีปญญาเห็นถูกตามธรรมไดแลว
จะไมกลัวผีอีกตอไป (หากมีโอกาสโปรดอาน ทางสายเอก ของ
ผูเขียน)
          (๑). ผี (สัมภเวสี) มีจริง
          ( ๒ ) . ผู ใด สติ กลา แข็ง และ รู จริง เรื่อง ผี ยอม ไม ถูก ผี
ทำราย
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : 25
                                                             ๒๕


       (๓). ผูมีสติออนแกปญหากลัวผี ดวยการเปดไฟฟาใหมี
แสงสวางแลว ผียอมหายไป
       (๔). ตองฝกปฏิบัติธรรม ใหไดผลตามแบบที่ผูตอบ
ปญหาเขียนไวในหนังสือ ทางสายเอก


๙. รูดวยปญญาเห็นแจง

คำถาม
          เรียน อาจารยสนองที่เคารพ ขอเรียนถามปญหาดังนี้
          ทุกวันนีไดพัฒนาจิต ดวยการปฏิบตวิปสสนา ตามทีไดรับ
                  ้                      ั ิ             ่
การอบรมสังสอน จากพระอาจารยวีระนนท วีระนันโท เจาอาวาส
             ่
วัดปาเจริญราช คลอง ๑๑ ปทุมธานี ดวยการเดินและนั่งสลับ
กันตามเวลาและโอกาสจะอำนวย แตพยายามรักษาสมดุลของ
การนั่งและการเดิน ถานั่งจะนั่งขัดเพชรสูงสุดได ๑ ชั่วโมง มอง
เห็นพองยุบชัดเจน ถาเผลอก็จะสามารถเรียกสติกลับมาไดเร็วขึน   ้
เวลาเดินสติก็จะอยูทีเทามองเห็นการยก การยาง การเหยียบ ถา
                      ่
เผลอก็จะเรียกสติกลับมาไดเชนกัน แตมีปญหาวาบางครังรูสกได
                                                       ้ ึ
วาจิตเกิดดับๆๆ เร็วและมากมาย ตลอดเวลา จึงอยากจะทราบ
วามีวิธตรวจสอบไดอยางไรวาสิงทีเรารูเกิดจากปญญา หรือเกิด
        ี                        ่ ่ 
จากความรูที่ไดยินไดฟงครูบาอาจารยสอนมากันแน
                            ขอกราบขอบพระคุณในความเมตตา
26 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๒๖


คำตอบ
        ผูใดปฏิบตสมถภาวนา แลวจิตตังมันเปนสมาธิจวนแนว
               ั ิ                    ้ ่
แน (อุปจารสมาธิ) แลวนำจิตไปพัฒนา (วิปสสนาภาวนา) จน
เกิดปญญาเห็นแจงไดแลว ยอมรูเห็นเขาคำสอนของผูอื่นไดวา
ถูกหรือผิดไปจากธรรมวินัยในพุทธศาสนา .... สัจธรรมพิสูจนได
ตามแนวนี้


๑๐. เห็นดวยไหม

คำถาม
         กราบเรียนทานอาจารยสนอง วรอุไร
         ผม ขอก ราบ เรียนขออภัย ทาน อาจารย กอนที่จะ ถาม
คำถามนี้ เพราะผมไมเคยเห็นมีใครจะสนใจถามคำถามนี้ในที่อื่น
ใดเลย ผมเกรงวาผมจะเปนเหมือนคนโงหรือคนที่มาลองภูมิ
ทานอาจารย แตหามิไดผมไมเคยคิดจะลบหลูทานอาจารยแต
ประการใดเลย หากเปนคำถามทีไรสาระทานอาจารยงดทีจะไม
                               ่                      ่
ตอบก็ไดนะครับ ผมไดยนชือเสียงทานอาจารยมากอนแตเพืงจะ
                       ิ ่                              ่
ไปฟงการบรรยายธรรมของทาน เมื่อเสารที่ ๑๘ กันยายน นี้ ที่
โรงปูนซิเมนทไทย บางซื่อ
         ผมก็นึกอยากจะถามคำถามนี้กับอาจารย ณ ที่ประชุม
นั้น แตผมไมกลา ผมจึงแอบเก็บมาถามในวันนี้ คำถามของผม
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๗
                                                            27


มีอยูวา อันวาดวงวิญญาณทีอยูในกายมนุษยและสรรพสัตวทัง
                           ่                           ้
หลายนี้ เกิดมาแตไหน และเกิดมาไดอยางไร ? และผมเคยไดยน
                                                       ิ
หรืออานพบมาวา มนุษยทุกคนในทีสดก็จะไดเขานิพพานหมดทุก
                                 ุ่
คน อาจารยพอจะเห็นดวยไหมครับ ผมขอขอบพระคุณเปนอยาง
สูง มา ณ ที่นี้ดวย ขอใหทานอาจารยจงมีสุขภาพรางกายแข็ง
แรงและอายุยืนยาวที่ชวยเหลือตนเอง ไดตลอดไปนะครับ
                                ขอแสดงความเคารพอยางสูง

คำตอบ
          สิ่งที่ไมควรคิด (อจินไตย) ที่พระพุทธโคดมไมทรงตอบ
สี่อยาง ไดแก
          ๑. วิสัยของพระพุทธเจาทั้งหลาย (พุทธวิสัย)
          ๒. วิสัยแหงฌาน (ฌานวิสัย)
          ๓. วิบากของกรรม (กรรมวิบาก)
          ๔. ความคิดเรื่องโลก (โลกจินตา)
          ดังนันสิงทีถามไป คือ ดวงวิญญาณของมนุษยและสัตว
                 ้ ่ ่
เกิดมาแตไหน เปนอจินไตย ขออภัยไมตอบ
          ที่ถามไปวา เกิดไดอยางไร
          ตอบวา : เกิดไดเพราะแรงผลักของกรรมที่ทำสั่งสมไว
ในดวงจิตเปนตนเหตุ อาทิ
       ความหลง เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตว
เดรัจฉาน
28 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๒๘


          ความโลภ เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน
สัตวเปรต สัตวอสุรกาย
          ความโกรธ เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน
สัตวนรก
          ศีล ๕ เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตว
มนุษย
          ทานและศีล หรือ กุศลกรรมบท ๑๐ เปนเหตุผลักดัน
จิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตวเทวดาในสวรรค
          ฌาน เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตว
พรหม อยูในพรหมโลก
          อานหนังสือแลวพบวา “มนุษยทุกคน ในที่สุดจะไดเขา
นิพพานทุกคน” เปนความเห็นของผูเขียนหนังสือ แตผูทรงความ
                                                      
สัพพัญูรูวา มนุษยเปรียบไดกับบัว ๔ เหลา บัวเหลาที่ ๑-๓
เทานันทีสามารถพัฒนาจิตจนเขาถึงพระนิพพานได ผูตอบปญหา
      ้ ่                                            
มิไดปลงใจเชื่อตามหลักกาลามสูตร แตไดไปพัฒนาจิตตามแนว
             สติปฏฐาน ๔ จึงรูวา มนุษยทุกคนไมสามารถเขา
                  นิพพานได เวนไวแตบัวเหลาที่ ๑-๓ เทานั้น ที่
                    พัฒนาจิตแลวสามารถเขาสูพระนิพพานได
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๙
                                                              29


๑๑. อยากชวยคนอื่น

คำถาม
         กราบสวัสดีคุณพอสนองที่เคารพ
         ดวยความเคารพเลื่อมใสในตัวของคุณพอ ในคำสอน
ของคุณพอลูกจึงขอเรียกแทนตัวเองวาลูกนะครับ คุณพอครับ
ตอนนีลูกอายุ ๒๓ ปมีหนาทีการงานดี ชีวตทีผานมาของลูก เต็ม
      ้                     ่              ิ ่
ไปดวยบาป ลูกไมมีหิริโอตตัปปะ เพราะลูกสงสัยในโลกหลังค
วามตาย กลาวคือลูกไมแนใจวามีจริงหรือไม ลูกจึงนึกถึงแต
ความสุขที่อยูตรงหนาเทานั้น (แตก็ไมไดเปนคนเลวเสียทีเดียว)
         แตตอนนี้ จากคำสอนของคุณพอ ทำใหลูกเชื่อวาโลก
หลังความตายมีจริง และ ลูกกำลังจะหาทางพิสูจนใหเห็นจริง
ดวยตัวของลูกเอง ผานคำสอนของคุณพอ และการบรรยาย
ของคุณพอ
         คุณพอครับ ลูกทำผิดศีลขอ กาเมฯ กับหญิงคนหนึ่ง
เธอมีสามี และ ลูกแลว เพราะสามีของเธอทำเหมือนไมไดรัก
เธอแลว คือเขาไปมีหญิงอื่น ลูกไมเคยกลัวบาป เพราะคิดวาได
ทำใหเธอมีความสุข จนกระทั่งตอนนี้เธอเสียชีวิตแลว ลูกจึงได
เขาใจหัวใจของตนเองวา แทที่จริงแลว ลูกรักเธอเพียงใด การ
สูญเสียครั้งนี้ ทำใหลูกกลัวกับการที่จะตองมีความรัก และ สูญ
เสียคนที่รักไปอีก ลูกไมอยากเสียใจอีกแลว ลูกอยากชวยเธอผู
ลวงลับใหพนทุกข จะเปนไปไดหรือไมครับ
30 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๓๐


          ทุกวันนี้ จากทีไมเคยสวดมนตกอนนอน ลูกทำทุกวัน จาก
                         ่
ที่ไมเคยทำบุญ ลูกทำเมื่อมีโอกาสเสมอ เพราะเปนหวงเธอ คุณ
แมของเธอก็แนะนำใหลูกหาการบรรยายของคุณพอมาฟงจนลูก
พบกับ www.kanlayanatam.com ที่แหงนี้ไขขอของใจใหลูกได
มากมาย แตลูกอยากถามในกรณีสวนตัวของลูกดวยครับ
          ๑. กรรมของเธอที่ลูกเปนผูรวมกอ ลูกขอรับไวเอง
ทั้งหมดไดหรือไม ถาไดตองทำอยางไรครับ
          ๒. เรื่องปดอบายภูมิ ถาหากลูกมีบุญพอที่จะทำได ลูก
จะชวยใหเธอ บิดา มารดาของลูก และคนอื่นๆ ปดอบายภูมิได
หรือไม อยางไรครับ (ทั้งที่ไดลวงลับไปแลว และ ยังมีชีวิตอยู)
          ลูกพอมีคำตอบในใจบางแลว แตอยากกราบขอคุณพอ
ชวยไขขอของใจเพือใหลูกสินสงสัยดวยครับ ยิงลูกศึกษาจากคำ
                      ่         ้             ่
สอนผานการสนทนาธรรมของคุณพอเทาไหร ลูกยิ่งเห็นวาสิ่ง
ที่ลูกพึงกระทำคือ ปลอยวาง และเขาใจวาสัตวโลกเปนไปตาม
กรรม ลูกจึงมาคิดตอวา นีคงไมใชเรืองบังเอิญทีชีวตของลูก ได
                              ่       ่           ่ ิ
เขามาพยายามศึกษาธรรมะ ทั้งที่ ตลอดชีวิตที่ผานมา ไมมีเคย
มีความคิดเหลานี้เลย
          สุดทายนี้ ขอคุณพอ และ ทีมงานกัลยาณธรรม จงมีแต
ความสุขความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อจะไดชวยใหผูที่หลง
ทางไดพบกับสิ่งที่ เปนความสุข ความสงบอยางแทจริง
                                                ดวยความเคารพ
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๓๑
                                                                 31


คำตอบ
           ผูใดปฏิบัติสมถภาวนา จนจิตเขาถึงความทรงฌานได
แลว เมือถอนจิตออกจากความทรงฌาน ปุพเพนิวาสานุสติญาณ
         ่
ยอมรู เห็น เขาใจวาชีวตดำเนินเวียนตาย-เวียนเกิด มานับภพชาติ
                           ิ
ไมรูจบ
           ผูที่อยูหลัง ประพฤติตนใหมีบุญ แลวอุทิศบุญใหผูลวง
ลับ หากเขามาอนุโมทนาบุญได เขายอมไดรับบุญนั้น
           (๑). เปนกรรมที่สองคนตองรับผลของกรรมรวมกัน
           ( ๒ ) . ไมมี ใคร ชวย ใคร ได เขา ตอง ชวย ตัว เอง ดัง ที่
พระพุทธ โค ดม ได ทำให ดู เปนตัวอยาง พระ พุทธะ ไม สามารถ
ชวยพระเทวฑัต (พี่ภรรยา) ไมสามารถชวยพระเจาสุปปพุทธะ
(พอตา) ใหพนจากนรกได จึงปลอยวางเปนอุเบกขา


๑๒. เพศที่สาม

คำถาม
           กราบสวัสดีทานอาจารยสนอง วรอุไรนะครับ
           วันนี้ผมมีคำถามจะมาถามทานอาจารยครับ ผมยังคาง
คาใจเรื่องเพศที่สามครับ จึงอยากถามคำถามดังนี้ครับ
           ๑. ที่อาจารยบอกวา ไมสามารถบรรลุโลกุตรธรรมได
แตการทีตองไดเกิดมาเปนเพศทีสาม ก็เพราะทุศลขอทีสาม แลว
         ่                      ่           ี     ่
32 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๓๒


ถากรณีเชนนี้ บุคคลที่เคยทุศีลขออื่นๆ ก็ตองไมสามารถบรรลุ
โลกุตรธรรมไดเชนกันสิครับ
         ๒. ทีอาจารยบอกวา สามารถบรรลุไดแตโลกิยธรรมนัน
              ่                                                      ้
หมายถึง ยังสามารถเขาฌานได ยังสามารถมีคุณวิเศษหาอยาง
ได รวมไปถึงไปเกิดสูงสุดในพรหมได ใชไหมครับ
         ๓. แลวการที่คนเพศที่สาม อยางเกย กระเทย จะไป
ปฏิบตธรรมดวยการบวชเปนพระ จะสมควรไหมครับ หรือทำได
     ั ิ
มากแคบวชพราหมณ นุงขาวหมขาว
         ๔ . เรา ไมมี วิธี อื่นๆ ที่ จะ แกไข ขอ ที่ ไม สามารถ บรรลุ
โลกุตรธรรมไดจริงเหรอครับ หากบุคคลเพศที่สามไมปรารถนา
จะมารับทุกขอีก อยางการเกิดมาเปนมนุษยอีกแลว กรณีศึกษา
ในสมัยพุทธกาลยังจะพอมีไหมครับ
         ๕. แลวกรณีที่เพศที่สาม ที่เขารับการบำบัดรักษาทาง
จิตวิทยาใหหายแลว สามารถกลับมาบรรลุโลกุตรธรรมไดไหม
ครับ
         รบกวนอาจารยดวยนะครับ ตอนนีรูสกทุกขใจมาก ไมรู
                                                  ้ึ
จะทำเชนไรดี
                                                ขอบคุณลวงหนาครับ

คำตอบ
         (๑). ผูใดประพฤติทุศีล และชดใชหนี้เวรกรรมจนหมด
แลวเมือใด ผูนันจึงจะสามารถพัฒนาจิตจนเขาถึงโลกุตตรธรรม
       ่      ้
ได
ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๓๓
                                                            33


          (๒). บรรลุโลกิยธรรมเบื้องตนได แตไมสามารถพัฒนา
จิตใหเขาถึงความทรงฌานได
          (๓). ถาถือเครงครัดตามวินยทีพระพุทธโคดมบัญญัตไว
                                     ั ่                 ิ
กระเทยไมสามารถบวชเปนภิกษุได
          (๔). สิริมาและอัมพปาลี หยุดประกอบอาชีพโสเภณี
อยางเด็ดขาด แลวหันมาประพฤติทาน ศีล ภาวนา ยังสามารถ
พัฒนาจิตใหเขาถึงความเปนอริยบุคคลได
          (๕). ผูที่บำบัดอาการวิปริตทางจิตจนหายเด็ดขาดแลว
สามารถพัฒนาจิตใหเขาถึงอริยธรรมได


๑๓. หักคอปลา

คำถาม
         กราบเรียนทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร
         ผมเพิ่งเริ่มสนใจปฏิบัติธรรม เชน สวดมนต นั่งสมาธิ
เดินจงกรม ฟงธรรมจาก ผูรูธรรม จากพระสงฆ แตสวนใหญ
จะฟงจาก ซีดี เพราะฟงขณะขับรถ ผมมีความเชือวา บุญ บาป
                                              ่
มีจริง เวร กรรมมีจริง ผมไดตั้งปณิธานไวกับตัวเองและเพื่อน
รวมงาน วา ผมจะนำ ศีล หา มาปฏิบัติในชีวิตประจำวันใหครบ
จากการฟงธรรม ทราบวาถารักษาศีล หา ไมบกพรอง ไปจนถึง
วาระสุดทายของชีวิต มีโอกาสจะไดกลับมาเกิดเปนมนุษย
34 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m
๓๔


          อาจารยฯครับถึงแมความทุกขจะมีมากเหลือเกินในโลก
มนุษย แตผมก็อยากเกิดมาเปนมนุษย และตองการบวชเรียน
ตั้งแตเปนเณร ศึกษาพระธรรม ตามหลักพระพุทธศาสนา เพื่อ
ถายทอดใหกับเพือนมนุษย อาจารยฯครับชาติหนาผมก็ไมแนใจ
                 ่
วาจะไดเกิดมาเปนมนุษยอีก ผมก็เลยตองรีบทำบุญ ทำทาน
ถือศีล ภาวนา เพราะผมเคยทำให แม และ พอ เสียใจ เมื่อครั้ง
ที่ผมเปนวัยรุน แมผมรองไหเสียใจเพราะผมแสดงพฤติกรรม
กาวราว เชน โยนถวยจานขาวทิ้งตอหนาแม โยนวิทยุทิ้งตอหนา
แม ตั้งแตผมเรียนจบปริญญาตรีจนถึงปจจุบน ผมปฏิบัติตัวเปน
                                              ั
ลูกที่ดีมีความกตัญู มาตลอด ผมมีความรูสึกไดวา แมและ
พอ มีความภูมิใจในตัวผมพอสมควร ที่ไมเกเร มีหนาที่การงาน
ที่มั่นคง แตพอผมเสียชีวิตแลวตั้งแตวันที่ ๒๕ พ.ย ๔๙
          ขออภัยนะครับอาจารยฯทีเลายาวไปหนอย ผมมีคำถาม
                                    ่
ดังนี้ครับ
          ๑ . อายุ ประมาณชั้น ประ ถมฯ ผม เคย เห็น วิญญาณ
และเห็นพรอมกับนองสาว เวลากลางคืน ลักษณะคือไมมีเทา
เคลื่อนไหวลักษณะลอย ไมไดเดินเหมือนมนุษยเรา รูปรางการ
แตงกายเห็นชัดเจน เวลานั้น ผมและนอง ตะโกนเรียกพอวา
มีคนเขามาในหอง ผมและนองเลาลักษณะการแตงกาย คนที่
เราเห็นใหพอฟง พอก็นิ่งไปชั่วขณะ แลวก็บอก ผมกับนอง วา
เปนการแตงกายของยา (แมของพอ) แลวพอก็มองขึ้นไปที่ขื่อ
บาน บนขื่อมีกระดูกของยาที่พอไปนำมาจากวัดเก็บไว เพื่อรอ
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19

More Related Content

What's hot

จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔Tongsamut vorasan
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11
ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11
ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11Panda Jing
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
คิหิปฎิบัติ
คิหิปฎิบัติคิหิปฎิบัติ
คิหิปฎิบัติWataustin Austin
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsNanthawat Tabngern
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
สุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามล
สุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามลสุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามล
สุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามลDental Faculty,Phayao University.
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันPanda Jing
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAsean
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAseanการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAsean
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAseanTat Rujinarong
 
เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย
 เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย
เล่มที่ 1 พระรัตนตรัยDecha Sirigulwiriya
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2tonsocial
 
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docthnaporn999
 

What's hot (20)

จตุกกะ คือ หมวด ๔
จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔จตุกกะ  คือ  หมวด  ๔
จตุกกะ คือ หมวด ๔
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11
ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11
ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ Mini เล่มที่ 11
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
 
คิหิปฎิบัติ
คิหิปฎิบัติคิหิปฎิบัติ
คิหิปฎิบัติ
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
สุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามล
สุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามลสุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามล
สุนทรียปรัศนีตามแนวทางแห่งอริยมรรค-อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAsean
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAseanการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAsean
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศAsean
 
เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย
 เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย
เล่มที่ 1 พระรัตนตรัย
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
ใบงาน.2
ใบงาน.2ใบงาน.2
ใบงาน.2
 
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 

Viewers also liked

เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์Tongsamut vorasan
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2Tongsamut vorasan
 
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์Tongsamut vorasan
 
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์Tongsamut vorasan
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติTongsamut vorasan
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร อธิษฐานบารมี
สนอง วรอุไร   อธิษฐานบารมีสนอง วรอุไร   อธิษฐานบารมี
สนอง วรอุไร อธิษฐานบารมีTongsamut vorasan
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
จุลสารสงฆ์ไทย July 2008
จุลสารสงฆ์ไทย July 2008จุลสารสงฆ์ไทย July 2008
จุลสารสงฆ์ไทย July 2008Tongsamut vorasan
 

Viewers also liked (18)

เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์เนื้อความของทุกข์
เนื้อความของทุกข์
 
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
 
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
 
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
วิสุทธิมรรคฉบับสมบรูณ์
 
20120804
2012080420120804
20120804
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
ภาค6
ภาค6ภาค6
ภาค6
 
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
สนอง วรอุไร อธิษฐานบารมี
สนอง วรอุไร   อธิษฐานบารมีสนอง วรอุไร   อธิษฐานบารมี
สนอง วรอุไร อธิษฐานบารมี
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
จุลสารสงฆ์ไทย July 2008
จุลสารสงฆ์ไทย July 2008จุลสารสงฆ์ไทย July 2008
จุลสารสงฆ์ไทย July 2008
 

Similar to สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19

คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรNhui Srr
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดานTongsamut vorasan
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นtassanee chaicharoen
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานtonsocial
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453khumtan
 

Similar to สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19 (20)

Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นใบกิจกรรมที่  1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
ใบกิจกรรมที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19

  • 1.
  • 2. สนทนาภาษาธรรม เลม ๑๙ จากเว็บไซตกัลยาณธรรม ตอบปญหาโดย ทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร
  • 3. ชมรมกัลยาณธรรม หนังสือดีอันดับที่ ๑๔๗ สนทนาภาษาธรรมเลม ๑๙ : จาก website kanlayanatam.com ตอบคำถามโดย : ทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร จัดพิมพถวายเปนพุทธบูชาโดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากน้ำ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ โทร. ๐๒-๗๐๒๙๖๒๔ หรือ ชมรมกัลยาณธรรม ๘๙/๖-๗ ซอยศึกษาวิทยา ถ.สาธรเหนือ สีลม บางรัก กทม. โทร. ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘ ภาพปก : ภาพประกอบ : ดญ.กมลมาศ สมุทรรัตนกุล คติธรรมประจำฉบับ : กิจปฏิบัติของพระโพธิสัตว รูปเลม-จัดพิมพ : กอนเมฆแอนดกนยกรป โทร. ๐๘๙ ๗๘๕-๓๖๕๐   ั  ุ พิมพครั้งที่ ๑ : พฤษภาคม ๒๕๕๔ จำนวน ๖,๕๐๐ เลม สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ การใหธรรมะเปนทาน ยอมชนะการใหทั้งปวง www.kanlayanatam.com
  • 4. ชมรมกัลยาณธรรม ขอนอมถวายเปนพุทธบูชา และ กราบบูชาอาจริยคุณ แด ทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร
  • 5. คำนำในการจัดพิมพถวายเปนพุทธบูชา ชมรมกัลยาณธรรม ไดดำเนินกิจกรรมเผยแผธรรมและใหธรรมทาน แกสาธุชนตอเนื่องเกือบทศวรรษ นอกจากการไดรับศรัทธาหนุนเนื่องจาก มหาชนแลว ปจจัยสำคัญอีกประการหนึงคือ พวกเรามีครูผูประเสริฐทีเปยม ่  ่  ดวยเมตตาและความเสียสละ คือทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร เปนเหมือน รมไมใหญที่มีธรรมหยั่งรากลึก เปนศูนยรวมแหงศรัทธาและพลังใจในการ สืบสานความดีงาม รักใครสามัคคีในหมูพี่นองกัลยาณธรรม และเปนที่มา แหงประโยชนแกพหูชน เพื่อพระศาสนาอยางไมมีที่สิ้นสุด คอลัมนสนทนาภาษาธรรม ยืนหยัดมาอยางยาวนาน เคียงคูกับเว็บ  ไซตกัลยาณธรรมที่ไมเคยเงียบเหงา ทานอาจารย ดร.สนอง มีเมตตาตอบ ปญหาและขอของใจของผูใฝธรรม ชวยดับทุกขและหาทางแกทางออกแกผู  มีปญหาทีถามมาไดอยางกระจางชัดถูกตรงตามธรรม และดวยเมตตา ทาน ่ อาจารยทำงานอยางตรากตรำตอเนือง บางคราวตืนขึนมาตอบคำถามตอน ่ ่ ้ ตีหนึ่งถึงตีสองจนรุงเชา หวังใหทุกทานที่ถามมา รวมทั้งผูอานไดคลายทุกข และมีแสงธรรมนำทางแหงชีวิต ชมรมกัลยาณธรรม ขอนอมบูชาพระคุณทานอาจารยผูเปรียบ ประดุจบิดาของเราทุกคน บุญกุศลใดอันเกิดจากพลังแหงความดี ที่ชมรม กัลยาณธรรมมีสวนเกื้อกูลใหเกิด และทำใหเจริญงอกงามขึ้น ขอบุญกุศล นั้นจงเปนพลังอันยิ่งใหญ มาคุมครองอภิบาลทานอาจารยผูเปนแบบอยาง ใหถึงยังฝงแหงความพนทุกขตามที่ทานปรารถนาทุกประการ และหวังวา ทานผูอานจะไดรับประโยชนจากสนทนาปญหาธรรมเลมที่ ๑๙ ตามสมควร ทพญ.อัจฉรา กลิ่นสุวรรณ ประธานชมรมกัลยาณธรรม
  • 6. อนุโมทนากถา หนังสือสนทนาภาษาธรรม เปนการตอบปญหา โดยใช ปญญาเห็นถูกตามธรรมเสนอวิธีแกปญหา ผูใดเขาถึงความจริง เชนนีได หรือปฏิบตตามคำชีแนะ ดวยการคนเหตุทีถูกตองไดแลว ้ ั ิ ้ ่ ปญหายอมหมดไปอยางถาวร ผู ตอบ ปญหา ขอบคุณทุก ทาน ที่ รวม แรง กาย แรง ใจ ตลอดจนแรงทรัพย ทำใหหนังสือสนทนาภาษาธรรมสำเร็จเปน รูปเลม และเผยแพรใหมวลชนไดรู พรอมทั้งอางเอาอานิสงส แหงการใหปญญาเปนทานในครั้งนี้ จงเปนพลวปจจัยสงผลให ชีวิตของทุกทานดำเนินไปสะดวก ราบรื่น และมีความสุข ทั้งใน ชาติปจจุบันและชาติหนาถัดๆไป เทอญ. ดร.สนอง วรอุไร
  • 7. ๖ : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m หนา ๑. ชางวาดรูป ................................................................................................... ๑๐ ๒. โอกาสเปนคนดี ......................................................................................... ๑๓ ๓. เปนเรืองของเขา ........................................................................................ ๑๕ ่ ๔. อยูที่บานก็ทำได ........................................................................................ ๑๖ ๕. ลูกออด ......................................................................................................... ๑๗ ๖. สัตวโลกเปนไปตามกรรม ........................................................................... ๑๘ ๗. กลัวสัมภเวสี ................................................................................................. ๒๑ ๘. ผีคออะไร ..................................................................................................... ๒๓ ื ๙. รูดวยปญญาเห็นแจง .............................................................................. ๒๕   ๑๐. เห็นดวยไหม ................................................................................................ ๒๖ ๑๑. อยากชวยคนอืน ......................................................................................... ๒๙ ่ ๑๒. เพศทีสาม .................................................................................................... ๓๑ ่ ๑๓. หักคอปลา .................................................................................................. ๓๓ ๑๔. คนตกงาน ..................................................................................................... ๓๗ ๑๕. รถแกสปะทะรถน้ำมัน ................................................................................ ๓๙ ๑๖. เรืองพระราหู ............................................................................................... ๔๒ ่ ๑๗. เขาสมาธิระดับ ๓ ไดหรือไม ................................................................. ๔๕ ๑๘. รับขัน .............................................................................................................. ๔๕ ๑๙. คนจิตฟุง ........................................................................................................... ๔๗  ๒๐. ใครวาไมดี .................................................................................................... ๔๘ ๒๑. มาตรวัดการปฏิบตธรรม ............................................................................ ๔๙ ั ิ ๒๒. ขอภริยาไปบวช ........................................................................................ ๕๒ ๒๓. ตัณหาขวางกัน ................................................................................................ ๕๓ ้ ๒๔. กรรมตัดรอน ............................................................................................ ๕๕ ๒๕. กลับคืนสูธรรมชาติ ................................................................................... ๕๗  ๒๖. แทะกระดูกขาตัวเอง ................................................................................. ๕๘ ๒๗. วินยของพระ .................................................................................................... ๖๐ ั ๒๘. สงสารคุณแม .............................................................................................. ๖๓ ๒๙. ไปวัดกับแม ..................................................................................................... ๖๖
  • 8. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๗ ๓๐. รูแตไมมี ...................................................................................................... ๖๙ ๓๑. อำนาจของกรรม ..................................................................................... ๗๒ ๓๒. บัวกำลังจะแยมบานกลีบ ........................................................................... ๗๔ ๓๓. ตามรอยธรรม ................................................................................................ ๗๙ ๓๔. ประพฤติไมถกตรง ....................................................................................... ๘๑ ู ๓๕. ศีลคุมใจ ............................................................................................................. ๘๒ ๓๖. คนชางสงสัย .................................................................................................... ๘๔ ๓๗. กะจะเขาไปแอบหลับ ................................................................................ ๘๙ ๓๘. สังฆทานทางไกล ......................................................................................... ๙๑ ๓๙. ยิมไดเร็ว ......................................................................................................... ๙๒ ้ ๔๐. เปนการพนันหรือไม ...................................................................................... ๙๔ ๔๑. ไมสามารถกำจัดมาร .................................................................................... ๙๖ ๔๒. กึงนังกึงนอน ................................................................................................ ๙๗ ่ ่ ่ ๔๓. ลำบากมาก .................................................................................................. ๙๘ ๔๔. ทุกขเพราะเห็นผิด ..................................................................................... ๑๐๐ ๔๕. ปฏิบตธรรมใหถกทาง .............................................................................. ๑๐๒ ั ิ ู ๔๖. ผูไมหวังเกิดอีก .......................................................................................... ๑๐๓  ๔๗. สิวบนใบหนา ............................................................................................... ๑๐๖ ๔๘. ชอบคิดในสิงไมดี ........................................................................................ ๑๐๘ ่ ๔๙. สีลพพตปรามาส ........................................................................................ ๑๐๙ ั ๕๐. แมแทกับแมบุญธรรม ......................................................................... ๑๑๑ ๕๑. ณ ปาวาลเจดีย .............................................................................................. ๑๑๔ ๕๒. อินทรียยงออน ............................................................................................. ๑๑๘  ั ๕๓. ควรแกไขอยางไร ................................................................................... ๑๒๐ ๕๔. ทำวิจยอยูที่ USA ....................................................................................... ๑๒๑ ั  ๕๕. ทำงานในคาสิโน ...................................................................................... ๑๒๒ ๕๖. วิบตเพราะทำอาชีพเสียง ........................................................................ ๑๒๗ ั ิ ่ ๕๗. ยังเห็นผิด ..................................................................................................... ๑๓๓ ๕๘. สงบบางฟงบาง ..................................................................................... ๑๓๕ ุ ๕๙. รูสกพะวักพะวน .......................................................................................... ๑๓๗  ึ ๖๐. นอนสูงกวาแม .............................................................................................. ๑๔๐
  • 9. ๘ : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๖๑. โงเอง .......................................................................................................... ๑๔๒ ๖๒. ควรเลิกกับเธอไหม ..................................................................................... ๑๔๔ ๖๓. เขาเปนคนขีเมา ........................................................................................... ๑๔๖ ้ ๖๔. ควรฝกวันละกีชวโมง ................................................................................ ๑๔๗ ่ ั่ ๖๕. ทำอยางไรไดอยางนัน ............................................................................... ๑๔๘ ้ ๖๖. ไมอยากทำแลวคะ ...................................................................................... ๑๔๙ ๖๗. ตามแบบหลวงพอ ....................................................................................... ๑๕๐ ๖๘. ตองปฏิบตอยางไร ................................................................................... ๑๕๒ ั ิ ๖๙. หนูตองการชวยคุณแม ............................................................................. ๑๕๕  ๗๐. หากเปนเรืองจริง ........................................................................................ ๑๕๗ ่ ๗๑. ไดบญหรือไดบาป ..................................................................................... ๑๖๑ ุ ๗๒. ทำงานอยูทลำพูน ....................................................................................... ๑๖๒  ี่ ๗๓. ขออนุญาตรบกวน ................................................................................... ๑๖๔ ๗๔. ผูสำนึกผิด ...................................................................................................... ๑๖๗  ๗๕. งงไปงงมา ...................................................................................................... ๑๖๙ ๗๖. ตกใจปนงง ๆ ............................................................................................. ๑๗๑ ๗๗. อยากใหเปลียนชือ ...................................................................................... ๑๗๔ ่ ่ ๗๘. คำถามทีคาใจมานาน ................................................................................. ๑๗๖ ่ ๗๙. อยากใหแมสบายใจ ................................................................................... ๑๗๗ ๘๐. ตองการลาพุทธภูมิ ................................................................................... ๑๘๐ ๘๑. อธิษฐานและขอพร .................................................................................... ๑๘๒ ๘๒. เพือเตรียมตัวตาย .................................................................................... ๑๘๔ ่ ๘๓. เหมือนกับมีสองคน .................................................................................... ๑๘๖ ๘๔. ฆราวาสสอนสงฆไดไหม ....................................................................... ๑๘๘ ๘๕. ดูใหถกตรง .................................................................................................... ๑๙๐ ู ๘๖. กลัวกรรมใหผล ............................................................................................ ๑๙๔ ๘๗. ทำไดหรือไม .................................................................................................. ๑๙๗ ๘๘. เห็นตางจากสามีคะ .................................................................................... ๑๙๘  ๘๙. ทำเหตุใหตรง ............................................................................................... ๒๐๒ ๙๐. กรรมสนองกรรม ....................................................................................... ๒๐๔
  • 10. เสียงกระซิบสูดวงใจเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๒ พระอานันท พุทธธัมโม ณ โฮงหลวงวัดบานปาง ต.ศรีวิชัย อ.ลี้ จ.ลำพูน ความผิดคือดาบอันคมกลา ความถูกก็คือดาบอันคมกลา สุดแตใครจะใชใหเกิดประโยชน ตัวเจาคือกระจกเงาของเจา คนอื่นก็เปนกระจกเงาของเจาดวย คนดีจะไมหลงยกยอตนเอง และจะไมตั้งตัวเปนเอก คนชั่วเปนอุทาหรณที่มีคณคายิ่ง คนดีก็เปนเยี่ยงอยางอันล้ำเลิศ ุ วาจาที่ออกมาจากใจคนดี มิใชถอยคำหวานลอมเพื่อประโยชนตน เมื่อใจเปนนาย กายเปนบาว เจาจะเปนผูขับขี่ไปบนสรรพชีวิต พุทโธ ธัมโม สังโฆ เปนที่พ่งอันประเสริฐของเจา ึ เห็นกายมิใชกาย นั่นคือ พุทธมณฑล เห็นจิตมิใชจิต นั่นคือองคพระพุทธเจา เห็นสรรพชีวิตไรตัวตน นั่นคือเห็นเหลาอริยะสาวก ขอใหดวงใจของเจาจงเปนน้ำอมตะรสหลอเลี้ยงสัตวโลก ขอใหดวงตาของเจาจงเปนแสงสวางสองทางใหชีวิตทั้งมวล ขอใหหูของเจาจงสดับสรรพสิ่งเปนธรรมสาร ขอใหปากของเจาจงเปลงวาจาอันเปนมิตรภาพและสันติภาพ ขอใหเทาของเจาจงกาวไปสูทางแหงความสรางสรรค ขอใหมือของเจาจงเชื่อมสัมพันธไมตรีผูกมิตรกับทุกผูอยารูคลาย ขอใหสายโลหิตของเจาเปนทิพยโอสถรักษาโรคาพยาธิของทุกรูปนาม ขอใหชวิตรางกายของเจาเปนตนโพธิ์แกวที่อาศัยพักรอนของสัตวโลกทั้งผอง ี
  • 11. 10 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๑๐ ๑. ชางวาดรูป คำถาม กราบเรียนทานอาจารยสนอง วรอุไรที่เคารพ ๑. ผมไมแนใจวาสิ่งที่ทำไปเปนบาปหรือเปลา... ดวย ความที่บานภรรยาผม ที่ผมอยูนั้นมีเนื้อที่ในบานคอนขางจำกัด.. คือมีชั้นเดียว แลวผมก็ไดนำโตะหมูบูชา และพระพุทธรูป พระ เครื่อง(สมเด็จพระญาณสังวร หลวงปูเณรคำ ฉัตติโก ฯลฯ) ไป ไวในหองนอนดวยเพือความสะดวกในการสวดมนตนังสมาธิ มัน ่ ่ จะเปนบาปไหมที่ผมทำแบบนี้... เพราะหองนอนตองมีกิจของ ฆราวาส... แตเรื่องการวางเทาผมจะไมชี้ไปทางพระพุทธรูปเด็ด ขาด ผมพยายามคิดในทางทีดีวาผมมีความจำเปน ผมไมมเจตนา ่ ี คิดและทำแบบนี้ ผมมีความศรัทธาดวยซ้ำ ถาผมจำไมผิด หลวง พอจรัญเคยบอกไวในหนังสือไววา ใครมีโตะหมูบูชาไวในหองนอน  เทวดาจะไมสถิตพระพุทธรูป... ผมไมติดใจวาจะมีอะไรมาสถิต หรือไม แตที่ผมทำมันเปนบาปไหมครับ ๒. ทุกเดือน ผมจะสงเงินเลี้ยงดูพอแมตามกำลัง (ผม ทำงานรับราชการเงินเดือนเพิงเริมตนไดไมนาน) ไมเคยขาดการ ่ ่ สงตั้งแตรับราชการมาเกือบสามปแลว ตั้งแตเด็กจนทำงานไม เคยทำตัวใหพอแมเสียใจในเรื่องไมดี.. แตผมไมคอยไดมีโอกาส ปรนนิบัติอยูใกลๆเพราะทำงานที่กรุงเทพ อยูกรุงเทพตั้งแตมา เรียนจนทำงานเกือบ ๑๓ ปแลว ยังดีที่มีพี่สาวดูแลอยู อยาก ถามอาจารยวา การดูแลพอแมแคสงเงินใหแตละเดือนมันเพียง
  • 12. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๑ 11 พอหรือไมกับการเลี้ยงดูบิดา มารดา มันดูนอยไปไหม ขาดตรง ไหน ควรเพิ่มตรงไหนครับ ๓. ขณะที่ภรรยาตั้งครรภ ถาไดฟงธรรมะเพื่อเผื่อแผ ถึงลูก ลูกจะไดสิงดีๆติดตัวมาตอนคลอดไหมครับ (ถาไมรวมกับ ่ กรรมเกาที่ติดตัวมา) ๔. ผมเปนชางวาดรูป เคยวาดรูปพระบฏ(ผืนผายาวๆ วาดรูปเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจา) บางครั้งมีความจำเปน ตองนั่งทับพระพักตรพระพุทธเจา เพื่อจะวาดไดถนัด แบบนี้ ถือวาเปนบาปไหมครับ (แตกอนวาดก็กราบขอขมากอน) ๕. กอนผมและเพื่อนอีกคนจะสอบเขารับราชการได ไดรวมกันวาดรูปพระเจาสิบชาติจำนวน ๑๒๐ รูป เพื่อแสดง นิทรรศการในงานวันอาสาฬหบูชาที่ทองสนามหลวง ในตอน กลางคืนของวันสุดทายที่กำลังจะวาดสำเร็จ ไดมีกลิ่นโชยเขา มาในหอง ผมกับเพื่อนถึงกับมองหนากัน กลิ่นที่ไดรับนั้นเหมือน กลิ่นน้ำหอมโบราณ หอมมากครับ(หอมอยูนาน) ถาผมจะคิดวา เปนกลิ่นของเทพยดามาอนุโมทนาในอานิสงสครั้งนี้ จะเปนไป ไดไหมครับ เพราะไมทราบวาเทวดามีกลิ่นประจำองคดวยหรือ ไม หรือถาอาจารยจะกรุณา ถาอาจารยเคยไดรับ รูกลิ่นเทวดาชวยอธิบายลักษณะกลิ่นไดไหมครับ (บางเรื่องที่ถามอาจไรสาระ ขอความ กรุณาอาจารยชวยสงเคราะหดวยครับ เพราะ ติดของในใจอยูนานแลวครับ) ขอบพระคุณอยางสูงครับ
  • 13. 12 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๑๒ คำตอบ (๑). ไมมีเจตนาลบหลูสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ไมถือวาเปนบาป (๒). การเลี้ยงดูพอแมดวยการสงเงินไปให ถือวาเปน จริยธรรมที่ลูกที่ดีพึงปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีจริยธรรมของลูกที่ อยูหางไกล สามารถประพฤติได เชน ดำรงวงศสกุลมิใหเสื่อม เสีย ประพฤติตนเปนทายาททีดี ไมนำความไมสบายใจไปสูพอแม ่  เมือใดทีไปทำบุญแทนทาน (บุญกิรยาวัตถุ ๑๐) ตองสือสารใหพอ ่ ่ ิ ่ แมทราบ ดวยการโทรศัพทบอกใหรู เมือทานกลาวอนุโมทนา พอ ่ แมยอมไดรับบุญนั้น อนึ่งการสงหนังสือธรรมะไปใหพอแมอาน สงซีดีธรรมะไปใหทานฟง สงวีดีโอธรรมะไปใหทานดู ฯลฯ ยัง เปนการตอบแทนคุณของพอแมไดอีกดวย (๓). ไดแนนอนครับ (๔). อิรยาบถใดที่ผูถามปญหาไดกระทำแลว หากมีจิต ิ ระลึกไดและทำใหไมสบายใจ อิริยาบถนั้นถือวาเปนบาป การขอขมากรรม หมายถึง กลาวคำขอโทษที่ประพฤติ ลวง เกิน สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ แลว ดวย กาย วาจา และ ใจ เพื่อ ให สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ยกโทษให ผูขอขมากรรมตองไมประพฤติลวงเกินเชน นั้นอีก การขอขมากรรมจึงจะถือวาสัมฤทธิ์ผล (๕). กลิ่นหอมที่ผูวาดรูปสัมผัสไดนั้น เปนการ แสดงความยินดีของเทวดา กลิ่นหอมอันเปน ทิพยมีลักษณะหอมทวนลม หอมไดไกลกวา กลิ่นหอมใดๆที่มีอยูในภพมนุษย
  • 14. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๓ 13 ๒. โอกาสเปนคนดี คำถาม กราบเรียนทาน อ.สนอง ทุกวันนีดิฉนมีความทุกขมากคะไมรวาจะแกไขอยางไรดี ้ ั ู ดิฉันเปนคนที่มีโมหะมาก และก็มีอกุศลสัญญาเก็บไวในจิตเยอะ มาก คือ ดิฉัน ได มี โอกาส เขา รวม ปฏิบัติ แนว ของ คุณ แม สิริ มาหลายครั้งทุกครั้งก็จะเห็นความไมดี(เลว) ของตัวเองเยอะ มาก คือจะคิดไมดีตอพระพุทธ พระอริยสงฆ และผูมีพระคุณ แบบไมมสาเหตุ บางทีไมเคยรูจกแคไดยนชือก็พาลไมชอบ ดาวา ี ่ ั ิ ่ แชง ไมเขาใจตัวเองเลย กลัวใจตัวเองมากคะ รูวามันปาบมาก พยายามรักษาสติแตก็ทำใหเลิกคิดไมได บางวันที่ตั้งใจรักษาสติ ใหอยูกับการเดินหรือการหายใจมากๆ ความคิดอกุศสก็มีมาก บางวันก็นอย ดิฉันควรจะทำอยางไรดีคะ อยากขอความกรุณาทาน อาจารยชวยชี้แนะดวยคะขอพระคุณมากคะ ดวยความเคารพอยางสูง คำตอบ คนที่รูวามีความไมดีอยูในตัว คนนั้นแหละที่จะมีโอกาส พัฒนาตัวเองใหดีใหมีบุญเกิดขึ้นไดในวันขางหนา
  • 15. 14 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๑๔ ศาสนาพุทธ เปนศาสนาที่มีเหตุผลกำกับ เปนศาสนา แหงความจริง ฉะนั้นการคิดไมดีตอพระพุทธ พระอริยสงฆและ ผูมีพระคุณ เหตุเปนเพราะจิตของผูคิดมีโปรแกรมติดลบเก็บ บันทึกอยูภายใน คนประเภทนี้มีอัตตาสูงและมีกำลังของสติ ออน “อัตตา” หมายถึงตัวตน หรือความเห็นแกตัว “สติ” หมาย ถึงระลึกได นึกได ไมลืม เมื่อปจจัยทั้งสองทำงานรวมกัน ความ คิดที่เปนอกุศลยอมเกิดขึ้นเปนธรรมดา ดังนั้นผูใดปรารถนาให ตนเองมีความคิดทีดีงาม มีความคิดทีเปนบุญเปนกุศล ผูนันตอง ่ ่ ้ เอาศีลอยางนอยหาขอที่ไมขาด ไมทะลุ ไมดาง ไมพรอย มาคุม ใจใหไดทุกขณะตื่น แลวนำตัวเองไปพัฒนาจิต (สมถภาวนา) ให มีกำลังของสติกลาแข็ง จนจิตเขาถึงความตั้งมั่นเปนสมาธิจวน แนวแน (อุปจารสมาธิ) แลวนำจิตไปพัฒนา (วิปสสนาภาวนา) จนกระทั่งเขาถึงปญญาเห็นแจง ไดเมื่อใดแลวโอกาสที่อัตตาจะ ดับไป จึงมีไดเปนได .... พิสูจนไหมครับ ในขณะนี้ ซึ่งไดอยูในกายอันไดพบธรรมและมีโอกาสอันดี อันไดมาโดยยาก การตั้งใจฟง ตั้งใจคิดไตรตรอง และตั้งสมาธิทั้งคืนและวัน เพื่อปลดปลอยตนเองและผูอื่น ใหหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิด คือกิจปฏิบัติของพระโพธิสัตว
  • 16. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๕ 15 ๓. เปนเรื่องของเขา คำถาม กราบเรียน ทานดร.สนอง ดิฉันยายบานใหม บานเลขที่ ๒๓๔/๒๖๗ หนาบานหัน หนาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต ดิฉนอยากทราบวาจะหันหนาโตะ ั หมูบูชาดานไหนของบาน เพราะตอนนี้หันโตะหมูหันหลังใหกับ บานและมีคนทักวาไมดี ตอผูที่อยูอาศัย และมองดูก็ตรงตามที่ เขาทักมา จึงขอใหทาน ดร.สนองแนะนำดวย ดิฉันสวดมนตนั่ง สมาธิทุกวัน ขอขอบคุณคะ คำตอบ การประพฤตินอบนอม หมายถึงการแสดงความเคารพ อยางสูง ผูใดประพฤติแลวบุญยอมเกิดขึ้น ในครั้งพุทธกาลไม วาพระพุทธเจาสถิตอยู ณ ที่แหงใด พระสารีบุตรแสดงกิริยา นอบนอม ดวย การ นอน หัน ศีรษะ ไป ทาง ที่ พระพุทธเจา ประทับ ฉะนั้นผูถามปญหาวางโตะหมูบูชา แลวเห็นวา เหมาะกับการแสดงความเคารพอยางสูงของ ตน คนอื่นที่ไมเห็นดวยจะทายทักอยางไรก็ เปนเรื่องของเขา
  • 17. 16 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๑๖ ๔. อยูที่บานก็ทำได คำถาม เรียนถามเรื่องฝกการนั่งสมาธิ อยากจะเรียนถามทานอาจารยครับวา ผมอยากจะฝก นั่งสมาธิดวยตัวเองจะทำไดไหมครับ แลวมีแนวทางยังไงครับ แลวตองมีบทสวดมนตกอน หรือเปลาครับ เพราะผมทำงานอยูตางประเทศชวงนี้ ผมฟง อาจารยบรรยาย ตามเว็บไซตตางๆครับ ผมคิดวาผมทำกรรม มาเยอะพอสมควรครับ เพราะตอนเด็กๆเคยฆาสัตวตางๆเพื่อ ทำอาหารครับ ผมอยากจะเสริมสรางบารมีและแผสวนกุศลให เจากรรมเผื่อจะใหบาปกรรมทุเลา เบาบางลงบางครับ ขอบคุณครับ คำตอบ บุคคลสามารถฝกสติอยูที่บานได ดวยการสวดมนต สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (อิติปโสภควา ... จนจบ, สวากขา โตฯ ..., สุปฏิปนโนฯ .... ) หลังจากสวดมนตจบแลวใหเจริญอานา ปานสติ ดวยการหายใจเขากำหนดวา “พุท” หายใจออกกำหนด วา “โธ” ประมาณ ๓๐ นาที หรือนานเทาที่มีเวลาทำได หลังจาก นันใหอุทศบุญกุศลใหเจากรรมนายเวร ทุกครังทีทำกิจกรรมแลว ้ ิ ้ ่ เสร็จ
  • 18. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๗ 17 ๕. ลูกออด คำถาม กราบเรียนถามทานอาจารยดร.สนอง คะ กรณีทีทีบานมีสระน้ำ เนืองจากทิงไวนาน ทำใหมีคางคก ่่ ่ ้ กบ ลูกออดขึนในบอมากมาย สงเสียงดังมากๆกลัววาจะเปนการ ้ รบกวนเพื่อนบานขางเคียง ถาจะปลอยน้ำในสระออกก็กลัวลูก ออด ไร ตางๆจะตาย ทิ้งไวก็จะเปนแหลงเพาะพันธุเพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆ กรณีนี้มีวิธีใดที่พอจะแกไขปญหาดังกลาวไดบางหรือไม อยางไรคะ ขอบพระคุณทานอาจารยอยางสูงที่เมตตา คำตอบ แกปญหาดวยการใชสวิงตักลูกออดทีมีอยูในบอทังหมด ่  ้ ไปปลอยในแหลงน้ำอื่น แลวปลอยน้ำในสระออกใหแหง จิตของผูที่ยึดติดกับคนที่รักระส่ำระสายดุจสายน้ำ จิตของผูที่เกลียดชังศัตรูเผาไหมดั่งเชนไฟ จิตของผูที่โงเขลา หลงลืมไปวาจะรับอะไรไว และจะทิ้งอะไร เต็มไปดวยความบดบัง การไมยึดติดกับสิ่งตางๆ คือกิจปฏิบัติของพระโพธิสัตว
  • 19. 18 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๑๘ ๖. สัตวโลกเปนไปตามกรรม คำถาม ถามปญหา อ.สนอง วรอุไร กราบเรียนทานอาจารยสนองที่เคารพ ผมมีปญหาซึ่ง เปนความทุกขทางใจ ขอความกรุณาอาจารยชวยผมดวยครับ ความทุกขของผมก็คือ เมือปเศษมานีแมผมไดถึงแกความตายลง ่ ้ ขณะนั้นทานอายุ ๙๑ ป หลายทานอาจเห็นวาทานอายุมากแลว คงจะหมดอายุ แตมันมีเหตุใหผมเสียใจและจิตใจเศราหมองมา ตลอดวาผมทำใหแมตายหรือไม กลาวคือ กอนตายแมมีอาการ เจ็บปวดจากการมีแผลกดทับ แตผมและพี่ๆไมไดเอาแมไปโรง พยาบาล เพราะผมไปเชื่อหมอที่รับมาดูและรักษาอาการวาไม ตองเอาไปโรงพยาบาลหรอก เพราะแมอาการหนักคงอยูไดไม นาน และหากเอาไปโรงพยาบาลหมอจะขูดแผลกดทับทำใหเจ็บ ปวดมาก และจะมีการใสสายยางตางๆทำใหไดรับความทรมาน แสนสาหัส ควรปลอยใหแมจากไปเองทีบาน ซึงผมก็เชือ แตแมมี ่ ่ ่ อาการทรุดลงเรือยๆ พีสาวและพีสะใภจึงไปรับหมออนามัยมาดู ่ ่ ่ อาการ หมอใหรีบเอาไปโรงพยาบาล พี่สาวและพี่สะใภจะเอาไป โรงพยาบาล แตพีๆอีกหลายคนก็คัดคาน บอกวาอยากใหแมตาย ่ ที่บาน ไมใชที่โรงพยาบาล ผมกลับมาบานตอนเย็น พี่สาวใหผม ตัดสินใจ ผมก็ตกลงใหเอาไปโรงพยาบาล แตพี่ๆบางคนยังคง คัดคาน และแสดงความเบื่อหนายที่จะตองไปนอนเฝาแม ตาง
  • 20. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๑๙ 19 อยากใหแมไปเสียเร็วๆ ผมเลยใจเขว ไดโทรศัพทไปถามหมอคน เดิมอีกครั้ง หมอยังคงยืนยันอยางเดิมวาไมควรเอาไป ผมเห็น วาหมอคนนีเปนแพทยทีใหญกวาหมออนามัย นาเชือถือกวา เลย ้ ่ ่ ตัดสินใจไมเอาแมไปโรงพยาบาล และนึกดีใจที่จะไดไมตองขัด แยงกับพีๆอีกหลายคน แตนันเปนการตัดสินใจทีผิดพลาด เพราะ ่ ่ ่ แมอาการทรุดลงเรือยๆ ผมเปดอินเตอรเน็ตดูวิธดูแลผูปวยแผล ่ ี  กดทับ เขาบอกใหพลิกตัวบอยๆ เลยตกลงกับพี่สาวที่ดูแลแมวา ใหพลิกตัวแมตอนเที่ยงคืน แตการณกลับเลวรายลง เพราะการ พลิกตัวทำใหแมหายใจไมออก ซึ่งผมก็ไมทราบ คิดวาแมใกลจะ ตายเอง พี่สาวเรียกผมไปนั่งดูใจ ผมดูจนกระทั่งแมหมดลมตอ หนาตอตาผม ทำใหผมรูสึกผิด และเศราหมองใจเสียใจมาโดย ตลอด เพราะผมรักแมมากแตกลับไมไดปฏิบัติตอแมใหดีที่สุด ผมจึงขอถามดังนี้ ๑. แมตายเพราะความผิดของผม หรือวาแมถึงคราว จะตองตายเอง แลวผมมีความผิดบาปมากนอยแคไหนครับ จะไถโทษไดอยางไร (จนถึงทุกวันนี้ผมยังคงทำบุญอุทิศใหแม เสมอมา) ๒. การที่คนเราทุกคนถึงแกความตายเพราะผูนั้นถึง คราวจะตองตายหรือไม อยางกรณีของแม ถึงผมจะพาแมไปโรง พยาบาล แมก็ยังคงถึงแกความตายอยูดี เปนเชนนั้นหรือไม ๓. ทำอยางไรจิตใจผมจึงจะหายหมนหมองครับ ขอใหอาจารยตอบและใหกำลังใจดวยครับ
  • 21. 20 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๒๐ คำตอบ กมฺมุนา วตฺตตีโลโก แปลวา สัตวโลกเปนไปตามกรรม (๑). เกิด-แก-ตาย เปนกฎธรรมชาติทีไมมใครผูใดแมแต ่ ี  พระพุทธเจา ยังไมสามารถเลี่ยงกฎนี้ได ดังนั้นเมื่อพระอัญญา โกณฑัญญะ (ปฐมสาวก) พระมหาโมคคัลลานะ (อัครสาวกเบือง ้ ซาย) มาทูลขออนุญาตเขานิพพาน พระพุทธเจามิไดทรงทักทวง แตทรงอนุญาตใหเขานิพพานได สวนพระมหาปชาบดีภิกษุณี (ผู เลี้ยงดูเจาชายสิทธัตถะ) มาทูลลาเขานิพพาน พระพุทธเจาตรัส วา กาลฺชานาหิ โคตมี (จงรูเวลาเถิดทานโคตมี) แลวมีบัญชาให แสดงฤทธิใหมวลชนดู เพือเปนการบอกใหรูวา สตรีเพศสามารถ ์ ่  พัฒนาจิตจนมีฤทธิได พระสารีบุตร (อัครสาวกเบืองขวา) มาทูล ์ ้ ลาเขานิพพาน พระพุทธเจามิไดทรงทักทวง แตทรงตรัสถามวา แลวเธอจะไปนิพพานที่ไหน พระสารีบุตรกลาวตอบวา “ที่บาน เกิด” หลังจากนั้นพระพุทธเจาทรงอนุญาตใหเขานิพพานได (๒). เปนเชนนั้นครับ (๓). ผูใดประสงคมิใหจิตเศราหมอง พึงดูพระอริยสาวก  เปนตัวอยาง แลวพัฒนาจิตใหเขาถึงธรรมแมเพียง ขั้นตน เปน พระ โสดาบันที่ ตาย เกิด อีก ไม เกิน เจ็ดชาติ ยังมีความทุกขเหลือนอยเทาขี้ฝุนติด ปลายเล็บ เมื่อเทียบกับความทุกขที่กำจัดได แลว เหมือนขี้ฝุนที่หลงเหลืออยูในพื้นปฐพี .... พิสูจนแลวจริงครับ
  • 22. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๑ 21 ๗. กลัวสัมภเวสี คำถาม กราบเรียนอาจารย ดร. สนอง อาจารยคะ คุณพอหนู(วิคมน สิริทิพากร) ไดถูกรถชน ที่หนารานดาวคะนอง จ.ลำพูน เมื่อ ๒๘ ส.ค. ๕๓ และทานได เสียชีวิตลงที่ รพ.ลำพูน ๒๙ ส.ค. ๕๓ หนูมีคำถามมาปรึกษา อาจารยดังนี้คะ ๑. คุณพอหนู เปนสัมภเวสี ใชไหมคะ แลว หนูจะทำ อยางไรที่พอจะชวยทานไดบาง แลวเราจะทราบไดอยางไร วา ทานจะหมดอายุขัยเมื่อใด (ปจจุบันหนู ปฏิบัติธรรมอยูที่บาน และจะลาพักรอนไปปฏิบตทีวัดตาลเอน วัดอัมพวันหรือ ยุวพุทธฯ ั ิ่ ตามแตโอกาสจะเอื้ออำนวยคะ) ไมนานมานี้ รุนนองมาคางเปน เพือนทีบาน ไดเห็น ลักษณะคลายคุณพอมายืนทีหนาบานคะ นอง ่ ่ ่ เขามันใจวาไมใชคนแนๆ หนูเลยอธิฐานบอกเจาทีหรือเทวดาทีปก ่ ่ ่ ปกษรักษาบานหนูอยู หากเปนคุณพอจริงๆใหคุณพอเขามาอยูใน  บานได จะได ไมรอน หนาวหรือเปยก หนูทำถูกไหมคะ แตแลว ก็ทำใหหนู กลัว ไมกลาอยูบานคนเดียวอีกคะ ๒. นอกจากการเสียชีวตดวย อุบตเหตุแลว การเสียชีวต ิ ั ิ ิ อยางใดอีกที่จะทำใหเปน สัมภเวสีคะ ๓ . ได อานที่ อาจารย ตอบ คำถาม หลาย ทาน ใน เรื่อง สัมภเวสีแลว แตยังสงสัย(กลัว) วา สัมภเวสี สามารถปรากฏ
  • 23. ๒๒ : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m 22 ใหเห็นหรือสื่อสารกับเราไดหรือไมคะ คือ ขณะนี้หนู กลัวจนจิต ไมเปนสมาธิ ปฏิบตธรรมไดบางไมไดบาง หนูกำหนด กลัวหนอๆ ั ิ ๆๆ คิดหนอๆๆ ก็ยังไมนิ่งคะ จึงลืมตาแลว เดินจงกรม บางครั้ง ก็กังวลใจ วุนวายใจ หนูจะแกไข อยางไรดีคะ ขอบคุณอาจารยดร. สนอง ที่เมตตาตอบคำถามหนูคะ คำตอบ (๑). ผูที่ตายกอนครบอายุขัย ตองเปลี่ยนสภาพจากรูป กายหยาบ ไปเปนรูปนามละเอียดที่เรียกวา สัมภเวสี ตรงกัน ขามผูที่ตายตามอายุขัยกำหนด ตองไปเกิดในรูปใหมเปนสัตว (รูปนาม) อยูในภพใดภพหนึ่งของวัฏฏะ ตามกรรมที่ทำไวเปน เหตุ ขออนุญาตเจาที่ใหสัมภเวสีเขาบริเวณบานได เปนการ กระทำที่สมควร แตสมควรยิ่งกวา หากไดทำบุญ (บุญกิริยา วัตถุ ๑๐) แลวอุทิศบุญใหกับสัมภเวสี (๒). คำวา “อุบัติเหตุ” หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นโดย ไมคาดคิด ซึ่งเปนผลมาจากอดีตของผูตาย ประพฤติกรรม ตัดรอนมากอน เชน ฆาสัตว สรางเครื่องมือทำลายชีวิตของผู อื่น ดื่มสุรา ฯลฯ (๓). ผูใดปฏิบัติสมถภาวนา แลวปรารถนาใหจิตตั้งมั่น เปนสมาธิ ตองเอาศีลที่ ไมขาด ไมทะลุ ไมดาง ไมพรอย ลงคุม ใหถึงใจ แลวจึงนำตัวเองเขาปฏิบัติธรรมขางตน โดยมีสัจจะ มี ความเพียร และไมสงสัยในคำชี้แนะของครูบาอาจารยผูเขาถึง
  • 24. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๓ 23 ธรรมมากอน โอกาสจิตตั้งมั่นเปนสมาธิและเกิดความรูแจงใน สรรพสิ่ง เชน กลัวผี กลัวตาย กลัวยากจน กลัวไมสบาย ฯลฯ จะไมเกิดขึ้น .... พิสูจนไหม? ๘. ผีคืออะไร คำถาม กราบเรียนอาจารยสนองที่คารพยิ่ง ผี คือ อะไร หนูมีอวิชชาอยูมากคะเกี่ยวกับความเขาใจเรื่องผี คือ เมื่อใดถาหนูตองอยูในที่มืดแลว จะมีมโนภาพเห็นแตสิ่งนากลัว คนตาย หนูอยากถามวา ผี ที่แทคืออะไร (ความหมายทาง ธรรม) หนูอยากเขาใจใหถูก และจะไดเลิกกลัวหากรูวาแทจริง แลว ผี คืออะไร มีความสามารถแคไหน และเราควรทำ อยางไรหากเผชิญในขณะที่สติยังไมเขมแข็งพอ หนูปฏิบัติแนว อานาปานสติ ของทานพุทธทาสทานไมเอยถึงเรื่องแนวนี้เลย เราเลยไมไดคำตอบที่แท เลยจัดการกับใจไมถูกบอกความจริง ใหจิตรูในสิ่งแทจริงไมไดเลย ยังกลัวมาก อยากรบกวนถามเปนขอนะคะเพื่อจะไดตอบงาย ๑. ผี มีจริง หรือไม
  • 25. 24 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๒๔ ๒. ถามี ผีทำรายคนไดหรือไม ๓. ถาเราเผชิญหนากับผีเราจะตองทำอยางไร หากสติ เรายังออนอยู ๔. มีวิธีฝกใหเลิกกลัวไดหรือไม หนูไมอยากกลัว เพราะ ดูเหมือนเรืองไรสาระทีไมเกียวกับการปฏิบติ แตจิตมันฝงใจมาก ่ ่ ่ ั เมื่ออยูในที่มืดแลวเปนทุกครั้ง ฝกสูกับความรูสึกนี้แลวนอนคน เดียวตอนไปปฏิบตธรรม ยังไมมคำตอบใหจิตเลยยังกลัวอยูมาก ั ิ ี  คะ ดวยความเคารพอยางยิ่งคะ คำตอบ คำวา “ผี” หมายถึง สภาวะของจิตวิญญาณที่มองไม เห็น แตเชื่อกันวาอาจปรากฏเปนรูปนามหยาบใหระบบประสาท สัมผัสได และใหคุณใหโทษกับมนุษยได ในทางธรรม “ผี” หมายถึง สัมภเวสี ที่ยังไมไปเกิดเปน สัตวอยูในภพใดๆของวัฏฏะ เมื่อใดที่ผูถามปญหาพัฒนาจิตให มีกำลังของสติกลาแข็ง และมีปญญาเห็นถูกตามธรรมไดแลว จะไมกลัวผีอีกตอไป (หากมีโอกาสโปรดอาน ทางสายเอก ของ ผูเขียน) (๑). ผี (สัมภเวสี) มีจริง ( ๒ ) . ผู ใด สติ กลา แข็ง และ รู จริง เรื่อง ผี ยอม ไม ถูก ผี ทำราย
  • 26. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : 25 ๒๕ (๓). ผูมีสติออนแกปญหากลัวผี ดวยการเปดไฟฟาใหมี แสงสวางแลว ผียอมหายไป (๔). ตองฝกปฏิบัติธรรม ใหไดผลตามแบบที่ผูตอบ ปญหาเขียนไวในหนังสือ ทางสายเอก ๙. รูดวยปญญาเห็นแจง คำถาม เรียน อาจารยสนองที่เคารพ ขอเรียนถามปญหาดังนี้ ทุกวันนีไดพัฒนาจิต ดวยการปฏิบตวิปสสนา ตามทีไดรับ ้ ั ิ ่ การอบรมสังสอน จากพระอาจารยวีระนนท วีระนันโท เจาอาวาส ่ วัดปาเจริญราช คลอง ๑๑ ปทุมธานี ดวยการเดินและนั่งสลับ กันตามเวลาและโอกาสจะอำนวย แตพยายามรักษาสมดุลของ การนั่งและการเดิน ถานั่งจะนั่งขัดเพชรสูงสุดได ๑ ชั่วโมง มอง เห็นพองยุบชัดเจน ถาเผลอก็จะสามารถเรียกสติกลับมาไดเร็วขึน ้ เวลาเดินสติก็จะอยูทีเทามองเห็นการยก การยาง การเหยียบ ถา  ่ เผลอก็จะเรียกสติกลับมาไดเชนกัน แตมีปญหาวาบางครังรูสกได ้ ึ วาจิตเกิดดับๆๆ เร็วและมากมาย ตลอดเวลา จึงอยากจะทราบ วามีวิธตรวจสอบไดอยางไรวาสิงทีเรารูเกิดจากปญญา หรือเกิด ี ่ ่  จากความรูที่ไดยินไดฟงครูบาอาจารยสอนมากันแน ขอกราบขอบพระคุณในความเมตตา
  • 27. 26 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๒๖ คำตอบ ผูใดปฏิบตสมถภาวนา แลวจิตตังมันเปนสมาธิจวนแนว  ั ิ ้ ่ แน (อุปจารสมาธิ) แลวนำจิตไปพัฒนา (วิปสสนาภาวนา) จน เกิดปญญาเห็นแจงไดแลว ยอมรูเห็นเขาคำสอนของผูอื่นไดวา ถูกหรือผิดไปจากธรรมวินัยในพุทธศาสนา .... สัจธรรมพิสูจนได ตามแนวนี้ ๑๐. เห็นดวยไหม คำถาม กราบเรียนทานอาจารยสนอง วรอุไร ผม ขอก ราบ เรียนขออภัย ทาน อาจารย กอนที่จะ ถาม คำถามนี้ เพราะผมไมเคยเห็นมีใครจะสนใจถามคำถามนี้ในที่อื่น ใดเลย ผมเกรงวาผมจะเปนเหมือนคนโงหรือคนที่มาลองภูมิ ทานอาจารย แตหามิไดผมไมเคยคิดจะลบหลูทานอาจารยแต ประการใดเลย หากเปนคำถามทีไรสาระทานอาจารยงดทีจะไม ่ ่ ตอบก็ไดนะครับ ผมไดยนชือเสียงทานอาจารยมากอนแตเพืงจะ ิ ่ ่ ไปฟงการบรรยายธรรมของทาน เมื่อเสารที่ ๑๘ กันยายน นี้ ที่ โรงปูนซิเมนทไทย บางซื่อ ผมก็นึกอยากจะถามคำถามนี้กับอาจารย ณ ที่ประชุม นั้น แตผมไมกลา ผมจึงแอบเก็บมาถามในวันนี้ คำถามของผม
  • 28. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๗ 27 มีอยูวา อันวาดวงวิญญาณทีอยูในกายมนุษยและสรรพสัตวทัง  ่  ้ หลายนี้ เกิดมาแตไหน และเกิดมาไดอยางไร ? และผมเคยไดยน ิ หรืออานพบมาวา มนุษยทุกคนในทีสดก็จะไดเขานิพพานหมดทุก ุ่ คน อาจารยพอจะเห็นดวยไหมครับ ผมขอขอบพระคุณเปนอยาง สูง มา ณ ที่นี้ดวย ขอใหทานอาจารยจงมีสุขภาพรางกายแข็ง แรงและอายุยืนยาวที่ชวยเหลือตนเอง ไดตลอดไปนะครับ ขอแสดงความเคารพอยางสูง คำตอบ สิ่งที่ไมควรคิด (อจินไตย) ที่พระพุทธโคดมไมทรงตอบ สี่อยาง ไดแก ๑. วิสัยของพระพุทธเจาทั้งหลาย (พุทธวิสัย) ๒. วิสัยแหงฌาน (ฌานวิสัย) ๓. วิบากของกรรม (กรรมวิบาก) ๔. ความคิดเรื่องโลก (โลกจินตา) ดังนันสิงทีถามไป คือ ดวงวิญญาณของมนุษยและสัตว ้ ่ ่ เกิดมาแตไหน เปนอจินไตย ขออภัยไมตอบ ที่ถามไปวา เกิดไดอยางไร ตอบวา : เกิดไดเพราะแรงผลักของกรรมที่ทำสั่งสมไว ในดวงจิตเปนตนเหตุ อาทิ ความหลง เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตว เดรัจฉาน
  • 29. 28 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๒๘ ความโลภ เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตวเปรต สัตวอสุรกาย ความโกรธ เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตวนรก ศีล ๕ เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตว มนุษย ทานและศีล หรือ กุศลกรรมบท ๑๐ เปนเหตุผลักดัน จิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตวเทวดาในสวรรค ฌาน เปนเหตุผลักดันจิตวิญญาณใหไปเกิดเปน สัตว พรหม อยูในพรหมโลก อานหนังสือแลวพบวา “มนุษยทุกคน ในที่สุดจะไดเขา นิพพานทุกคน” เปนความเห็นของผูเขียนหนังสือ แตผูทรงความ   สัพพัญูรูวา มนุษยเปรียบไดกับบัว ๔ เหลา บัวเหลาที่ ๑-๓ เทานันทีสามารถพัฒนาจิตจนเขาถึงพระนิพพานได ผูตอบปญหา ้ ่  มิไดปลงใจเชื่อตามหลักกาลามสูตร แตไดไปพัฒนาจิตตามแนว สติปฏฐาน ๔ จึงรูวา มนุษยทุกคนไมสามารถเขา นิพพานได เวนไวแตบัวเหลาที่ ๑-๓ เทานั้น ที่ พัฒนาจิตแลวสามารถเขาสูพระนิพพานได
  • 30. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๒๙ 29 ๑๑. อยากชวยคนอื่น คำถาม กราบสวัสดีคุณพอสนองที่เคารพ ดวยความเคารพเลื่อมใสในตัวของคุณพอ ในคำสอน ของคุณพอลูกจึงขอเรียกแทนตัวเองวาลูกนะครับ คุณพอครับ ตอนนีลูกอายุ ๒๓ ปมีหนาทีการงานดี ชีวตทีผานมาของลูก เต็ม ้ ่ ิ ่ ไปดวยบาป ลูกไมมีหิริโอตตัปปะ เพราะลูกสงสัยในโลกหลังค วามตาย กลาวคือลูกไมแนใจวามีจริงหรือไม ลูกจึงนึกถึงแต ความสุขที่อยูตรงหนาเทานั้น (แตก็ไมไดเปนคนเลวเสียทีเดียว) แตตอนนี้ จากคำสอนของคุณพอ ทำใหลูกเชื่อวาโลก หลังความตายมีจริง และ ลูกกำลังจะหาทางพิสูจนใหเห็นจริง ดวยตัวของลูกเอง ผานคำสอนของคุณพอ และการบรรยาย ของคุณพอ คุณพอครับ ลูกทำผิดศีลขอ กาเมฯ กับหญิงคนหนึ่ง เธอมีสามี และ ลูกแลว เพราะสามีของเธอทำเหมือนไมไดรัก เธอแลว คือเขาไปมีหญิงอื่น ลูกไมเคยกลัวบาป เพราะคิดวาได ทำใหเธอมีความสุข จนกระทั่งตอนนี้เธอเสียชีวิตแลว ลูกจึงได เขาใจหัวใจของตนเองวา แทที่จริงแลว ลูกรักเธอเพียงใด การ สูญเสียครั้งนี้ ทำใหลูกกลัวกับการที่จะตองมีความรัก และ สูญ เสียคนที่รักไปอีก ลูกไมอยากเสียใจอีกแลว ลูกอยากชวยเธอผู ลวงลับใหพนทุกข จะเปนไปไดหรือไมครับ
  • 31. 30 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๓๐ ทุกวันนี้ จากทีไมเคยสวดมนตกอนนอน ลูกทำทุกวัน จาก ่ ที่ไมเคยทำบุญ ลูกทำเมื่อมีโอกาสเสมอ เพราะเปนหวงเธอ คุณ แมของเธอก็แนะนำใหลูกหาการบรรยายของคุณพอมาฟงจนลูก พบกับ www.kanlayanatam.com ที่แหงนี้ไขขอของใจใหลูกได มากมาย แตลูกอยากถามในกรณีสวนตัวของลูกดวยครับ ๑. กรรมของเธอที่ลูกเปนผูรวมกอ ลูกขอรับไวเอง ทั้งหมดไดหรือไม ถาไดตองทำอยางไรครับ ๒. เรื่องปดอบายภูมิ ถาหากลูกมีบุญพอที่จะทำได ลูก จะชวยใหเธอ บิดา มารดาของลูก และคนอื่นๆ ปดอบายภูมิได หรือไม อยางไรครับ (ทั้งที่ไดลวงลับไปแลว และ ยังมีชีวิตอยู) ลูกพอมีคำตอบในใจบางแลว แตอยากกราบขอคุณพอ ชวยไขขอของใจเพือใหลูกสินสงสัยดวยครับ ยิงลูกศึกษาจากคำ ่ ้ ่ สอนผานการสนทนาธรรมของคุณพอเทาไหร ลูกยิ่งเห็นวาสิ่ง ที่ลูกพึงกระทำคือ ปลอยวาง และเขาใจวาสัตวโลกเปนไปตาม กรรม ลูกจึงมาคิดตอวา นีคงไมใชเรืองบังเอิญทีชีวตของลูก ได ่ ่ ่ ิ เขามาพยายามศึกษาธรรมะ ทั้งที่ ตลอดชีวิตที่ผานมา ไมมีเคย มีความคิดเหลานี้เลย สุดทายนี้ ขอคุณพอ และ ทีมงานกัลยาณธรรม จงมีแต ความสุขความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อจะไดชวยใหผูที่หลง ทางไดพบกับสิ่งที่ เปนความสุข ความสงบอยางแทจริง ดวยความเคารพ
  • 32. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๓๑ 31 คำตอบ ผูใดปฏิบัติสมถภาวนา จนจิตเขาถึงความทรงฌานได แลว เมือถอนจิตออกจากความทรงฌาน ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ่ ยอมรู เห็น เขาใจวาชีวตดำเนินเวียนตาย-เวียนเกิด มานับภพชาติ ิ ไมรูจบ ผูที่อยูหลัง ประพฤติตนใหมีบุญ แลวอุทิศบุญใหผูลวง ลับ หากเขามาอนุโมทนาบุญได เขายอมไดรับบุญนั้น (๑). เปนกรรมที่สองคนตองรับผลของกรรมรวมกัน ( ๒ ) . ไมมี ใคร ชวย ใคร ได เขา ตอง ชวย ตัว เอง ดัง ที่ พระพุทธ โค ดม ได ทำให ดู เปนตัวอยาง พระ พุทธะ ไม สามารถ ชวยพระเทวฑัต (พี่ภรรยา) ไมสามารถชวยพระเจาสุปปพุทธะ (พอตา) ใหพนจากนรกได จึงปลอยวางเปนอุเบกขา ๑๒. เพศที่สาม คำถาม กราบสวัสดีทานอาจารยสนอง วรอุไรนะครับ วันนี้ผมมีคำถามจะมาถามทานอาจารยครับ ผมยังคาง คาใจเรื่องเพศที่สามครับ จึงอยากถามคำถามดังนี้ครับ ๑. ที่อาจารยบอกวา ไมสามารถบรรลุโลกุตรธรรมได แตการทีตองไดเกิดมาเปนเพศทีสาม ก็เพราะทุศลขอทีสาม แลว ่ ่ ี ่
  • 33. 32 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๓๒ ถากรณีเชนนี้ บุคคลที่เคยทุศีลขออื่นๆ ก็ตองไมสามารถบรรลุ โลกุตรธรรมไดเชนกันสิครับ ๒. ทีอาจารยบอกวา สามารถบรรลุไดแตโลกิยธรรมนัน ่ ้ หมายถึง ยังสามารถเขาฌานได ยังสามารถมีคุณวิเศษหาอยาง ได รวมไปถึงไปเกิดสูงสุดในพรหมได ใชไหมครับ ๓. แลวการที่คนเพศที่สาม อยางเกย กระเทย จะไป ปฏิบตธรรมดวยการบวชเปนพระ จะสมควรไหมครับ หรือทำได ั ิ มากแคบวชพราหมณ นุงขาวหมขาว ๔ . เรา ไมมี วิธี อื่นๆ ที่ จะ แกไข ขอ ที่ ไม สามารถ บรรลุ โลกุตรธรรมไดจริงเหรอครับ หากบุคคลเพศที่สามไมปรารถนา จะมารับทุกขอีก อยางการเกิดมาเปนมนุษยอีกแลว กรณีศึกษา ในสมัยพุทธกาลยังจะพอมีไหมครับ ๕. แลวกรณีที่เพศที่สาม ที่เขารับการบำบัดรักษาทาง จิตวิทยาใหหายแลว สามารถกลับมาบรรลุโลกุตรธรรมไดไหม ครับ รบกวนอาจารยดวยนะครับ ตอนนีรูสกทุกขใจมาก ไมรู ้ึ จะทำเชนไรดี ขอบคุณลวงหนาครับ คำตอบ (๑). ผูใดประพฤติทุศีล และชดใชหนี้เวรกรรมจนหมด แลวเมือใด ผูนันจึงจะสามารถพัฒนาจิตจนเขาถึงโลกุตตรธรรม ่  ้ ได
  • 34. ส น ท น า ภ า ษ า ธ ร ร ม เ ล ม ๑๙ : ๓๓ 33 (๒). บรรลุโลกิยธรรมเบื้องตนได แตไมสามารถพัฒนา จิตใหเขาถึงความทรงฌานได (๓). ถาถือเครงครัดตามวินยทีพระพุทธโคดมบัญญัตไว ั ่ ิ กระเทยไมสามารถบวชเปนภิกษุได (๔). สิริมาและอัมพปาลี หยุดประกอบอาชีพโสเภณี อยางเด็ดขาด แลวหันมาประพฤติทาน ศีล ภาวนา ยังสามารถ พัฒนาจิตใหเขาถึงความเปนอริยบุคคลได (๕). ผูที่บำบัดอาการวิปริตทางจิตจนหายเด็ดขาดแลว สามารถพัฒนาจิตใหเขาถึงอริยธรรมได ๑๓. หักคอปลา คำถาม กราบเรียนทานอาจารย ดร.สนอง วรอุไร ผมเพิ่งเริ่มสนใจปฏิบัติธรรม เชน สวดมนต นั่งสมาธิ เดินจงกรม ฟงธรรมจาก ผูรูธรรม จากพระสงฆ แตสวนใหญ จะฟงจาก ซีดี เพราะฟงขณะขับรถ ผมมีความเชือวา บุญ บาป ่ มีจริง เวร กรรมมีจริง ผมไดตั้งปณิธานไวกับตัวเองและเพื่อน รวมงาน วา ผมจะนำ ศีล หา มาปฏิบัติในชีวิตประจำวันใหครบ จากการฟงธรรม ทราบวาถารักษาศีล หา ไมบกพรอง ไปจนถึง วาระสุดทายของชีวิต มีโอกาสจะไดกลับมาเกิดเปนมนุษย
  • 35. 34 : w w w. k a n l a y a n a t a m . c o m ๓๔ อาจารยฯครับถึงแมความทุกขจะมีมากเหลือเกินในโลก มนุษย แตผมก็อยากเกิดมาเปนมนุษย และตองการบวชเรียน ตั้งแตเปนเณร ศึกษาพระธรรม ตามหลักพระพุทธศาสนา เพื่อ ถายทอดใหกับเพือนมนุษย อาจารยฯครับชาติหนาผมก็ไมแนใจ ่ วาจะไดเกิดมาเปนมนุษยอีก ผมก็เลยตองรีบทำบุญ ทำทาน ถือศีล ภาวนา เพราะผมเคยทำให แม และ พอ เสียใจ เมื่อครั้ง ที่ผมเปนวัยรุน แมผมรองไหเสียใจเพราะผมแสดงพฤติกรรม กาวราว เชน โยนถวยจานขาวทิ้งตอหนาแม โยนวิทยุทิ้งตอหนา แม ตั้งแตผมเรียนจบปริญญาตรีจนถึงปจจุบน ผมปฏิบัติตัวเปน ั ลูกที่ดีมีความกตัญู มาตลอด ผมมีความรูสึกไดวา แมและ พอ มีความภูมิใจในตัวผมพอสมควร ที่ไมเกเร มีหนาที่การงาน ที่มั่นคง แตพอผมเสียชีวิตแลวตั้งแตวันที่ ๒๕ พ.ย ๔๙ ขออภัยนะครับอาจารยฯทีเลายาวไปหนอย ผมมีคำถาม ่ ดังนี้ครับ ๑ . อายุ ประมาณชั้น ประ ถมฯ ผม เคย เห็น วิญญาณ และเห็นพรอมกับนองสาว เวลากลางคืน ลักษณะคือไมมีเทา เคลื่อนไหวลักษณะลอย ไมไดเดินเหมือนมนุษยเรา รูปรางการ แตงกายเห็นชัดเจน เวลานั้น ผมและนอง ตะโกนเรียกพอวา มีคนเขามาในหอง ผมและนองเลาลักษณะการแตงกาย คนที่ เราเห็นใหพอฟง พอก็นิ่งไปชั่วขณะ แลวก็บอก ผมกับนอง วา เปนการแตงกายของยา (แมของพอ) แลวพอก็มองขึ้นไปที่ขื่อ บาน บนขื่อมีกระดูกของยาที่พอไปนำมาจากวัดเก็บไว เพื่อรอ