SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เนือความของ “ทุกข์”ในอริยสัจ
             ้
                               ที่มาของอริยสัจ ๔
          ก่อนอื่นขอให้พิจารณาถึงที่มาขออริยสัจ ๔ เป็นเบื้องต้นก่อน เพื่อจะ
ได้ทราบความเป็นมาพอเป็นสังเขป
ที่มาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ใช่ว่ าจะได้มาง่ าย ๆ ดังเช่นพระพุทธเจ้า
ของเรา ชาติสุดท้ายที่เป้นพระโพธิสัตว์บำา เพ็ญทานบารมีนามว่าเวสสันดร
พระองค์ต้องเสียสละอย่างยิ่งยวดสร้างบารมีสูงสุดในทานบารมี ต้องเสียสละ
อย่างสูง ใครจะทำาได้ ไม่มีใครทำาได้ สละปลดเปลื้องพันธนาการทั้งหมดตั้ง
แต่พระมเหษีราชบุตรราชธิดาและราชสมบัติทั้งหมด สิ่งที่มุ่งหวังเฉพาะคือ
พระโพธิญาณ ได้กระทำา สำา เร็จแล้ว ก็ไปเสวยวิมุตติสุขบนสวรรค์ชั้นดุสิต
เป็นเวลา ๕๗ โกฏิปี เหล่าทวยเทพทั้ ง หลายก็ ป ระชุ ม กั น ว่ า โลกวางจาก
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ควรจะอันเชิญเทพบุตรองค์ใดองค์หนึ่งไปตรัสรู้
เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มหาพรหมและทวยเทพทั้งหมดลงมติให้สันดุสิต
เทวราชซึ่งก็คือพระเวสสันดรนั่นเอง ไปเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท้าวสัน
ดุสิตเทวราชยังไม่ตกลง แต่พิจารณาก่อนว่า ถึงกาลอันควรหรือยัง ประเทศ
ไหนเป็นประเทศที่ควรจะรองรับสัพพัญญุตญาณได้ ภาษาไหนเป็นภาษาที่
รองรับสัพพัญญุตญาณได้ พุทธมารดามีหรือไม่ที่จะรองรับราชบุตรได้เพียง
พระองค์ เดี ย วแล้วสวรรคตภายในเจ็ ด วั น ซึ่ งไม่ มี ฐ านะที่ จ ะรองรั บ บุ ต รมา
อุ บั ติ ต่ อ ได้ เมื่อ พิจ ารณาหลาย ๆ ด้ า นก็ เห็ นว่ า มี ค วามพร้ อ ม จึ ง ได้ ต กลง
รับคำาเชิญของเหล่าทวยเทพทั้งปวง ว่าจะลงไปตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
          การอุบั ติขึ้ นมาของพระโพธิ สั ต ว์ จ ากสวรรค์ ชั้ น ดุ สิ ต มาอุ บัติ ในโลก
มนุษย์มี พระนามว่า “สิทธัตถะราชกุมาร ” ท่ ามกลางเหล่ านั กปราชญ์ ร าช
บัณฑิตและข้าราชบริพารทั้งมวล แม้แต่พระราชบิดาคือพระเจ้าสุทโธทนะก็
อยากจะให้ เ ป็ น พระเจ้ า จั ก รพรรติ ตามคำา ของพราหมณ์ ทั้ ง ห่ ล ายที่ ไ ด้
พยากรณ์ว่ามีคติเป็นสอง ถ้าออกบวชก็จะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้า
ครองเพศฆราวาสก็จะได้เป็นพระเจ้ าจักรพรรติมีอำา นาจยิ่ งใหญ่ ตลอดทั่ว
ขอบเขตขัณฑสีมามีมหาสมุทรทั้งสี่ด้านเป็นขอบเขตจะเป็นเมืองขึ้นทั้งหมด
แน่ น อนว่ า วิ สั ย ความเป็ น กษั ต ริ ย์ ย่ อ มต้ อ งการความยิ่ ง ใหญ่ ที่ จ ะมี อำา นาจ
ปกครองไปทั่วทุกสารทิศ ฉะนั้น พระเจ้าสุทโธทนะจึงมุ่งหวังเป็นที่สุดว่าน
ครกบิลพัสตุ์จะเป็นดินแดนของพระเจ้าจักรพรรติที่ยิ่งใหญ่
          แต่ว่าพระบารมีของพระโพธิสัตว์ที่ได้สั่งสมมา แม้ว่าจะถูกปิดล้อมด้วย
วิธีการต่าง ๆ อันบำาเรอให้ได้รับความสุขอย่างมากมาย แต่ก็ไม่สามารถที่จะ
สกัดกั้นได้ ตลอดเวลา ๒๙ ปีที่อยู่เฉพาะในพระราชวัง ทำา ให้เกิดความ
รู้สึกว่าอยากจะออกประพาสนอกราชอุทยานบ้าง จึงได้ชวนนายฉันนะออก
เที่ยวประพาสนอกราชอุทยาน ทวยเทพทั้งหลายก็ได้โอกาสแสดงนิมิตให้
เห็นว่า ในโลกนี้มีการเกิด การแก่ การเจ็บการตาย สุดท้ายก็ได้เห็นสมณะ
ทำาให้พระทัยของเจ้าชายสิทธัตถะโน้มเอียงไปในทางออกบวช เพราะมอง
เห็นว่าชีวิตไม่เห็นมีอะไรที่จะมั่นคงเป็นสิ่งที่เที่ยงแท้ เกิดแล้วก็แก่ แก่แล้วก็
เจ็ บ ในที่ สุ ด ก็ ต้อ งตาย แม้เ ราเองก็ จั กต้ อ งตายอย่ า งนี้ พ้ น ไปไม่ ไ ด้ แล้ ว
ประโยชน์อะไรที่เราจะได้ความยิ่งใหญ่ในการเป็นพระเจ้ าจักรพรรติ อย่า
กระนั่ นเลย เราก็จ ะไม่พ้ นจากความตาย สั ต ว์ ทั้ งหลายก็ ไม่ พ้ นจากความ
ตาย ก็ทรงมองเห็นว่า กลางคืนมี ก็ยังมีกลางวั น การตายก็ยั งมีการเกิด
เมื่อการตายมี การไม่ต้องตายก็ต้องมี เมื่อการเกิดมี การไม่ต้องเกิดก็ต้องมี
เหมือนกัน แต่ยังไม่มีใครค้นพบ ใครเล่าจะเป้นผู้ค้นหาหนทางที่จะให้พ้น
จากความเกิดและความตายได้ พระองค์โน้มเอียงไปในทางเหตุผ ล มอง
เห็นชีวิตทุกชีวิตไม่ล่วงพ้นจากความเกิดแก่เจ็บตายไปได้ มีทางเดียวคือเรา
ต้ อ งแสวงหาทางพ้ น จากการเกิ ด แก่ เ จ็ บ และตายให้ ไ ด้ นั่ น ก็ คื อ การเป็ น
สมณะจึงปรารภการออกบวช
       ในที่สุดพระโพธิสัตว์หรือมหาบุรุษ ก็ได้ออกบวชแสวงหาทางพ้นทุกข์
โดยวิธีการปฏิบัติตามประเพณีของคนเก่าว่ า ถ้าทำา ให้ทุกข์จนถึงที่สุดแล้ว
ทุกข์ก็จะหมด ก็ทรงบำา เพ็ญทุกกรกิ ริ ย า กระทำา อย่างคนสมั ยนั้ นทำา ไม่ ได้
แม้ส มัย นี้ ก็ทำา ไมได้ เช่น ทรงกัด ฟันเอาลิ้ นดุ น เพดาลให้ แรงที่ สุ ด ไม่ มี
ใครทำา ได้ ทรงกลั้ นลมหายใจจนกระทั่ ง ไม่ ต้ อ งหายใจทางจมู ก แต่ ใช้ หู
หายใจแทนได้ เพื่อจะทำา ให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์ แต่ว่าลมหายใจก็ออกทางหู
ชีวิตก็อยู่ได้ ไม่ใช่เป็นการทำา ลายชีวิต แต่ทำาเพื่อให้ทุกข์ถึงที่สุด หายใจ
เข้ า ลมเข้ า ทางหู หายใจออกลมออกทางหู ก็ ไ ม่ เ ห็ น ทางพ้ น ทุ ก ข์ ทรง
กระทำา จนกระทั่งมองเห็นว่า ทุกข์อย่างนี้ไม่มีใครทำา ได้ แต่เราทำา ได้ แต่
ประโยชน์ จ ากการที่ เ ราทำา ได้ มั นไม่ มี ป ระโยชน์ อ ะไรเลย ตั้ งแต่ อ ดี ต จน
ปัจจุ บัน แม้ในอนาคตก็ไม่มีใครทำา ได้เกิ นกว่ านี้ ถึงแม้จะมี ใครทำา ได้ เกิ น
กว่านี้ก็จะไม่ได้รับประโยชน์อะไรจากตรงนี้เลย ทรงมองเห็นว่า ไม่ใช่ทาง
นี้แน่ที่จะทำาหใพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดได้
       พระองค์น้อมจิตระลึกถึงตอนทรงพระเยาว์เมื่ออายุ ๗ พรรษา ได้เคย
กระทำาอานาปานสติจนได้ปฐมฌาน
ถ้ า กระนั้ น เราควรย้ อ นไปบำา เพ็ ญ เพี ย รทางจิ ต คงจะดี ก ว่ า ก็ เ ลยบริ โ ภค
อาหารให้ร่างกายได้รับความสมบูรณ์ เมื่อร่างกายพอเพียงที่จะบำาเพ็ญเพียร
ทางใจได้ แ ล้ ว ก็ เ ริ่ ม บำา เพ็ ญ เพี ย รทางใจด้ ว ยการกระทำา อานาปานสติ จ น
บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ปัญจมฌาน บรรลุถึงอา
กาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญา
นาสัญญายตนะ ทรงกระทำา จนที่สุ ดสมาธิได้ค รบ ก็ยังไม่บรรลุธ รรม แต่
ด้ ว ยจิ ต ที่ อ าศำ ย ความตั้ ง มั่ น ละเอี ย ดอ่ อ นและมี พ ลานุ ภ าพ ในขณะที่ ไ ด้ รู ป
ฌานและอรู ป ฌาน จิ ต ก็ โ น้ ม เอี ย งไปถึ ง อดี ต ปรากฏว่ า เห็ น ชี วิ ต ของ
พระองค์ด้วยปัญญาว่า ได้เกิดเป็นอะไรบ้าง ระลึกชาติได้ โดยการระลึ ก
ย้อนหลังไปเป็นอเนกชาติ มองเห็นชีวิตวา ชีวิตตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย
ไม่รู้จักจบสิ้น ในปฐมยามนี้เรียกว่าได้บรรลุปุพ เพนิ ว าสานุส สติ ญาณ ใน
มัชฌิมยามได้บรรลุจุตูปปาตญาณ คือได้ตาทิพย์ มองเห็นสรรพสัตว์ที่ทำาดี
บ้ า งชั่ ว บ้ า งแล้ ว ไปเกิ ด ยั ง สถานที่ ต่ า ง ๆ ชี วิ ต ของสรรพสั ต ว์ ก็ เ ป็ น ไปตาม
อำา นาจสาของกรรมเจตนาของตน ผลของความสุ ข ความทุ ก ข์ ล้ ว นมี เ หตุ
ปั จ จั ย การปฏิ ส นธิ แ ละการจุ ติ ข องสรรพสั ต ว์ พ ระองค์ รู้ ห ามด นี้ คื อ
จุตูปปาตญาณซึ่งเป็นอภิญญาจิตขั้นที่สองที่เกิดข้น จนกระทั่งถึงปัฉิมยาม
ปั ญ ญาก็ ไ ด้ ห ยั่ ง เห็ น ความเป็ น ไปของรู ป นาม เห็ น การเกิ ด ดั บ ของรู ป ราม
พระองค์ทรงมองเห็นว่า แม้ชีวิตของพระองค์และของสรรพสัตว์ผ่านมาก็ไม่
เห็นมีอะไรเลยนอกจากรูปกับนาม แม้รูปและนามนี้ก็เป็นที่พึ่งไม่ได้ ไม่ได้มี
แก่นสารอะไรเลย เกิดแล้วก็ดับ ๆ แล้วก็เกิด ( ภาษาชาวบ้านเรียกว่า เกิด
เพื่อตาย ตายเพื่อเกิด ) ไม่รู้จักจบสิ้น
         ฉะนั้น ในขณะที่พระองค์เห็นขันธ์ ๕ หรือรูปนามเกิดดับ เห็นความ
เป็นไปของอายตนะที่เกิดสืบต่อเนื่องกันไปอย่างไม่ขาดสาย ปัญญาที่รู้แจ้ง
เห็นความเป็นจริงของรูปนามว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา นี้เรียกว่า
วิปัสสนาปัญญา และปัญญาที่เรียกวิปัสสนานี้ก็ได้เกิดขึ้นในอาสวักขยญาณ
นี้เอง และการปฏิญญาว่า “เราเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ” ก็ได้เกิดขึ้นแก่
พระองค์
         พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ได้ พิ จ ารณาถึ ง ปั จ จั ย ของชี วิ ต ว่ า มี ปั จ จั ย ที่
เกี่ยวข้องกับชีวิตอะไรบ้าง แท้จริงมีแต่รูปกับนาม และรูปนามในแต่ละภพ
ชาติก็มีความไม่เที่ยง เกิขึ้นแล้วตั้งอยู่ดับไปสืบต่อเนื่องไปอย่างไม่ขาดสาย
พระองค์ท รงหาปัจจัย ที่จ ะทำา ให้ รู้ ว่ า อะไรเป็ นเหตุ เป็ นปั จ จั ย ของความแก่
และความตาย เพราะว่าการเกิดพระองค์ก็ได้มาแล้ว สิ่งที่รออยู่คือความ
แก่และความตาย พระองค์ก็ทรงสาวหาสาเหตุว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ ชรา
มรณะจึ งมี เพราะการมีโดยที่ ไม่ มี อ ะไรเป็ นเหตุ เป็ น ปั จ จั ย นั้ น เป็ น ไปไม่ ได้
อาศั ย ปั ญ ญาญาณที่ ทำา จิ ต ให้ แ ยบคายก็ เ กิ ด ขึ้ น โดยรู้ แ จ้ ง ว่ า เมื่ อ ชาติ คื อ
ความเกิดมี ความชรามรณะก็ต้องมี ถ้าไม่มีการเกิด ความแก่และความตาย
จั ก มี ม าแต่ ไ หน เพราะชาติ มี ชรามรณะจึ ง มี และนี้ คื อ กฏแห่ ง ปฏิ จ จสมุ
ปบาทที่พระองค์ได้พิจารณา
         ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอชาติคือการเกิดนี้จึงมี
ก็ ท รงพบว่ า เพราะภพมี ชาติ จึ ง มี คำา ว่ า ” ภพ ” มี ๒ อย่ า ง คื อ กรรมภพ
และอุปัตติภพ ซึ่งกรรมภพเป็นเหตุให้เกิดอุปัตติภพ เมื่อกรรมภพดับไปก็เกิด
เป็นอุปัตติภพ อุปัตติภพนี้คืออะไร คือขันธ์ ๕ นั่นเอง ขันธ์ ๕ คือตัวอุปัตติ
ภพที่ที่จะนำาให้เกิดอีกต่อไป เมื่ออุปัตติภพคือขันธ์ ๕ เกิด ซึ่งขันธ์ ๕ เกิด
นั่นแหละคือชาติ ฉะนั้น เมื่อชาติมี เพราะมีภพเป็นเหตุปัจจัยคือการทำากุศล
กรรมบ้าง อกุศลกรรมบ้าง
ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ ภพคือกรรมภพและ
อุปัตติภพนี้จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะอุปาทานได้แก่ การยึดมั่นถือมั่นนี้มี
อยู่ ภพจึงมี อุปาทานมี ๔ อย่างคือ อัตตวาทุปาทานได้แก่ ความยึดมั่นถือ
มั่นว่าเป็นตัวเราเป็นของเรา กามุปาทานได้แก่ ความพอใจรักใคร่ในกาม
ทิฎฐุปาทานได้แก่ การเห็นผิดจากทำานองคลองธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน
ไว้ และสี ลั พ พตุ ป าท าน ได้ แ ก่ การถื อ ผิ ด ปฏิ บั ติ ผิ ด จาก ห ลั กก าร ที่
พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ซึ่งอุปาทานเหล่านี้ก็เป็นเหตุให้เกิดการทำากรรม
        ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ อุปาทานคือการยึด
มั่นถือมั่นนี้จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะตัณหาได้แก่ความทะยานอยากยินดี
ติดใจในอารมณ์ต่าง ๆ มีอุปาทานจึงมี ซึ่งความยินดีติดใจ ความปรารถนา
อยากได้ นี้ ก็ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด การยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ได้ ฉะนั้ น ตั ณ หาจึ ง เห็ น
สาเหตุให้เกิดอุปาทาน
        ทรงสาวหาสาเหตุ ต่ อ ไปอี ก ว่ า เมื่ อ อะไรมี อ ยู่ ห นอ ตั ณ หาคื อ ความ
ทะยานอยากยินดีติดใจในอารมณ์ต่าง ๆ
จึ ง มี ก็ ท รงทราบว่ า เวทนาได้ แ ก่ การเสวยอารมณ์ ถ้ า ทำา ให้ เ กิ ด สุ ข ก็
ปรารถนาอยากได้ ถ้าทำาให้เกิดทุกข์ก็ไม่ปรารถนาอยากได้ ดิ้นรนแสวงหา
เฉพาะอารมณ์ที่เป็นสุข ฉะนั้น เวทนาจึงเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดตัณหา
        ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ เวทนาคือการเสวย
อารมณ์ นี้จึ ง มี ก็ท รงทราบว่ า เพราะผั ส สะได้ แ ก่ การกระทบกั บ อารมณ์
และเพราะการกระทบกับอารมณ์มี การเสวยอารมณ์ก็จึงต้องมี ถ้าไม่มีการก
ระทบอารม การเสวยอารมณ์จักมีแม่แต่ไหน ฉะนั้น ผัสสะจึงเป็นเหตุปัจจัย
ให้เกิดเวทนา
        ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ ผัสสะคือการกระทบ
กับอารมณ์นี้จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราอายตนะได้แก่ อายตนะภายในและ
อายตนะภายนอกเป็นที่ต่อกับอารมณ์ ทำาให้เกิดสฬายตนะ มีอายตนะเมื่อไร
ผัสสะก็ต้องมีเมื่อนั้น ฉะนั้น อายตนะจึงเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดผัสสะ
        ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ อายตนะคือที่ต่อนี้จึง
มี ก็ทรงทราบว่า เพราะนามรูปมี
นามนี้คืออะไร นามนี้คือเจตสิกที่ประกอบปรุงแต่งจิต ส่วนรูปนี้คืออะไร รูป
นี้คือกัมมัชรูป ที่ทำาหน้าที่ต่าง ๆ ในส่วนของร่างกาย ฉะนั้น นามรูปนี้เอง
เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดอายตนะ
        ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ นามรูปคือขันธ์ ๕ นี้
จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะวิญญาณได้แก่ปฏิสนธิวิญญาณเป็นต้นมา นาม
เจตสิกและกัมมัชรูปจึงมี แล้วมีปวัตติวิญญาณเป็นตัวสืบต่อ วิญญาณนี้จึงมี
๒ อาจมี ผู้ ส งสัย ว่า วิญ ญาณคื อ อะไร ในชี วิ ต ถ้ า ถื อ ปั จ จุ บั น ชี วิ ต เริ่ ม ต้ น
ใหม่ ต รงที่ มี ป ฏิ ส นธิ วิ ญ ญาณเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ปฏิ ส นธิ วั ญ ญาณหยั่ ง ลงสู่ ค รรภ์
มารดา จากนั้นเก้าเดือนหรือสิบเดือนก้คลอดออกมา ฉะนั้น วิญญาณนี้เป็น
เหตุปัจจัยให้เกิดนามรูป
          ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ วิญญาณคือปฏิสนธิ
วิญญาณนี้ จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะสังขารได้แก่เจตนาในการทำา กรรม
และในที่ นี้หมายถึงปุพพเจตนา คือความปรารภในการทำา กรรม เจตนาที่
เรียกว่าสังขารนี้ได้แก่ ปุญญาภิสังขาร คือเจตนาที่ปรุงแต่งให้เป็นบุญ อ
ปุ ญ ญาภิ สั ง ขาร คื อ เจตนาที่ ป รุ ง แต่ ง ให้ เ ป็ น บาป อเนญชาภิ สั ง ขาร คื อ
เจตนาที่ปรุงแต่งให้ได้วิญญาณในอรูปฌาน ฉะนั้น เจตนาซึ่งเป็นตัวกรรม
ทั้งสามอย่างนี้เองเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดวิญญาณ เรียกว่าปฏิสนธิวัญญาณ
          ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ สังขารคือเจตนาที่
ปรุงแต่งให้เป็นกุศลบ้าง เป็นอกุศลบ้าง เป็นวิญญาณให้ได้ในอรูปฌานบ้าง
จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะอวิชชาได้แก่ความไม่รู้ความเป็นจริง เพราะไม่รู้
ความเป็นจริงของชีวิตจึงทำา ให้เกิดการเพาะบ่มเรื่อย ๆ และจากการเพราะ
บ่มอวิชชาคือความไม่รู้ในปัจจุบันนี้เรื่อย ๆ จนกระทั่งก่อนตาย จึงเป็นเหตุ
ปัจจัยให้เกิดสังขาร ๆ ก็เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดวิญญาณ ๆ ก็เป็นเหตุปัจจัยให้
เกิดนามรูปอีกต่อไปไม่รู้จักจบสิ้น                หาเงื่ อ นปมตรงไหนไม่ เ จอเลยวน
เวียนอยู่อย่างนี้ไม่รู้จักจบสิ้น
          ที่เล่ามาทั้งหมดนี้เพื่อชี้ให้เห็นว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหลังจากที่ได้
อภัญญาจิตครั้งที่หนึ่ง คือปุพเพนิวาสานุสสติญาน ต่อจากนั้นก็ได้อภัญญา
ขั้นที่สอง คือจุตูปปาตญาน เมื่อได้อภิญญาทั้งสองขั้นแล้ว พระองค์ก็ทรง
เอาอภัญญาทั้งสองขั้นนั้นมาเป็นบาทในการเจริญวิปัสสนา กำาหนดรู้รูปนาม
ที่ เ กิ ด ในอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น และเห็ น ความเป็ น จริ ง่ ข องรู ป นามตั้ ง แต่ อ ดี ต
จนถึงปัจจุบันมีแต่ทุกข์ทั้งสิ้น เพราะการเวียนว่ายตายเกิดมีเพราะมีรูปนาม
ก็ทรงหาว่าการเวียนว่ายตายเกิดมาจากอะไร ก็ตามหลักปฏิจจสมุปบาทที่ได้
กล่าวมาแล้วนั่นเอง

        พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงคันพบปัจจัยของชีวิตตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
จนเห็ น ความเ ป็ น จริ ง ข อ งน ามรู ป แล้ ว ว่ า นามรู ป นี้ ไ ม่ เ ที่ ย งผั น แ ป ร
เปลี่ยนแปลง นามรูปนี้เป็นทุกข์ บังคับบัญชาอะไรไม่ได้เลย ไม่ว่าจะกี่ภพกี่
ชาติ เกิดแล้วต้องผันแปรเปลี่ยนแปลง มีแต่ทุกข์คือคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
บั งคั บ ให้ เที่ย งหรือ ให้สุข ก็ไม่ได้ เห็ นมาตั้ งแต่ อ ดี ต จนถึ งปั จ จุ บันก็ มี ส ภาพ
อย่างนี้ ปัญญาจึงเกิด เมื่อปัญญาเกิดเห็นนามรูปไม่ เที่ยง เป็นทุกข์ เป็ฯ
อนัตตาเช่นนี้ ตัณหาก็ไม่ส ามารถจะเกิ ดได้ ในที่สุ ดเมื่อ ปัญ ญารู้แจ้งแทง
ตลอดถึงทุกข์ได้ ตัณหาก็ดับ คำาว่าตัณหาดับหรือดับตัณหาได้ก็เรียกได้ว่า
เข้าถึงนิโรธ เมื่อเข้าถึงนิโรธได้ จิตที่ทำาหน้าที่เห็นความเป็นจริงของตัณหา
และเห็นความเป็นจริงของทุกข์ เมื่อนั้นตัณหาก็ดับ เมื่อตัณหาดับ จิตก็มี
นิ พพานเป็ นอารมณ์ และความดั บ ของตั ณ หานั่ นเองคื อ นิ พ พาน เมื่ อ จิ ต มี
นิพพานเป็นอารมณ์ได้ มรรคจิตก็เกิดและจะประหารทิฏฐิคตสัมประยุตต์ใน
โลภมูลจิต ประหารทิฏฐิคตวิปปยุตในโลภมูลจิต ประหารโมหสัมประยุตต์ได้
หมด ความสำาเร็จเป็นพระอรหันต์ก็ได้เกิดขึ้น ทรงรู้แจ้งในข่ายพระญาณว่า
ทุกข์เป็นกิจที่ควรรู้ เราได้รู้แล้ว สมุทัยคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นกิจที่ควรละ
เราได้ประหารแล้ว นิโรธคือความดับทุกข์ เป็นกิจที่ควรทำาให้แจ้ง เราก็ได้
ทำา ให้แจ้งแล้ว มรรคคือหนทางปฏิบัติเพื่อให้ถึงความดับทุกข์เป็นกิจที่ควร
เจริญ เราก็ได้เจริญแล้ว ความเป็นผู้บริสุทธิ์หมดจดได้บังเกิดขึ้นแก่เราแล้ว
การเปล่งอุทานว่า เราได้เป็นผู้ที่ถึงแล้ว เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
แล้ว จึงได้เกิดขึ้นแก่พระองค์
        จึงพอสรุปที่มาของอริยสัจ ๔ ได้ว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบำาเพ็ญ
เพียรทางจิต เจริญสมถกรรมฐานด้วยอานาปานสติจนกระทั่งได้ปัญจมฌาน
และทรงเจริญปัญจมฌานจนได้อรูปฌาน ๔ ต่อจากนั้นอภิญญาจิตก็เกิด
อภิญญาจิตเกิดในปฐมยาม เรียกว่าปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณที่สอง
เกิดขึ้นในมัชฌิมยาม เรียกว่าจุตูปปาตญาณ และญาณที่สามคือปัฉิมยาม
เรียกว่าอาสวักขยญาณ การที่ทรงได้อาสวักขยญาณคือปัญญาที่หยั่งรู้แจ้ง
ว่า ทุกข์เราได้รู้แล้ว สมุทัยเราได้ประหารแล้ว นิโรธเราได้ทำาให้แจ้งแล้ว
มรรคเราได้เจริญแล้ว กิจที่จะต้องทำาต่อไปไม่มีอีกแล้ว ความเป็นพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าได้บังเกิดขึ้นแก่เราแล้ว นี้คือทางปฏิบัติของพระพุทธเจ้า จะเห็น
ได้ ว่ า พระองค์ สำา เร็ จ เป็ น พระพุ ท ธเจ้ าด้ ว ยวิ ปั ส สนา คื อ จากปฐมฌานถึ ง
ปัญจมฌาน จากปัญจมฌานถึงอรูปฌานเป็นสมถะ หลังจากนั้นอภิญญาจิต
ก็เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลของสมถะ อภิญญาจิตที่เป็นผลของสมถะนี้คือ ปุพเพนิ
วาสานุ ส สติ ญ าณ และจุ ตู ป ปาตญาณ ส่ ว นอาสวั ก ขยญาณได้ จ ากการ
กำาหนดรู้นามรูป เห็นนามรูปในอดีตชาติทั้งหมดจนถึงปัจจุบัน ก็อยู่ในฐานะ
อย่างเดียวกัน คือเห็นนามรูปไม่เที่ยง เป็นฯทุกข์ผันแปรเปลี่ยนแปลงมาโดย
ตลอด เป็นอนัตตาคือบังคับบัญชาอะไรก็ไม่ได้ ตรงนี้เองคือวิปัสสนา และ
วิปัสสนาต้องมีนามรูปเป็นอารมณ์ จึงจะเห็นนามรูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา จะมีอย่างอื่นเป็นอารมณ์ไม่ได้ ฉะนั้ น พร ะ พุ ท ธ เ จ้ าจึ ง ต รั ส รู้ ด้ ว ย
วิ ปัส สนาญาณ และญาณที่เกิด จากวิ ปัส สนานี้ เ รี ย กว่ า อ า ส วั ก ข ย ญ า ณ
และการตรัสรู้ของพระองค์นี้ก็คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ จึงทำาให้พระองค์เป็นเป็น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า นี้คือประวัติที่มาของอริยสัจ ๔

                               ความหมายของอริยสัจ
      ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านแสดงอริยสัจโดยพิสดาร อริยสัจ ๔ คือ
           ๑. ทุกข์ ความไม่สบายกายความไม่สบายใจ
           ๒. สมุทัย เหตุเกิดแห่งทุกข์ คือตัณหา
           ๓. นิโรธ ความดับทุกข์
๔. มรรค ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
      ธรรม ๔ ประการนี้ที่ชื่อว่า อริยสัจ เพราะมีความหมาย ๔ ประการ
คือ
              1. เพราะพระอริยเจ้ามีพระพุทธเจ้าเป็นต้นแทงตลอด
              2. เพราะเป็นของจริงสำาหรับพระอริยเจ้า
              3. เพราะทำาให้ผู้แทงตลอดสำาเร็จเป็นพระอริยเจ้า
              4. เพราะเป็นของจริงอันประเสริฐ
       พระธรรมปิฎก ( ป. อ. ปยุตฺโต ) ได้ให้ความหมายของคำาว่า
“อริยสัจ” คือ ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ, ความจริง
ที่ทำาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ : ARIYASACCA :THE FOUR NOBLE
TRUTHS
       1. ทุกข์ ( ความทุกข์, สภาพที่ทนได้ยาก, สภาวะที่บีบคั้น ขัดแย้ง
                       บกพร่อง ขาดแก่นสารและความเที่ยงแท้
       ไม่ให้ความพึงพอใจแท้จริง, ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบ
กับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพราก-
       จากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวัง โดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ ๕
       เป็นทุกข์ – DUKKHA : SUFFERING; UNSATISFACTORINESS )
    2. ทุกขสมุทัย ( เหตุเกิดแห่งทุกข์, สาเหตุให้ทุกข์เกิด ได้แก่ ตัณหา ๓
       คือ กามตัณหา ภวตัณหา
        และ วิภวตัณหา -- DUKKHA –SAMUDAYA : THE CAUSE OF
SUFFERING ; ORIGIN OF
       SUFFERING )
    3. ทุกขนิโรธ ( ความดับทุกข์ ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป, ภาวะที่
       เข้าถึงเมื่อกำาจัดอวิชชา
       สำารอกตัณหาสิ้นแล้ว ไม่ถูกย้อม ไม่ติดข้อง หลุดพ้น สงบ ปลอด
โปร่ง เป็นอิสระ คือ นิพพาน –
       DUKKHA – NIRODHA : THE CESSATION OF SUFFERING ;
EXTINCTION OF SUFFERING )
    4. ทุ กขนิโ รธคามินี ป ฏิ ปทา ( ปฏิ ป ทาที่ นำา ไปสู่ ค วามดั บ แห่ ง ทุ ก ข์ , ข้ อ
       ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่
       อริยอัฎฐังคิกมรรค หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า
       “ทางสายกลาง” มรรคมีองค์ ๘ นี้
       สรุปลงในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา -- DUKKHA –
       NIRODHA : THE PATH LEADING TO
       THE CESSATION OF SUFFERING )
       ฉะนั้ น ความหมายของอริ ย จั จ ตามที่ ย กมา คงจะพอมองเห็ น และ
       เข้าใจได้ว่า อริยสัจ ๔ คืออะไร ก็คือ
ความจริงอันประเสริฐ ความจริงอันประเสริฐ ชื่อว่าอริยสัจ และหมายถึง
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เท่านั้น
อย่างอื่นไม่ถือว่าเป็นความจริงอันประเสริฐ คือ
          ๑. ธรรมที่เป้นความจริงของพระอริยบุคคลทั้งหลายชื่อว่าอริยสัจ มี
บาลีว่า อริยานิ ตถานิ สจฺจานิ อริยสจฺจานิ แปลว่า สัจจะทั้ง ๔ ที่เป้น
ความจริงอันประเสริฐนั่นแหละ ชื่อว่า อริยสัจ
          2. อริย านำ สจฺจ านิ อริย สจฺ จ านิ แปลว่ า ธรรมที่ เป็ นความจริ ง ของ
               พระอริยบุคคลทั้งหลาย ชื่อว่า อริยสัจ
          สรุปความหมายของอริยสัจก็คือ เป้นของจริงแท้ที่ไม่แปลผัน สิ่งที่ไม่
          กลับกลอกผันแปรไป สิ่งนั้นชื่อว่า
ประเสริฐ, ของจริงที่เป็นเหตุให้ผู้ที่ได้แจ้งประจักษ์นั้นเป็นผู้ประเสริฐคือเป็น
พระอริยบุคคล, และเป็นของจริงที่พระอริยเจ้าเท่านั้นที่ประจักษ์ในอริยสัจ ๔
โดยมรรคญาณ
          เมื่ อ ทราบความหมายแล้ ว มาทำา ความเข้ า ใจต่ อ ว่ า ความจริ ง อั น
ประเสริฐนั้นคืออะไร เพราะความเป็นจริงที่ประเสริฐก็มี ความเป็นจริงที่ไม่
ประเสริฐก็มี ต้องทำาคามเข้าใจให้ได้วา ความจริงที่ประเสริฐมี ๔ อย่าง
นอกจากนั้น เป็นความจริงที่ไม่ประเสริฐเลย ดังนั้น เมื่อจะหาความจริงอัน
ประเสริ ฐ เราก็ ต้ อ งหาได้ จ ากอริ ย สั จ ๔ เท่ า นั้ น จึ ง จะได้ ชื่ อ ว่ า รู้ สิ่ ง ที่
ประเสริฐ เข้าถึงสิ่งที่ประเสริฐ ได้สิ่งที่ประเสริฐ                  ถ้ า ไม่ เ คยนึ ก คิ ด มาก่ อ น
ว่า
สิ่งที่ประเสริฐที่พระอริยบุคคลทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ตรัสว่าประเสริฐ
นั้นก็คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
          อาจจะตะลึ ง โดยไม่ เ คยคาดคิ ด มาก่ อ นว่ า ทุ ก ข์ นั่ น หรื อ คื อ สิ่ ง ที่
ประเสริฐ สมุทัยนั่นหรือ คือสิ่งที่ประเสริฐ
รู้ สึ ก ว่ า มี นำ้า หนั ก เบาไป รู้ สึ ก จะไม่ เ ห็ น ด้ ว ย แต่ ถ้ า กล่ า วว่ า นิ โ รธ หรื อ
มรรค เป็นสิ่งที่ประเสริฐ รู้สึกจะว่าจะมีนำ้าหนักดีฟังแล้วเห็นด้วย                          แ ต่ ข อ
ให้ทำาความเข้าใจให้ได้ว่า นี้คือพุทธวจนะที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้
          พระพุทธเจ้าทรงมองเห็นว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่ประเสริฐ สมุทัยก็เป็นสิ่งที่
ประเสริฐ นิโรธก็เป็นสิ่งที่ประเสริฐ
มรรคก็เป็นสิ่งที่ประเสริฐ ความเข้าใจของคนสามัญทั่วไปอาจจะทวนกระแส
นี้ ซึ่งทุกข์เราก็ไม่อยากได้ยิน ไม่อยากได้ ไม่อยากพบเจอ และไม่อยาก
เห็นด้วย เพราะโดยทั่วไปคนเราไม่ค่อยคิดไม่ค่อยสนใจเรื่องเหล่านี้เลย
แต่ถ้าคนเรามีความเข้าใจในเรื่องเหล่านี้แล้ว จะเกิดประโยชน์อย่างมากที
เดียว ถ้าไม่เข้าใจเรื่องเหล่านี้ ประโยชน์ก็จะไม่เกิดเลย จึงอยากให้มีความ
เข้าใจในสิ่งที่ประเสริฐเหล่านี้บ้าง แต่จะขยายความเฉพาะอริยสัจเพียงข้อ
แรกเท่านั้นคือเนื้อความของทุกข์
เนื้อความของ “ทุกข์”ในอริยสัจ
       เนื้อความของ ”ทุกข์” ที่รู้จักและพอจะคุ้นเคย ก็คือทุกข์ที่พระพุทธเจ้า
แสดงไว้ ใ นธรรมจั ก รกั ป ปวั ต นสู ต รและรั ช กาลที่ ๔ ตั ด เอาเน้ อ ความจาก
ธรรมจักรมาไว้ในบทสวดมนต์ทำาวัตรเช้า – เย็น ดังนี้
                                 สภาวะทุกข์
              พระบาลีพุทธวจนะ                            คำาแปล
       อิทำ โข ปน ภิกฺขเว                                ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย นี่
แ                            ห                         ล                          ะ
       ทุกฺขำ อริยสจฺจำ                            ทุกข์อย่างแท้จริง คือ :
       ชาติปิ ทุกฺขา                               แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์
       ชราปิ ทุกฺขา                                แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์
       มรณมฺปิ ทุกฺขำ                              แม้ความตายก็เป็นทุกข์
                                 ปกิณณกทุกข์
       - โสก                                       ความเศร้าโศก, ความแห้งใจ
       - ปริเทว                              ความรำ่าไรรำาพัน, ความครำ่าครวญ
       - ทุกฺข                                     ความไม่สบายกาย
       - โทมนสฺส -                                 ความไม่สบายใจ
       - อุปายาสาปิ ทุกฺขา                         ความคับแค้นใจ, ก็เป็นทุกข์
       - อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค            ทุกฺโข                   ความประสบสิ่ ง ไม่
เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์
       - ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข                   ความพลั ด พรากจากสิ่ ง เป็ น
ที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์
       - ยมฺปิจฺฉำ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขำ                   มี ค วามปรารถนาสิ่ ง ใน
ไม่ได้สิ่งนั้น นั้นก็เป็นทุกข์
                                 ทุกข์โดยสรุป
       สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทา นกฺขนฺธา ทุกฺขา                     ว่ า โ ด ย ย่ อ
อุ ป า ท า น ขั น ธ์ ทั้ ง                      ๕      เ ป็ น ตั ว ทุ ก ข์
นี้คือทุกข์ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ แต่ถ้าอ่านเพียงเท่านี้ ก็อาจจะไม่เข้าใจ
ทุกข์ได้ เพราเนื้อความของทุกข์จริง ๆ แล้วมีมากกว่านี้ ก็ลองมาทำาความ
เข้าใจต่อไป
       ทีนี้มาทำาความเข้าใจอีกว่า ทุกข์ที่ว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐนั้น ถ้าหากใคร
ไปดูไปรู้ไปเห็นทุกข์ ได้ชื่อว่าประเสริฐ คือใครรู้ทุกข์แล้ว ผู้นั้นจะได้เป็น
พระอริยะ ผุ้นั้นจะเป็นผู้หมดจดจากกิเลสได้ อย่างนี้ไม่เรียกว่าประเสริฐอีก
หรือ รู้เงินรู้ทองรู้วิธีการทำาเงินทำาทอง รู้วิธีการทำาการเกษตรการผลิต รู้
เทคโนโลยีที่ทันสมัยต่าง ๆ
เป็นต้ น รู้เรื่อ งต่าง ๆ เหล่านี้ทั้งหมด ไม่ ถือ ว่าประเสริ ฐ แต่ถ้ารู้ ว่าทุ กข์ คือ
อะไร อะไรคือทุกข์ ได้ชื่อว่ารู้ในสิ่งที่ประเสริฐแล้ว จึงควรทำา ความเข้าใจ
ให้ได้ว่า ทุกข์ที่เป็นอริยสัจนั้นคืออะไร และการเข้าไปรู้ทุกข์ก็ได้ชื่อว่ารู้ใน
สิ่งที่ประเสริฐ ฉะนั้น ทุกข์จึงเป้นอริยสัจ
          สมุทัยคือเหตุให้เกิดทุกข์ การรุ้สมุทัยและละสมุทัย ทำาให้สมุทัยนั้นดับ
โดยไม่ให้สมุทัยเกิดอีกต่อไป
การรู้ทุกข์ และดับสมุทัยตามกิจของอริสัจได้ ก็เป็นเหตุให้เข้าถึงความเป็น
พระอริยบุคคลได้ เพราะฉะนั้นทุกข์กับสมุทัยก็เป็นต้ นเหตุให้เข้าถึงคามเป้
นพระอริยบุคคลได้
          สิ่งที่ประเสริฐนั้น ไม่ใช่สุข แต่เป็นทุกข์ แต่ทุกข์ที่จะเป็นสิ่งที่ประเสริฐ
ได้นั้น เพราะการเข้าไปรู้ เมื่อใดปัญญาเกิดรู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกข์คือ
อะไร อะไรคื อ ทุ ก ข์ และยอมรั บ ความเป้ ฯ จริ ง เมื่ อ นั้ น ถื อ ว่ า มี ส มบั ติ ที่
ประเสริฐ ฉะนั้น ควรทราบว่า ความเป็นจริงที่ประเสริฐก็มี ความเป็นจริงที่
ไม่ประเสริฐก็มี และความเป็นจริงที่ประเสริฐนั้นก็มีเพียงสี่อย่างเท่านั้น ความ
จริงนอกจากสี่อย่างนี้ถือว่าไม่ประเสริฐเลย ถ้าเรายังรู้และไม่เข้าใจในสิ่งที่
ประเสริฐคืออริยสัจนี้ ก็ถือว่ายังตกอยู่ในความมืดบอด
          จะเห็ นได้ว่า ทางเดินของชี วิ ต ของคนเราในปั จ จุ บัน จะสวนทางกั บ
พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าแสวงหาทางพ้นทุกข์ให้กับเรา แต่เราไม่แสวงหา
ทางพ้นทุกข์ เพราะเราแสวงหาทุกข์อยู่ตลอดเวลา ในขณะที่พระพุทธองค์
บอกเราว่ า ทุ ก ข์ คื อ อะไร อะไรคื อ ทุ ก ข์ เมื่ อ เราไม่ เ ข้ า ใจตรงนี้ ก็ พ ากั น
แสวงหาทางพ้นทุกข์ การแสวงหาทางพ้ นทุกข์ด้วยการเดินเข้าไปหาทุกข์
โดยที่ไม่รู้ว่านั่นคือทุกข์ เกาะทุกข์ไว้อย่างเหนียวแน่น ยึดทุกข์ไว้เป็นที่พึ่ง
ละทุ กข์ ไม่ ไ ด้ แล้ว ก็บ อกว่า อยากจะพ้ น ทุ ก ข์ เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ จ ะพ้ น ทุ ก ข์ ไ ด้
อย่างไร เพราะการแสวงหาทางพ้นทุกข์ ถ้าไม่รู้จักว่าทุกข์คืออะไร อะไรคือ
ทุ ก ข์ จะพ้ น จากทุ ก ข์ ไ ด้ อ ย่ า งไร และทางที่ จ ะให้ พ้ น จากทุ ก ข์ มี ท างเดี ย ว
เท่านั้น คือ การรู้ทุกข์ และละเหตุให้เกิดทุกข์ ก็จะทำาให้ถึงการพ้นทุกข์ได้
          อริยสัจทั้งสี่นี้ เรียกตามภาษาธรรมว่า ทุกขอริยสัจจะ สมุทยอริยสัจจะ
ทุกขนิโรธอริยสัจจะ และทุกขนิโรธคามิ นีอ ริย สัจ จะ ต้องขึ้ นต้ นด้ วยคำา ว่า
ทุกข์ทั้งหมด ฉะนั้น ควรทำาความเข้าใจให้ได้ว่า ทุกข์เป็นของดี เพราะถ้า
ทุกข์ไม่ใช่ของดี ทุกข์นี้จะไม่ได้ตำาแหน่งอริยสัจเลย เราท่านทั้งหลายอาจจะ
ไม่เคยคิดมาก่อน แต่ในการศึกษาธรรมต้องเข้าถึงเหตุผลให้ได้เพื่อจะได้รู้
แจ้งในคำาสอนของพระพุทธเจ้า ลองพิจารณาว่า ในอริยสัจนั้นมีสุขหรือไม่
ไม่มีเลย อริยสัจมีทุกข์ มีเหตุให้เกิดทุกข์ มีความดับทุกข์ และมีธรรมที่ให้
ถึงความดับทุกข์ เป็นเรื่องที่น่าคิดใช่หรือไม่ว่า ทุกข์ถูกยกขึ้นมาเป็นอริยสัจ
เป็นของประเสริฐ ถามว่าประเสริฐตรงไหน เพราะถ้าใครรู้ทุกข์แล้วจะทำาให้
ผู้ นั้ น ได้ เ ป็ น ผู้ ป ระเสริ ฐ และสมุ ทั ย ถ้ า ใครละแล้ ว จะทำา ให้ ผู้ นั้ น ได้ เ ป็ น ผุ้
ประเสริ ฐ นิโรธคือ นิพพาน ถ้าใครทำา ให้ แจ้ งแล้ ว ก็ จะทำา ให้ ผู้ นั้นเป็ นผู้ ที่
ประเสริฐ ส่วนมรรคได้ชื่อว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ เพราะถ้าใครเจริญมรรคได้
แล้ ว ผู้ นั้ น ก็ จ ะได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ผู้ ที่ ป ระเสริ ฐ ฉะนั้ น ผู้ ที่ เ ข้ า ถึ ง อริ ย สั จ ทั้ ง สี่
ประการ จึงชื่อว่าเป้นผู้ที่ประเสริฐ
         ในปัจจุบันนี้ มีผู้ที่ตองการจะเข้าถึงโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี และ
                                     ้
พระอรหันต์ แต่หันหลังให้อริยสัจ ๔ ไม่ยอมศึกษาไม่ยอมปฏิบัติตามอริยสัจ
๔ ได้แต่คิดเอง พูดเอง เข้าใจเอาเอง และก็สอนตามความคิดความเข้าใจ
ของตน โดยไม่ยึดหลักที่ถูกต้องที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ จึงเกิดสัทธรรมปฏิรูป
ขึ้นมามากมายหลายสำานักดังปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน
         ควรจะได้ศึกษาให้เข้า ใจให้ ได้ ว่ า ทุกข์คืออะไร อะไรคือ ทุ กข์ จึงมี
ตำาแหน่งในอริยสัจ ๔ ได้ ถ้าเราได้รู้และเข้าใจอย่างที่พระพุทธเจ้าสอน นั่น
แหละคืออริยสัจ ๔ จริง ๆ มาเริ่มทำา ความเข้าใจต่อว่า ทุกข์คืออะไร อะไร
คือทุกข์ ความเข้าใจของคนเราโดยทั่วไปเช่น การไม่มีกินไม่มีใช้ไม่มีเงิน
ไม่มีทองก็ต้องทุกข์แน่ นั่นคือพื้นฐานความเข้าใจของคนสามัญ แต่ทุกข์ที่
จะทำา ให้เดความเป็นพระอริยมิ ใช่ มี เพี ย งแค่ นี้ มาทราบความหมาย่ าอนว่ า
ทุกข์คืออะไร ทุกข์นั้นคือ ต้องผันแปรเปลี่ ย นแปลง เกิ ดแล้ว ต้อ งดั บ และ
บั ง คั บ อะไรมั น ไม่ ไ ด้ นี่ คื อ ทุ ก ข์ และมี อ ะไรบ้ า ง ที่ เ กิ ด มาแล้ ว ไม่ ดั บ ไม่
ผันแปรเปลี่ยนแปลง และเราสามารถบังคับให้เป็นสุขได้ตลอดไป ไม่มีเลย
         ฉะนั้ น ที่ไหนมีความไม่เที่ ย งคงอยู่ ในสภาพเดิม ไม่ ได้ ที่ไหนมีความ
เป็นทุกข์ ที่ไหนมีการบังคับบัญชาอะไรไม่ได้เลย นั่นคือทุกข์ แล้วอะไรเล่า
ที่ทำา ให้เป็นไปอย่างนั้น ทราบหรือไม่ ก็ขันธ์ ๕ นั่นเอง ขันธ์ ๕ คือตัวทุกข์
และทุกข์เป็นปริเยยกิจ เป็นกิจที่ควรรุ้ เมื่อใดได้รู้ทุกข์ เมื่อนั้นได้ชื่อว่า รู้
อริยสัจข้อที่ ๑ ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้แล้ว และความประเสริฐแห่งจิตได้เกิด
ขึ้นแล้ว
         ทุ ก ข์ เ ป็ น สภาพที่ บี บ คั้ น ทนได้ ย าก ในชี วิ ต คนเราไม่ เ คยรู้ เ ลยว่ า
สภาพที่บีบคั้นและทนได้ยากนั้นมาจากอะไร ใครเป็นทุกข์ รู้อยู่อย่างเดียว
ว่า เรานี้เอง ฉันี้เองเป็นทุกข์ จะรู้อยู่เพียงแค่นี้ ไม่เคยรู้เลยว่า เราและฉัน
ไม่ได้เป็นทุกข์ แต่ที่ทุกข์คือขันธ์ ๕ เมื่อการรู้แจ้งตามความเป็นจริงยังไม่เกิด
ความเป็ น อริ ย ะก็ เ กิ ด ไม่ ไ ด้ ถ้ า เมื่ อ ใดรู้ แ จ้ ง ตามความเป็ น จริ ง แล้ ว นั่ น คื อ
ความเป็นอริยะก็เกิด
         แต่ก่อนแต่ไรมา เราไม่เคยสนใจเรื่องเหล่านี้ เรารู้อยู่อย่างเดียว เรา
อยากได้ ค วามสุ ข ดิ้นรนทุ ก วิ ถี ท างเพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามสุ ข มาตอบสนองความ
ต้องการของเรา เพราะในความต้องการของชีวิตคนเรา ไม่มีใครอยากได้
ความทุกข์ อยากได้แต่ความสุข แต่ความสุขที่ตนเองอยากได้ แท้จริงมันอยู่
ที่ ต รงไหนก็ไ ม่ รู้ ต่า งแสวงหาขั นธ์ อ ยากได้ ขั น ธ์ ต้ อ งการขั น ไม่ รู้ เ ลยว่ า
ขันธ์นั้นคือตัวทุกข์ ตัวทุกข์ที่แท้จริงมี ๒ อย่าง คือ ขันธ์ ๕ และ การเข้าไป
ยึดถือขันธื ๕ เมื่อใดมีขันธ์ ๕ เมื่อใดมีการเข้าไปยึดถือขันธ์ ๕ เมื่อนั้นมีทุกข์
แน่ น อน ถ้ า ความรู้ ค วามเข้ า ใจเกิ ด ขึ้ น แก่ เ ราว่ า นี้ คื อ ขั น ธ์ ๕ นี้ คื อ การ
เข้าไปยึดถือขันธ์ ๕ เวลาที่ทุกข์เกิดขึ้นแก่เราจริง ๆ ในชีวิตประจำาวัน เราก็
จะรู้ ว่ า ทุ กข์ นี้ไ ม่ใ ช่เ ราทุ ก ข์ มั นคื อ ขั นธ์ ๕ มั น คื อ ปั ญ จุ ป าทานขั น ธ์ เมื่ อ
ปัญหาคือความทุกข์เกิดขึ้นกับกับเรา ๆ ก็สามารถใช้ปัญญาคือความรู้ความ
เข้าใจที่ถูกต้องอย่างนี้มาใช้แก้ปัญหาได้
สิ่งที่ประเสริฐไม่ใช่สุข แต่สิ่งที่ประเสริฐคือทุกข์ และทุกข์ที่จะประเสริฐได้
นั้นเพราะการเข้าไปรู้ เมื่อใดปัญญาเกิดรู้แจ้งตามความเป็นจริงของทุกข์ว่า
ทุกข์คืออะไร อะไรคือทุกข์ แล้วยอมรับความเป็นจริงตรงนี้ได้เมื่อไร เมื่อนั้น
จะทำา ให้ เ ป็ น ผู้ มี ส มบั ติ ติ ด ตั ว คื อ การเข้ า ไปรู้ ทุ ก ข์ และสมุ ทั ย ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่
ประเสริฐได้ เพราะเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ใครรู้ได้ว่าสมุทัยเป็นเหตุให้เกิดทุกข์
และดับสมุทัยได้เมื่อไร นั่นคือมีอริยสมบัติติดตัวเช่นกัน เพราะอะไร เ พ ร า ะ
ว่าขันธ์ ๕ ที่เราได้มามี รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ท่านทั้งหลาย
อาจไม่รู้ว่าใครเป้นเจ้าของ ตอบได้เลยว่า ขันธ์ ๕ ที่มีอยู่เพราะกิเลสเป็น
เจ้าของ กิเลสที่เป็นเจ้าของตัวนี้ คือ ใคร ก็คือสมุทั ย สมุทัยทัยเป็ นชื่ อของ
ใคร เป็นชื่อของตัณหาๆ เป็นชื่อของใคร เป็นชื่อของโลภมูลจิต เมื่อใดจิตมี
โลภะเข้าประกอบเกิดขึ้น เมื่อนั้นให้รู้ว่า เหตุให้เกิดทุกข์เกิดขึ้นแล้ว เพราะ
อะไร เพราะตัณหาคือเหตุให้เกิดทุกข์ เกิดขันธ์ ๕ เกิดการเข้าไปยึดขันธ์ ๕
การที่ละเหตุให้เกิดทุกข์ละได้เมื่อใด เมื่อนั้นขันธ์ ๕ ที่เรามีอยู่ จะมีอยู่เฉพาะ
ปัจจุบันนี้ อนาคตจะไม่มี เพราะว่ าขันธ์ ๕ มีเมื่อใด ขันธ์ขันธ์ ๕ เป็นที่ตั้ง
แห่งทุกข์เมื่อนั้น
         เมื่อทุกข์เกิดเราจะไปโทษสังขารหรือขันธ์ชุดนี้ไม่ได้ เพราะว่ามันเป็น
ผลของตัณหา มันเกิดเพราะอาศัยตัณหาเป็นต้นเหตุ เมื่อตัณหาเป็นต้นเหตุ
เราจะไปทำา ลายผลคื อ อั ต ภาพชุ ด นี้ ไ ม่ ไ ด้ เช่ น ฆ่ า ตั ว ตาย กิ น ยาตาย
ปัญหาเหล่านี้เกิดจากอะไร เกิดจากคิดผิด เข้าใจผิด จึงแก้ปัญหาผิด ไม่มี
ใครบอกเราเลยว่าขันธ์ ๕ หรือรูปนามชุดนี้เป็นทุกข์ แล้วทุกข์คือขันธ์ ๕ ชุด
นี้ไม่ควรไปประหารหรือทำาลายหรือฆ่ามันเลย สิ่งที่ต้องทำาลายไม่ใช่ขันธ์ ๕
ชุดนี้ แต่ที่ควรทำาเลยและประหารฆ่าคือตัณหา ถ้าจะคิดฆ่าควรฆ่าตัณหา ผู้
ใดฆ่าตัณหาได้ คืออริยะ ตราบใดที่ยังมีตัณหา ตราบนั้นยังมีภพชาติต่อไป
         เรารู้จักทุกข์เฉพาะว่า ไม่มีกินไม่มีใช้ แต่ทุกข์ที่จะทำาให้เกิดความเป็น
พระอริยะมิได้มีเพียงแค่นี้
         ความหมายของทุกข์คือ ต้องผันแปร เปลี่ยนแปลง ทุกข์ก็คือเกิดแล้ว
ต้องดับ ทุกข์คือบังคับอะไรมันไม่ได้ นี่คือ “ทุกข์ ” มีอะไรบ้างที่เกิดแล้วไม่
ดั บ มี อ ะไรบ้ า งที่ ไ ม่ ผั น แปรเปลี่ ย นแปลง มี อ ะไรบ้ า งที่ เ ราสามารถบั ง คั บ
บัญชามันได้ตลอดไป ไม่มีเลย
ฉะนั้น ที่ไหนมีความไม่เที่ยง ที่ไหนมีความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ที่ไหน
บังคับบัญชาอะไรมันไม่ได้ ที่นั่นคือ “ทุกข์” อะไรที่เป็นอย่างนั้น คือ ขันธ์ ๕
เป็นตัวทุกข์
ทุกข์เป็นปริญเญยยกิจ ทุกข์คือสภาพที่ทนได้ยากนั่นก็คือขันธ์ ๕ แต่
ก่ อนเรารู้ อย่างเดีย วว่า เราต้องการความสุ ข ดิ้นรนทุ กวิ ถีท างเพื่ อ ให้ ด ได้
ความสุขมาตอบสนองตนเอง ในความต้องการคนเรานั้ นไม่อยากได้ค วาม
ทุกข์เล่ย อยากได้แต่ความสุข
        ตัวทุกข์ที่แท้จริงมีอยู่ ๒ อย่าง คือ ขันธ์ ๕ และการเข้าไปยึดขันธ์ ๕
เมื่อไรความเข้าใจเกิดขึ้นว่านี่คือขันธ์ ๕ นี่คือการเข้าไปยึดขันธ์ ๕ เมื่อทุกข์
เกิดขึ้นกับเรา เราก็จะรู้ทันทีว่า ทุกข์นี้ไม่ใช่เรา เป็นเพียงขันธ์ ๕ และ การ
เข้าไปยึดถือขันธ์ ๕เท่านั้นเอง
        อัตภาพชุดนี้คือผลของตัณหาที่เราได้ทำา ไว้แล้วในอดีต เมื่อเหตุสร้าง
ไว้แล้วอย่างไร ผลก็ต้องได้รับอย่างนั้น ลองส่องกระจกดูก็ได้ ส่วนตัณหา
ในปัจจุบันจักเป็นเหตุให้ได้ขันธ์ ๕ ชุดใหม่ในอนาคต จึงเรียกได้ว่าขณะนี้
เราใช้ของเก่า ส่วนของใหม่นั้นจะเป็นตัณหาหรือไม่ก็ลองพิจารณาดู เช่น
การทำาบุญกุศลต่างๆ ประกอบด้วยตึณหาความอยากหรือป่าว มีตัณหาร่วม
ด้วยหรือไม่ ทำาความดีมีตัณหาร่วมด้วยเรียกว่า วัฏฏกุศล
กุศลใดมีตัณหาเป็นเหตุปัจจัย กุศลนั้นเรียกว่าวัฏฏกุศล ยังต้องนำา เกิด แต่
เป็นการนำาเกิดที่ดี ให้สุคติเป็นที่หวัง ตัณหาครอบงำาได้ตั้งแต่มนุษย์ เทวดา
พรหม อรูปพรหม แต่ไม่เรียกว่าตัณหา เรียกว่า “สังโยชน์” คือกามสังโยชน์
เพราะว่าสภาพของกิเลสมีหลายชื่อหลายกองและหลายชนิดขนาด
        พระอรหันต์ทำา ลายทุกข์ได้ ห มดแล้ ว นั่นหมายถึ งทุ กข์ ที่ จ ะเกิ ด ต่ อ ไป
ข้างหน้าหมด แต่ทุกข์ในปัจจุบันยังมีอยู่ คือทุกข์อันเนื่องจากขันธ์ ตราบใด
มีขันธ์พระอรหันต์ยังป่วยยังเจ็บ ยังต้องกิ นต้ องดื่ม ยังมีการหิ วกระหายอยู่
แต่ว่าพระอรหันต์หมดอุปาทานขันธ์แล้ว ฉะนั้น พระอรหันต์มีชีวิตอยู่เพียง
รอโอกาส หมดอายุของขันธ์เมื่อไร ก็นิพพานเมื่อนั้น อายุของขันธ์ยังมีอยู่
พระอรหันต์ก็ไม่ขวนขวายที่จะต่อหรือทำา ลาย ถ้าพระพุทธเจ้ายังอยู่ก็จะไป
กราบลาทูลของนิพพาน แต่ถ้ากิจของพระอรหันต์ยังมีอยู่ต้องไปทำากิจนั้นให้
เสร็จ พระองค์ก็จะบอก เช่น พระสารีบุตรพิจารณาเห็นว่าอายุของขันธ์หมด
แล้ว ก็ไปทูลลาปรินิพพาน แต่พุทธเจ้าบอกว่ากิจของพระอรหันต์ยังมีอยู่ คือ
โปรดมารดา ต้องไปทำากิจตรงนั้นให้เสร็จก่อน คือโปรดพระมารดาให้บรรลุ
ธรรม
        กล่าวได้ว่า ในชีวิตคนเรามีทุกข์อยู่ ๓ อย่างคือ ทุกข์เนื่องจากขันธ์
ทุ กข์ เนื่ อ งจากกิเลส และทุกข์เนื่ อ งจากบาปอกุ ศ ลที่ ทำา ไว้ ใ นอดี ต ยึด หลั ก
พุทธพจน์ที่ว่า ยาทิสัง...
ทำา อะไรไว้ ก็จะได้รับเหมือนกัน เมื่อทำา ไว้แล้วจะถอนหรือโยกย้ายก็ไม่ได้
ไม่ว่าดีหรือชั่ว แม้แต่พระพุทธองค์เองยังต้องได้รับผลกรรมเช่นกัน ไม่มีการ
ยกเว้นแม้แต่ผู้นั้นจะเป็นพระพุทธเจ้า
เมื่ อ ทุ ก ข์ เ กิ ด ให้ ทำา ใจว่ า เราทำา ไว้ ไ ว้ เ อง ไม่ มี ใ ครทำา ให้ เ ราหรอก
เราไม่เคยโกง หรือฆ่าใคร จะมีใครมาโกงหรือ ฆ่าเราล่ ะ มีหนี้อย่างไร ก้
ต้องใช้หนี้อย่างนั้นไม่ชาติใดก็ชาติหนึ่งแน่นอน
        เรื่อของกรรมมาจากตัณหาให้ทำา กุศลหรือ อกุ ศลก็ได้ เช่น คนเกิดมา
พิการ บ้าใบ้บอดหนวก เพราะอะไร อย่าโทษพ่อแม่ไม่ดีหรือติด เชื่ อหรือมี
ใครทำา ให้ไม่ดี ต้องโทษตัวเราเอง หนี้เงินหนี้ทองต้องใช้ด้วยเงินทอง แต่
หนี้ชีวิตอันเกิดจากอกุศลกรรม จะเอาเงินไปใช้ไม่ได้ เมื่อประสบกับปัญหา
ต้องเอาปัญญามาใช้แก้ไขวางใจให้ถูกทำาใจให้ได้
        ขึ้ นชื่ อ ว่าบาปแม้ เพีย งนิด ก็ ค วรเว้ น ขึ้ นชื่ อ ว่ าบุ ญ แม้ เพี ย งนิ ด หน่ อ ยก็
ควรทำา
ตัวทุกข์ถ้าไม่เข้าใจจะเข้าใจเหตุให้เกิดทุกข์ได้อย่างไร
        ทุกขอริยสัจ คืออะไร บาลีว่า ทุกฺขำ เอว อริยสจฺจนฺติ ทุกฺขอริยสจฺจำ
แปลว่า
ทุ ก ข์ นั่ น เอง เรี ย กว่ า อริ ย สั จ คื อ ขั น ธ์ ๕ หรื อ รู ป นามนั่ น เอง ขื่ อ ว่ า ทุ ก ข
อริยสัจ
        1. ปีฬนฏฺโฐ มีสภาพเบียดเบียนเป็นนิจ เช่น เรานั่งเฉยๆ เชื่อหรือป่าว
              ว่าใครเบียดเบียนเรา ผู้เบียดเบียนเรานั่นแหละคือ ตัวทุกข์ ลองนั่ง
              เฉยๆ อะไรเกิดขึ้น ทำาไมไม่เฉยต่อไป ทำาไมต้องเมื่อยเพิ่มขึ้นๆ จน
              ในที่สุด ทนไม่ไ หวต้อ งขยั บ ๆ ทำา ไม ก็ เพราะทุ ก ข์ เ ล่ น งาน ขยั บ ที
              ทุกข์ก็ลดที นั่นแสดงว่ามีอะไรเบียดเบียนอยู่ ธรรมชาติที่เบียดเบียน
              นั่นแหละเรียกว่า “ทุกข์”
        2. สังขตฏฺโฐ ต้องปรุงแต่งอยู่เรื่อยๆ ขยับทีก็ปรุงที ถ้าไม่ปรุงไม่ไหว
              และต้องมีเหตุผลด้วย แต่เราไม่รู้ว่าเพราะเหตุไร นั่นคือทุกข์ปรากฎ
              จึง่ต้องดิ้นรน เพราะคนเราถ้ามีความสุขก็ไม่ต้อบงดิ้เนรน ที่ดิ้นรน
              เพราะว่ า ไม่ มี ค วามสุ ข และดิ้ น รนแบบไม่ รู้ ตั ว ด้ ว ย ต้ อ งดิ้ น รนอยู่
              เรื่อย เดี๋ยวขยับนิดเหยียดหน่อยในอิริยาบถต่างๆ น้อยใหญ่ ถามว่า
              ทำา ไม ต้องยืนเดินนั่งนอน เราไม่เคยรู้ เลยว่ าอิ ริ ย าบถทั้ ง ๔ เกิ ด
              จากอะไร เกิดจากทุกข์เบียดเบียน ถ้าทุกข์ไม่เบียดเบียขนก็ไม่ต้อง
              ขยับ แต่เพราะทุกข์เข้าเบียดเบียน การดิ้นรนเพื่อแสวงหาความสุข
              จึ งต้อ งเกิด การที่เราต้ องขยั บ หรื อ เปลี่ ย นอิ ริ ย าบถก็ คือ การดิ้ นรน
              ขยั บ หรื อ เปลี่ ย นแล้ ว สุ ข เกิ ด แต่ ที่ เ รี ย กว่ า สุ ข ความจริ ง เป็ น เพี ย ง
              ความทุกข์มันลดลง แต่ถ้าขยับหรือเปลี่ยนอิริยาบถแล้วทุกข์ไม่ลด
              จะทำา อย่างไร อยู่ไม่ได้ต้องวิธีแก้กินยาหรือรักษากินต่อไป รักษา
              เพื่ อ ให้ ทุ ก ข์ ล ด ถ้ า ทุ ก ข์ ล ดก็ บ อกว่ า ยาดี ค่ อ ยยั ง ชั่ ว หารู้ ไ ม่ ว่ า ที่
              บอกว่าค่อยยังชั่วเพราะทุกข์มันลด ถ้าไม่ลดก็ต้องทุกข์หนักถึงขั้น
              ตายไปเลย ในชีวิตคนเรางานที่ยิ่งใหญ่คืองานแก้ทุกข์ ไม่ใช่อย่าง
              อื่น เราอาจไม่เคยคิด แม้เวลานอนหลับยังต้องแก้ทุกข์รำ่า ไป เช่น
ทำาไมต้องพลิกซ้าย นอนๆ ไปทำาไมต้องพลิกขา พลิกไปพลิกมาตก
   เตียงยังมีเลย เราไม่เคยหาคำา ตอบตรงนี้เลย เพราะทุกข์มันบีบคั้น
   จึงต้องพลิกใช่หรือไม่ เราต้องแก้ทุกข์อยู่ตลอดเวลา แต่เราไม่เคยดู
   ไม่เคยเห็นทุกข์เลย เห็นแต่มันเป็นสุข เห็นตอนไหนที่ว่าสุข ก็เห็น
   ตอนทุกข์มันลดลง ได้แก่ความสบาย เพราะเราแสวงหาความสบาย
   จากการที่ทุ ก ข์มั นลดลง เช่ น หิง ก็ กิ น กระหายก็ ดื่ ม ปวดก็ ข ยั บ
   แต่ เ ราไม่ เ คยคิ ด เลยวิ สิ่ ง ที่ เ ราทำา อยู่ นี้ คื อ การแก้ ทุ ก ข์ เพราะ
   ทุกขเวทนาเมื่อเกิดขึ้น ต้องแก้ไข ไม่แก้ไม่ได้ เพราะฉะนั้น ความ
   สุ ข จึ ง ไม่ ถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มาเป็ น อริ ย สั จ เพราะมั น ไม่ ไ ด้ มี อ ยู่ จ ริ ง ๆ
   เพราะสุ ข ที่ เ ราได้ ม าในชี วิ ต จริ ง ๆ เป็ น เพราะทุ ก ข์ มั น ลดลง รู้
   เข้าใจ และยอมรับความเป็นจริงของชีวิตจะได้กำา ไร เราคิดเพียง
   ว่า มีอะไรเยอะๆ เช่น มีเงินมีทองเยอะๆ มีบ้านหลังใหญ่ๆ มีรถคัน
   งามๆ และมีอะไรอีกหลายอย่าง จะทำา ให้เรามีความสุข เพราะมัน
   จะมาสนองความต้องการของเราได้ หารู้ไม่ว่าเราแสวงหาความสุข
   ด้วยตัณหา แล้วตัณหาก็หลอกเราตลอด มีเมียก็ทุกข์เพราะเมีย มี
   ลูกก็ทุกข์เพราะลูก มีอะไรก็ทุกข์เพราะอย่างนั้น เพราะไม่รู้ค วาม
   เป็นจริงของชีวิตจึงต้องเป็นเช่นนั้น ยึดแค่ไหน ก็ทุกข์แค่นั้น เรา
   ไม่เคยคิดเลยว่า เมื่อมีสิ่งเหล่านั้นแล้วจะมีความทุกข์ คิดแต่ว่าจะมี
   สุขอย่างเดียว เพราะไม่ร้ความเป็นจริงของชีวิตคืออวิชชา จึงต้อง
   แสวงหากันอยู่รำ่าไป คิดว่าอยากมีความสุข ไม่เคยคิดว่าตัวแสวงหา
   นั้นคืออะไร ก็คือตัณหา ถ้ารู้ด้วยปัญญาว่าสิ่งที่แสวงหาและได้มา
   นั้ น คื อ ทุ ก ข์ แก้ ปั ญ หาของชี วิ ต ต้ อ งแก้ ด้ ว ยปั ญ ญา ไม่ ใ ช่ แ ก้ ด้ ว ย
   ตัณหา เช่น ถูกโกงมาจาก ๒ สาเหตุ คือตัณหาอย่างหนึ่งและกรรม
   ที่เคยทำาไว้อย่างหนึ่ง รู้เรื่องอะไรก็ไม่ประเสริฐเท่ารู้เรื่องทุกข์
3. สนฺตาปฏฺโฐ เร่าร้อนอยู่ไม่วาย คืออะไร กายและใจก็เร้าร้อนเพราะ
   ถู กเผาอยู่ด้วยกิเลส ยืน เดิ น นั่ง นอนก็ ไม่ เป็ นสุ ข มีใครเคยนั่ ง
   อย่างเป็นสุขบ้าง ไม่มีเคยมีทุกข์อยู่ทุกอิริยาบถ เร้าร้อนอยู่ไม่วาย
   เพราะรูปนามเป็นทุกข์ในตัวมันเอง ทุ ก ขเวทนาระดั บ หนึ่ ง ทุ ก ข
   สภาวะระดับหนึ่ง ทุกขลักษณะระดับหนึ่ง และทุกขอริยสัจอีกระดับ
   หนึ่ง แค่ทุกข์คำาเดียวชั่วชีวิตก็เรียนไม่จบ ทุกข์ในอริยสัจเป็นของ
   ดี ๆ ในแง่ เ ป็ น อารมณ์ ข องปั ญ ญา เมื่ อ ปั ญ ญาเกิ ด และเห็ น ทุ ก ข์
   เมื่อไร กิเลสเกิดไม่ได้ โดยเฉพาะโมหะเกิดไม่ได้ เพราะปัญญารู้
   แจ้งความเป็นจริ ง เมื่อ โมหะเกิ ด ไม่ ได้ ตั ณ หาก็ เกิ ด ไม่ ได้ เพราะ
   ตัณหาจะเกิดขึ้นมาได้ เพราะอาศัยโมหะเข้าครอบงำา โมหะเป็นรา
   เหง้าของกิเลสอกุศลทั้งปวง
4. วิปริมานฏฺโฐ ไม่คงที่แปรปรวนอยู่เสมอ ลองนั่งเฉย ๆ เป็นทุกหรือ
   ไม่ โดยไม่ต้อ งขยับส่ว นใดเลย แล้ว ก็จ ะเห็ นจากสุ ข จะกลายเป็ น
ทุกข์ จากทุกข่นิดหน่อยมันจะเพื่อขึ้นเรื่อย ๆ ในที่สุดก็จะทนไม่ไหว
เมื่อทนไม่ไหวก็ต้องขยับ เมื่อขยับจะรู้สึกว่าดี เพราะขยับแล้วสบาย
เราไม่รู้เลยว่าความสบายที่ ได้ ม าเพราะเนื่ อ งมาจากทุ ก ข์ มั นลดลง
ถ้าทุกข์ไม่ลดลงก็จะแย่ ลองคิดดู

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางสาวกปิศาจ Kudo
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
กลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทรกลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทรTongsamut vorasan
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
รวมกลอน พระมหาทองสมุทร
รวมกลอน พระมหาทองสมุทรรวมกลอน พระมหาทองสมุทร
รวมกลอน พระมหาทองสมุทรTongsamut vorasan
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
สรุปพระคำภีร์1
สรุปพระคำภีร์1สรุปพระคำภีร์1
สรุปพระคำภีร์1petcharit sriwong
 

What's hot (20)

วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทรกลอนพระมหาทองสมุทร
กลอนพระมหาทองสมุทร
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
รวมกลอน พระมหาทองสมุทร
รวมกลอน พระมหาทองสมุทรรวมกลอน พระมหาทองสมุทร
รวมกลอน พระมหาทองสมุทร
 
บทที่ ๒ ใหม่
บทที่ ๒ ใหม่บทที่ ๒ ใหม่
บทที่ ๒ ใหม่
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
สรุปพระคำภีร์1
สรุปพระคำภีร์1สรุปพระคำภีร์1
สรุปพระคำภีร์1
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 

Similar to เนื้อความของทุกข์

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์YajokZ
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma coreYajokZ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1MI
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)Songsarid Ruecha
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวPanda Jing
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 

Similar to เนื้อความของทุกข์ (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
หนังสือจิตว่างเพราะวางกาย.pdf
หนังสือจิตว่างเพราะวางกาย.pdfหนังสือจิตว่างเพราะวางกาย.pdf
หนังสือจิตว่างเพราะวางกาย.pdf
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1
 
5-kamma.pdf
5-kamma.pdf5-kamma.pdf
5-kamma.pdf
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

เนื้อความของทุกข์

  • 1. เนือความของ “ทุกข์”ในอริยสัจ ้ ที่มาของอริยสัจ ๔ ก่อนอื่นขอให้พิจารณาถึงที่มาขออริยสัจ ๔ เป็นเบื้องต้นก่อน เพื่อจะ ได้ทราบความเป็นมาพอเป็นสังเขป ที่มาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ใช่ว่ าจะได้มาง่ าย ๆ ดังเช่นพระพุทธเจ้า ของเรา ชาติสุดท้ายที่เป้นพระโพธิสัตว์บำา เพ็ญทานบารมีนามว่าเวสสันดร พระองค์ต้องเสียสละอย่างยิ่งยวดสร้างบารมีสูงสุดในทานบารมี ต้องเสียสละ อย่างสูง ใครจะทำาได้ ไม่มีใครทำาได้ สละปลดเปลื้องพันธนาการทั้งหมดตั้ง แต่พระมเหษีราชบุตรราชธิดาและราชสมบัติทั้งหมด สิ่งที่มุ่งหวังเฉพาะคือ พระโพธิญาณ ได้กระทำา สำา เร็จแล้ว ก็ไปเสวยวิมุตติสุขบนสวรรค์ชั้นดุสิต เป็นเวลา ๕๗ โกฏิปี เหล่าทวยเทพทั้ ง หลายก็ ป ระชุ ม กั น ว่ า โลกวางจาก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ควรจะอันเชิญเทพบุตรองค์ใดองค์หนึ่งไปตรัสรู้ เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มหาพรหมและทวยเทพทั้งหมดลงมติให้สันดุสิต เทวราชซึ่งก็คือพระเวสสันดรนั่นเอง ไปเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท้าวสัน ดุสิตเทวราชยังไม่ตกลง แต่พิจารณาก่อนว่า ถึงกาลอันควรหรือยัง ประเทศ ไหนเป็นประเทศที่ควรจะรองรับสัพพัญญุตญาณได้ ภาษาไหนเป็นภาษาที่ รองรับสัพพัญญุตญาณได้ พุทธมารดามีหรือไม่ที่จะรองรับราชบุตรได้เพียง พระองค์ เดี ย วแล้วสวรรคตภายในเจ็ ด วั น ซึ่ งไม่ มี ฐ านะที่ จ ะรองรั บ บุ ต รมา อุ บั ติ ต่ อ ได้ เมื่อ พิจ ารณาหลาย ๆ ด้ า นก็ เห็ นว่ า มี ค วามพร้ อ ม จึ ง ได้ ต กลง รับคำาเชิญของเหล่าทวยเทพทั้งปวง ว่าจะลงไปตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า การอุบั ติขึ้ นมาของพระโพธิ สั ต ว์ จ ากสวรรค์ ชั้ น ดุ สิ ต มาอุ บัติ ในโลก มนุษย์มี พระนามว่า “สิทธัตถะราชกุมาร ” ท่ ามกลางเหล่ านั กปราชญ์ ร าช บัณฑิตและข้าราชบริพารทั้งมวล แม้แต่พระราชบิดาคือพระเจ้าสุทโธทนะก็ อยากจะให้ เ ป็ น พระเจ้ า จั ก รพรรติ ตามคำา ของพราหมณ์ ทั้ ง ห่ ล ายที่ ไ ด้ พยากรณ์ว่ามีคติเป็นสอง ถ้าออกบวชก็จะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้า ครองเพศฆราวาสก็จะได้เป็นพระเจ้ าจักรพรรติมีอำา นาจยิ่ งใหญ่ ตลอดทั่ว ขอบเขตขัณฑสีมามีมหาสมุทรทั้งสี่ด้านเป็นขอบเขตจะเป็นเมืองขึ้นทั้งหมด แน่ น อนว่ า วิ สั ย ความเป็ น กษั ต ริ ย์ ย่ อ มต้ อ งการความยิ่ ง ใหญ่ ที่ จ ะมี อำา นาจ ปกครองไปทั่วทุกสารทิศ ฉะนั้น พระเจ้าสุทโธทนะจึงมุ่งหวังเป็นที่สุดว่าน ครกบิลพัสตุ์จะเป็นดินแดนของพระเจ้าจักรพรรติที่ยิ่งใหญ่ แต่ว่าพระบารมีของพระโพธิสัตว์ที่ได้สั่งสมมา แม้ว่าจะถูกปิดล้อมด้วย วิธีการต่าง ๆ อันบำาเรอให้ได้รับความสุขอย่างมากมาย แต่ก็ไม่สามารถที่จะ สกัดกั้นได้ ตลอดเวลา ๒๙ ปีที่อยู่เฉพาะในพระราชวัง ทำา ให้เกิดความ รู้สึกว่าอยากจะออกประพาสนอกราชอุทยานบ้าง จึงได้ชวนนายฉันนะออก
  • 2. เที่ยวประพาสนอกราชอุทยาน ทวยเทพทั้งหลายก็ได้โอกาสแสดงนิมิตให้ เห็นว่า ในโลกนี้มีการเกิด การแก่ การเจ็บการตาย สุดท้ายก็ได้เห็นสมณะ ทำาให้พระทัยของเจ้าชายสิทธัตถะโน้มเอียงไปในทางออกบวช เพราะมอง เห็นว่าชีวิตไม่เห็นมีอะไรที่จะมั่นคงเป็นสิ่งที่เที่ยงแท้ เกิดแล้วก็แก่ แก่แล้วก็ เจ็ บ ในที่ สุ ด ก็ ต้อ งตาย แม้เ ราเองก็ จั กต้ อ งตายอย่ า งนี้ พ้ น ไปไม่ ไ ด้ แล้ ว ประโยชน์อะไรที่เราจะได้ความยิ่งใหญ่ในการเป็นพระเจ้ าจักรพรรติ อย่า กระนั่ นเลย เราก็จ ะไม่พ้ นจากความตาย สั ต ว์ ทั้ งหลายก็ ไม่ พ้ นจากความ ตาย ก็ทรงมองเห็นว่า กลางคืนมี ก็ยังมีกลางวั น การตายก็ยั งมีการเกิด เมื่อการตายมี การไม่ต้องตายก็ต้องมี เมื่อการเกิดมี การไม่ต้องเกิดก็ต้องมี เหมือนกัน แต่ยังไม่มีใครค้นพบ ใครเล่าจะเป้นผู้ค้นหาหนทางที่จะให้พ้น จากความเกิดและความตายได้ พระองค์โน้มเอียงไปในทางเหตุผ ล มอง เห็นชีวิตทุกชีวิตไม่ล่วงพ้นจากความเกิดแก่เจ็บตายไปได้ มีทางเดียวคือเรา ต้ อ งแสวงหาทางพ้ น จากการเกิ ด แก่ เ จ็ บ และตายให้ ไ ด้ นั่ น ก็ คื อ การเป็ น สมณะจึงปรารภการออกบวช ในที่สุดพระโพธิสัตว์หรือมหาบุรุษ ก็ได้ออกบวชแสวงหาทางพ้นทุกข์ โดยวิธีการปฏิบัติตามประเพณีของคนเก่าว่ า ถ้าทำา ให้ทุกข์จนถึงที่สุดแล้ว ทุกข์ก็จะหมด ก็ทรงบำา เพ็ญทุกกรกิ ริ ย า กระทำา อย่างคนสมั ยนั้ นทำา ไม่ ได้ แม้ส มัย นี้ ก็ทำา ไมได้ เช่น ทรงกัด ฟันเอาลิ้ นดุ น เพดาลให้ แรงที่ สุ ด ไม่ มี ใครทำา ได้ ทรงกลั้ นลมหายใจจนกระทั่ ง ไม่ ต้ อ งหายใจทางจมู ก แต่ ใช้ หู หายใจแทนได้ เพื่อจะทำา ให้ถึงที่สุดแห่งทุกข์ แต่ว่าลมหายใจก็ออกทางหู ชีวิตก็อยู่ได้ ไม่ใช่เป็นการทำา ลายชีวิต แต่ทำาเพื่อให้ทุกข์ถึงที่สุด หายใจ เข้ า ลมเข้ า ทางหู หายใจออกลมออกทางหู ก็ ไ ม่ เ ห็ น ทางพ้ น ทุ ก ข์ ทรง กระทำา จนกระทั่งมองเห็นว่า ทุกข์อย่างนี้ไม่มีใครทำา ได้ แต่เราทำา ได้ แต่ ประโยชน์ จ ากการที่ เ ราทำา ได้ มั นไม่ มี ป ระโยชน์ อ ะไรเลย ตั้ งแต่ อ ดี ต จน ปัจจุ บัน แม้ในอนาคตก็ไม่มีใครทำา ได้เกิ นกว่ านี้ ถึงแม้จะมี ใครทำา ได้ เกิ น กว่านี้ก็จะไม่ได้รับประโยชน์อะไรจากตรงนี้เลย ทรงมองเห็นว่า ไม่ใช่ทาง นี้แน่ที่จะทำาหใพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดได้ พระองค์น้อมจิตระลึกถึงตอนทรงพระเยาว์เมื่ออายุ ๗ พรรษา ได้เคย กระทำาอานาปานสติจนได้ปฐมฌาน ถ้ า กระนั้ น เราควรย้ อ นไปบำา เพ็ ญ เพี ย รทางจิ ต คงจะดี ก ว่ า ก็ เ ลยบริ โ ภค อาหารให้ร่างกายได้รับความสมบูรณ์ เมื่อร่างกายพอเพียงที่จะบำาเพ็ญเพียร ทางใจได้ แ ล้ ว ก็ เ ริ่ ม บำา เพ็ ญ เพี ย รทางใจด้ ว ยการกระทำา อานาปานสติ จ น บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ปัญจมฌาน บรรลุถึงอา กาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญา นาสัญญายตนะ ทรงกระทำา จนที่สุ ดสมาธิได้ค รบ ก็ยังไม่บรรลุธ รรม แต่ ด้ ว ยจิ ต ที่ อ าศำ ย ความตั้ ง มั่ น ละเอี ย ดอ่ อ นและมี พ ลานุ ภ าพ ในขณะที่ ไ ด้ รู ป ฌานและอรู ป ฌาน จิ ต ก็ โ น้ ม เอี ย งไปถึ ง อดี ต ปรากฏว่ า เห็ น ชี วิ ต ของ
  • 3. พระองค์ด้วยปัญญาว่า ได้เกิดเป็นอะไรบ้าง ระลึกชาติได้ โดยการระลึ ก ย้อนหลังไปเป็นอเนกชาติ มองเห็นชีวิตวา ชีวิตตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย ไม่รู้จักจบสิ้น ในปฐมยามนี้เรียกว่าได้บรรลุปุพ เพนิ ว าสานุส สติ ญาณ ใน มัชฌิมยามได้บรรลุจุตูปปาตญาณ คือได้ตาทิพย์ มองเห็นสรรพสัตว์ที่ทำาดี บ้ า งชั่ ว บ้ า งแล้ ว ไปเกิ ด ยั ง สถานที่ ต่ า ง ๆ ชี วิ ต ของสรรพสั ต ว์ ก็ เ ป็ น ไปตาม อำา นาจสาของกรรมเจตนาของตน ผลของความสุ ข ความทุ ก ข์ ล้ ว นมี เ หตุ ปั จ จั ย การปฏิ ส นธิ แ ละการจุ ติ ข องสรรพสั ต ว์ พ ระองค์ รู้ ห ามด นี้ คื อ จุตูปปาตญาณซึ่งเป็นอภิญญาจิตขั้นที่สองที่เกิดข้น จนกระทั่งถึงปัฉิมยาม ปั ญ ญาก็ ไ ด้ ห ยั่ ง เห็ น ความเป็ น ไปของรู ป นาม เห็ น การเกิ ด ดั บ ของรู ป ราม พระองค์ทรงมองเห็นว่า แม้ชีวิตของพระองค์และของสรรพสัตว์ผ่านมาก็ไม่ เห็นมีอะไรเลยนอกจากรูปกับนาม แม้รูปและนามนี้ก็เป็นที่พึ่งไม่ได้ ไม่ได้มี แก่นสารอะไรเลย เกิดแล้วก็ดับ ๆ แล้วก็เกิด ( ภาษาชาวบ้านเรียกว่า เกิด เพื่อตาย ตายเพื่อเกิด ) ไม่รู้จักจบสิ้น ฉะนั้น ในขณะที่พระองค์เห็นขันธ์ ๕ หรือรูปนามเกิดดับ เห็นความ เป็นไปของอายตนะที่เกิดสืบต่อเนื่องกันไปอย่างไม่ขาดสาย ปัญญาที่รู้แจ้ง เห็นความเป็นจริงของรูปนามว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา นี้เรียกว่า วิปัสสนาปัญญา และปัญญาที่เรียกวิปัสสนานี้ก็ได้เกิดขึ้นในอาสวักขยญาณ นี้เอง และการปฏิญญาว่า “เราเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ” ก็ได้เกิดขึ้นแก่ พระองค์ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ได้ พิ จ ารณาถึ ง ปั จ จั ย ของชี วิ ต ว่ า มี ปั จ จั ย ที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตอะไรบ้าง แท้จริงมีแต่รูปกับนาม และรูปนามในแต่ละภพ ชาติก็มีความไม่เที่ยง เกิขึ้นแล้วตั้งอยู่ดับไปสืบต่อเนื่องไปอย่างไม่ขาดสาย พระองค์ท รงหาปัจจัย ที่จ ะทำา ให้ รู้ ว่ า อะไรเป็ นเหตุ เป็ นปั จ จั ย ของความแก่ และความตาย เพราะว่าการเกิดพระองค์ก็ได้มาแล้ว สิ่งที่รออยู่คือความ แก่และความตาย พระองค์ก็ทรงสาวหาสาเหตุว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ ชรา มรณะจึ งมี เพราะการมีโดยที่ ไม่ มี อ ะไรเป็ นเหตุ เป็ น ปั จ จั ย นั้ น เป็ น ไปไม่ ได้ อาศั ย ปั ญ ญาญาณที่ ทำา จิ ต ให้ แ ยบคายก็ เ กิ ด ขึ้ น โดยรู้ แ จ้ ง ว่ า เมื่ อ ชาติ คื อ ความเกิดมี ความชรามรณะก็ต้องมี ถ้าไม่มีการเกิด ความแก่และความตาย จั ก มี ม าแต่ ไ หน เพราะชาติ มี ชรามรณะจึ ง มี และนี้ คื อ กฏแห่ ง ปฏิ จ จสมุ ปบาทที่พระองค์ได้พิจารณา ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอชาติคือการเกิดนี้จึงมี ก็ ท รงพบว่ า เพราะภพมี ชาติ จึ ง มี คำา ว่ า ” ภพ ” มี ๒ อย่ า ง คื อ กรรมภพ และอุปัตติภพ ซึ่งกรรมภพเป็นเหตุให้เกิดอุปัตติภพ เมื่อกรรมภพดับไปก็เกิด เป็นอุปัตติภพ อุปัตติภพนี้คืออะไร คือขันธ์ ๕ นั่นเอง ขันธ์ ๕ คือตัวอุปัตติ ภพที่ที่จะนำาให้เกิดอีกต่อไป เมื่ออุปัตติภพคือขันธ์ ๕ เกิด ซึ่งขันธ์ ๕ เกิด นั่นแหละคือชาติ ฉะนั้น เมื่อชาติมี เพราะมีภพเป็นเหตุปัจจัยคือการทำากุศล กรรมบ้าง อกุศลกรรมบ้าง
  • 4. ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ ภพคือกรรมภพและ อุปัตติภพนี้จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะอุปาทานได้แก่ การยึดมั่นถือมั่นนี้มี อยู่ ภพจึงมี อุปาทานมี ๔ อย่างคือ อัตตวาทุปาทานได้แก่ ความยึดมั่นถือ มั่นว่าเป็นตัวเราเป็นของเรา กามุปาทานได้แก่ ความพอใจรักใคร่ในกาม ทิฎฐุปาทานได้แก่ การเห็นผิดจากทำานองคลองธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน ไว้ และสี ลั พ พตุ ป าท าน ได้ แ ก่ การถื อ ผิ ด ปฏิ บั ติ ผิ ด จาก ห ลั กก าร ที่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ซึ่งอุปาทานเหล่านี้ก็เป็นเหตุให้เกิดการทำากรรม ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ อุปาทานคือการยึด มั่นถือมั่นนี้จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะตัณหาได้แก่ความทะยานอยากยินดี ติดใจในอารมณ์ต่าง ๆ มีอุปาทานจึงมี ซึ่งความยินดีติดใจ ความปรารถนา อยากได้ นี้ ก็ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด การยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ได้ ฉะนั้ น ตั ณ หาจึ ง เห็ น สาเหตุให้เกิดอุปาทาน ทรงสาวหาสาเหตุ ต่ อ ไปอี ก ว่ า เมื่ อ อะไรมี อ ยู่ ห นอ ตั ณ หาคื อ ความ ทะยานอยากยินดีติดใจในอารมณ์ต่าง ๆ จึ ง มี ก็ ท รงทราบว่ า เวทนาได้ แ ก่ การเสวยอารมณ์ ถ้ า ทำา ให้ เ กิ ด สุ ข ก็ ปรารถนาอยากได้ ถ้าทำาให้เกิดทุกข์ก็ไม่ปรารถนาอยากได้ ดิ้นรนแสวงหา เฉพาะอารมณ์ที่เป็นสุข ฉะนั้น เวทนาจึงเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดตัณหา ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ เวทนาคือการเสวย อารมณ์ นี้จึ ง มี ก็ท รงทราบว่ า เพราะผั ส สะได้ แ ก่ การกระทบกั บ อารมณ์ และเพราะการกระทบกับอารมณ์มี การเสวยอารมณ์ก็จึงต้องมี ถ้าไม่มีการก ระทบอารม การเสวยอารมณ์จักมีแม่แต่ไหน ฉะนั้น ผัสสะจึงเป็นเหตุปัจจัย ให้เกิดเวทนา ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ ผัสสะคือการกระทบ กับอารมณ์นี้จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราอายตนะได้แก่ อายตนะภายในและ อายตนะภายนอกเป็นที่ต่อกับอารมณ์ ทำาให้เกิดสฬายตนะ มีอายตนะเมื่อไร ผัสสะก็ต้องมีเมื่อนั้น ฉะนั้น อายตนะจึงเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดผัสสะ ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ อายตนะคือที่ต่อนี้จึง มี ก็ทรงทราบว่า เพราะนามรูปมี นามนี้คืออะไร นามนี้คือเจตสิกที่ประกอบปรุงแต่งจิต ส่วนรูปนี้คืออะไร รูป นี้คือกัมมัชรูป ที่ทำาหน้าที่ต่าง ๆ ในส่วนของร่างกาย ฉะนั้น นามรูปนี้เอง เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดอายตนะ ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ นามรูปคือขันธ์ ๕ นี้ จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะวิญญาณได้แก่ปฏิสนธิวิญญาณเป็นต้นมา นาม เจตสิกและกัมมัชรูปจึงมี แล้วมีปวัตติวิญญาณเป็นตัวสืบต่อ วิญญาณนี้จึงมี ๒ อาจมี ผู้ ส งสัย ว่า วิญ ญาณคื อ อะไร ในชี วิ ต ถ้ า ถื อ ปั จ จุ บั น ชี วิ ต เริ่ ม ต้ น ใหม่ ต รงที่ มี ป ฏิ ส นธิ วิ ญ ญาณเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ปฏิ ส นธิ วั ญ ญาณหยั่ ง ลงสู่ ค รรภ์
  • 5. มารดา จากนั้นเก้าเดือนหรือสิบเดือนก้คลอดออกมา ฉะนั้น วิญญาณนี้เป็น เหตุปัจจัยให้เกิดนามรูป ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ วิญญาณคือปฏิสนธิ วิญญาณนี้ จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะสังขารได้แก่เจตนาในการทำา กรรม และในที่ นี้หมายถึงปุพพเจตนา คือความปรารภในการทำา กรรม เจตนาที่ เรียกว่าสังขารนี้ได้แก่ ปุญญาภิสังขาร คือเจตนาที่ปรุงแต่งให้เป็นบุญ อ ปุ ญ ญาภิ สั ง ขาร คื อ เจตนาที่ ป รุ ง แต่ ง ให้ เ ป็ น บาป อเนญชาภิ สั ง ขาร คื อ เจตนาที่ปรุงแต่งให้ได้วิญญาณในอรูปฌาน ฉะนั้น เจตนาซึ่งเป็นตัวกรรม ทั้งสามอย่างนี้เองเป็นเหตุปัจจัยให้เกิดวิญญาณ เรียกว่าปฏิสนธิวัญญาณ ทรงสาวหาสาเหตุต่อไปอีกว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ สังขารคือเจตนาที่ ปรุงแต่งให้เป็นกุศลบ้าง เป็นอกุศลบ้าง เป็นวิญญาณให้ได้ในอรูปฌานบ้าง จึงมี ก็ทรงทราบว่า เพราะอวิชชาได้แก่ความไม่รู้ความเป็นจริง เพราะไม่รู้ ความเป็นจริงของชีวิตจึงทำา ให้เกิดการเพาะบ่มเรื่อย ๆ และจากการเพราะ บ่มอวิชชาคือความไม่รู้ในปัจจุบันนี้เรื่อย ๆ จนกระทั่งก่อนตาย จึงเป็นเหตุ ปัจจัยให้เกิดสังขาร ๆ ก็เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดวิญญาณ ๆ ก็เป็นเหตุปัจจัยให้ เกิดนามรูปอีกต่อไปไม่รู้จักจบสิ้น หาเงื่ อ นปมตรงไหนไม่ เ จอเลยวน เวียนอยู่อย่างนี้ไม่รู้จักจบสิ้น ที่เล่ามาทั้งหมดนี้เพื่อชี้ให้เห็นว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหลังจากที่ได้ อภัญญาจิตครั้งที่หนึ่ง คือปุพเพนิวาสานุสสติญาน ต่อจากนั้นก็ได้อภัญญา ขั้นที่สอง คือจุตูปปาตญาน เมื่อได้อภิญญาทั้งสองขั้นแล้ว พระองค์ก็ทรง เอาอภัญญาทั้งสองขั้นนั้นมาเป็นบาทในการเจริญวิปัสสนา กำาหนดรู้รูปนาม ที่ เ กิ ด ในอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น และเห็ น ความเป็ น จริ ง่ ข องรู ป นามตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึงปัจจุบันมีแต่ทุกข์ทั้งสิ้น เพราะการเวียนว่ายตายเกิดมีเพราะมีรูปนาม ก็ทรงหาว่าการเวียนว่ายตายเกิดมาจากอะไร ก็ตามหลักปฏิจจสมุปบาทที่ได้ กล่าวมาแล้วนั่นเอง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงคันพบปัจจัยของชีวิตตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน จนเห็ น ความเ ป็ น จริ ง ข อ งน ามรู ป แล้ ว ว่ า นามรู ป นี้ ไ ม่ เ ที่ ย งผั น แ ป ร เปลี่ยนแปลง นามรูปนี้เป็นทุกข์ บังคับบัญชาอะไรไม่ได้เลย ไม่ว่าจะกี่ภพกี่ ชาติ เกิดแล้วต้องผันแปรเปลี่ยนแปลง มีแต่ทุกข์คือคงอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ บั งคั บ ให้ เที่ย งหรือ ให้สุข ก็ไม่ได้ เห็ นมาตั้ งแต่ อ ดี ต จนถึ งปั จ จุ บันก็ มี ส ภาพ อย่างนี้ ปัญญาจึงเกิด เมื่อปัญญาเกิดเห็นนามรูปไม่ เที่ยง เป็นทุกข์ เป็ฯ อนัตตาเช่นนี้ ตัณหาก็ไม่ส ามารถจะเกิ ดได้ ในที่สุ ดเมื่อ ปัญ ญารู้แจ้งแทง ตลอดถึงทุกข์ได้ ตัณหาก็ดับ คำาว่าตัณหาดับหรือดับตัณหาได้ก็เรียกได้ว่า เข้าถึงนิโรธ เมื่อเข้าถึงนิโรธได้ จิตที่ทำาหน้าที่เห็นความเป็นจริงของตัณหา และเห็นความเป็นจริงของทุกข์ เมื่อนั้นตัณหาก็ดับ เมื่อตัณหาดับ จิตก็มี นิ พพานเป็ นอารมณ์ และความดั บ ของตั ณ หานั่ นเองคื อ นิ พ พาน เมื่ อ จิ ต มี
  • 6. นิพพานเป็นอารมณ์ได้ มรรคจิตก็เกิดและจะประหารทิฏฐิคตสัมประยุตต์ใน โลภมูลจิต ประหารทิฏฐิคตวิปปยุตในโลภมูลจิต ประหารโมหสัมประยุตต์ได้ หมด ความสำาเร็จเป็นพระอรหันต์ก็ได้เกิดขึ้น ทรงรู้แจ้งในข่ายพระญาณว่า ทุกข์เป็นกิจที่ควรรู้ เราได้รู้แล้ว สมุทัยคือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นกิจที่ควรละ เราได้ประหารแล้ว นิโรธคือความดับทุกข์ เป็นกิจที่ควรทำาให้แจ้ง เราก็ได้ ทำา ให้แจ้งแล้ว มรรคคือหนทางปฏิบัติเพื่อให้ถึงความดับทุกข์เป็นกิจที่ควร เจริญ เราก็ได้เจริญแล้ว ความเป็นผู้บริสุทธิ์หมดจดได้บังเกิดขึ้นแก่เราแล้ว การเปล่งอุทานว่า เราได้เป็นผู้ที่ถึงแล้ว เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้ว จึงได้เกิดขึ้นแก่พระองค์ จึงพอสรุปที่มาของอริยสัจ ๔ ได้ว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบำาเพ็ญ เพียรทางจิต เจริญสมถกรรมฐานด้วยอานาปานสติจนกระทั่งได้ปัญจมฌาน และทรงเจริญปัญจมฌานจนได้อรูปฌาน ๔ ต่อจากนั้นอภิญญาจิตก็เกิด อภิญญาจิตเกิดในปฐมยาม เรียกว่าปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณที่สอง เกิดขึ้นในมัชฌิมยาม เรียกว่าจุตูปปาตญาณ และญาณที่สามคือปัฉิมยาม เรียกว่าอาสวักขยญาณ การที่ทรงได้อาสวักขยญาณคือปัญญาที่หยั่งรู้แจ้ง ว่า ทุกข์เราได้รู้แล้ว สมุทัยเราได้ประหารแล้ว นิโรธเราได้ทำาให้แจ้งแล้ว มรรคเราได้เจริญแล้ว กิจที่จะต้องทำาต่อไปไม่มีอีกแล้ว ความเป็นพระสัมมา สัมพุทธเจ้าได้บังเกิดขึ้นแก่เราแล้ว นี้คือทางปฏิบัติของพระพุทธเจ้า จะเห็น ได้ ว่ า พระองค์ สำา เร็ จ เป็ น พระพุ ท ธเจ้ าด้ ว ยวิ ปั ส สนา คื อ จากปฐมฌานถึ ง ปัญจมฌาน จากปัญจมฌานถึงอรูปฌานเป็นสมถะ หลังจากนั้นอภิญญาจิต ก็เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลของสมถะ อภิญญาจิตที่เป็นผลของสมถะนี้คือ ปุพเพนิ วาสานุ ส สติ ญ าณ และจุ ตู ป ปาตญาณ ส่ ว นอาสวั ก ขยญาณได้ จ ากการ กำาหนดรู้นามรูป เห็นนามรูปในอดีตชาติทั้งหมดจนถึงปัจจุบัน ก็อยู่ในฐานะ อย่างเดียวกัน คือเห็นนามรูปไม่เที่ยง เป็นฯทุกข์ผันแปรเปลี่ยนแปลงมาโดย ตลอด เป็นอนัตตาคือบังคับบัญชาอะไรก็ไม่ได้ ตรงนี้เองคือวิปัสสนา และ วิปัสสนาต้องมีนามรูปเป็นอารมณ์ จึงจะเห็นนามรูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา จะมีอย่างอื่นเป็นอารมณ์ไม่ได้ ฉะนั้ น พร ะ พุ ท ธ เ จ้ าจึ ง ต รั ส รู้ ด้ ว ย วิ ปัส สนาญาณ และญาณที่เกิด จากวิ ปัส สนานี้ เ รี ย กว่ า อ า ส วั ก ข ย ญ า ณ และการตรัสรู้ของพระองค์นี้ก็คือ ตรัสรู้อริยสัจ ๔ จึงทำาให้พระองค์เป็นเป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า นี้คือประวัติที่มาของอริยสัจ ๔ ความหมายของอริยสัจ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านแสดงอริยสัจโดยพิสดาร อริยสัจ ๔ คือ ๑. ทุกข์ ความไม่สบายกายความไม่สบายใจ ๒. สมุทัย เหตุเกิดแห่งทุกข์ คือตัณหา ๓. นิโรธ ความดับทุกข์
  • 7. ๔. มรรค ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ธรรม ๔ ประการนี้ที่ชื่อว่า อริยสัจ เพราะมีความหมาย ๔ ประการ คือ 1. เพราะพระอริยเจ้ามีพระพุทธเจ้าเป็นต้นแทงตลอด 2. เพราะเป็นของจริงสำาหรับพระอริยเจ้า 3. เพราะทำาให้ผู้แทงตลอดสำาเร็จเป็นพระอริยเจ้า 4. เพราะเป็นของจริงอันประเสริฐ พระธรรมปิฎก ( ป. อ. ปยุตฺโต ) ได้ให้ความหมายของคำาว่า “อริยสัจ” คือ ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงของพระอริยะ, ความจริง ที่ทำาให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ : ARIYASACCA :THE FOUR NOBLE TRUTHS 1. ทุกข์ ( ความทุกข์, สภาพที่ทนได้ยาก, สภาวะที่บีบคั้น ขัดแย้ง บกพร่อง ขาดแก่นสารและความเที่ยงแท้ ไม่ให้ความพึงพอใจแท้จริง, ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบ กับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพราก- จากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวัง โดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ – DUKKHA : SUFFERING; UNSATISFACTORINESS ) 2. ทุกขสมุทัย ( เหตุเกิดแห่งทุกข์, สาเหตุให้ทุกข์เกิด ได้แก่ ตัณหา ๓ คือ กามตัณหา ภวตัณหา และ วิภวตัณหา -- DUKKHA –SAMUDAYA : THE CAUSE OF SUFFERING ; ORIGIN OF SUFFERING ) 3. ทุกขนิโรธ ( ความดับทุกข์ ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป, ภาวะที่ เข้าถึงเมื่อกำาจัดอวิชชา สำารอกตัณหาสิ้นแล้ว ไม่ถูกย้อม ไม่ติดข้อง หลุดพ้น สงบ ปลอด โปร่ง เป็นอิสระ คือ นิพพาน – DUKKHA – NIRODHA : THE CESSATION OF SUFFERING ; EXTINCTION OF SUFFERING ) 4. ทุ กขนิโ รธคามินี ป ฏิ ปทา ( ปฏิ ป ทาที่ นำา ไปสู่ ค วามดั บ แห่ ง ทุ ก ข์ , ข้ อ ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ อริยอัฎฐังคิกมรรค หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า “ทางสายกลาง” มรรคมีองค์ ๘ นี้ สรุปลงในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา -- DUKKHA – NIRODHA : THE PATH LEADING TO THE CESSATION OF SUFFERING ) ฉะนั้ น ความหมายของอริ ย จั จ ตามที่ ย กมา คงจะพอมองเห็ น และ เข้าใจได้ว่า อริยสัจ ๔ คืออะไร ก็คือ
  • 8. ความจริงอันประเสริฐ ความจริงอันประเสริฐ ชื่อว่าอริยสัจ และหมายถึง ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เท่านั้น อย่างอื่นไม่ถือว่าเป็นความจริงอันประเสริฐ คือ ๑. ธรรมที่เป้นความจริงของพระอริยบุคคลทั้งหลายชื่อว่าอริยสัจ มี บาลีว่า อริยานิ ตถานิ สจฺจานิ อริยสจฺจานิ แปลว่า สัจจะทั้ง ๔ ที่เป้น ความจริงอันประเสริฐนั่นแหละ ชื่อว่า อริยสัจ 2. อริย านำ สจฺจ านิ อริย สจฺ จ านิ แปลว่ า ธรรมที่ เป็ นความจริ ง ของ พระอริยบุคคลทั้งหลาย ชื่อว่า อริยสัจ สรุปความหมายของอริยสัจก็คือ เป้นของจริงแท้ที่ไม่แปลผัน สิ่งที่ไม่ กลับกลอกผันแปรไป สิ่งนั้นชื่อว่า ประเสริฐ, ของจริงที่เป็นเหตุให้ผู้ที่ได้แจ้งประจักษ์นั้นเป็นผู้ประเสริฐคือเป็น พระอริยบุคคล, และเป็นของจริงที่พระอริยเจ้าเท่านั้นที่ประจักษ์ในอริยสัจ ๔ โดยมรรคญาณ เมื่ อ ทราบความหมายแล้ ว มาทำา ความเข้ า ใจต่ อ ว่ า ความจริ ง อั น ประเสริฐนั้นคืออะไร เพราะความเป็นจริงที่ประเสริฐก็มี ความเป็นจริงที่ไม่ ประเสริฐก็มี ต้องทำาคามเข้าใจให้ได้วา ความจริงที่ประเสริฐมี ๔ อย่าง นอกจากนั้น เป็นความจริงที่ไม่ประเสริฐเลย ดังนั้น เมื่อจะหาความจริงอัน ประเสริ ฐ เราก็ ต้ อ งหาได้ จ ากอริ ย สั จ ๔ เท่ า นั้ น จึ ง จะได้ ชื่ อ ว่ า รู้ สิ่ ง ที่ ประเสริฐ เข้าถึงสิ่งที่ประเสริฐ ได้สิ่งที่ประเสริฐ ถ้ า ไม่ เ คยนึ ก คิ ด มาก่ อ น ว่า สิ่งที่ประเสริฐที่พระอริยบุคคลทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ตรัสว่าประเสริฐ นั้นก็คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค อาจจะตะลึ ง โดยไม่ เ คยคาดคิ ด มาก่ อ นว่ า ทุ ก ข์ นั่ น หรื อ คื อ สิ่ ง ที่ ประเสริฐ สมุทัยนั่นหรือ คือสิ่งที่ประเสริฐ รู้ สึ ก ว่ า มี นำ้า หนั ก เบาไป รู้ สึ ก จะไม่ เ ห็ น ด้ ว ย แต่ ถ้ า กล่ า วว่ า นิ โ รธ หรื อ มรรค เป็นสิ่งที่ประเสริฐ รู้สึกจะว่าจะมีนำ้าหนักดีฟังแล้วเห็นด้วย แ ต่ ข อ ให้ทำาความเข้าใจให้ได้ว่า นี้คือพุทธวจนะที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ พระพุทธเจ้าทรงมองเห็นว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่ประเสริฐ สมุทัยก็เป็นสิ่งที่ ประเสริฐ นิโรธก็เป็นสิ่งที่ประเสริฐ มรรคก็เป็นสิ่งที่ประเสริฐ ความเข้าใจของคนสามัญทั่วไปอาจจะทวนกระแส นี้ ซึ่งทุกข์เราก็ไม่อยากได้ยิน ไม่อยากได้ ไม่อยากพบเจอ และไม่อยาก เห็นด้วย เพราะโดยทั่วไปคนเราไม่ค่อยคิดไม่ค่อยสนใจเรื่องเหล่านี้เลย แต่ถ้าคนเรามีความเข้าใจในเรื่องเหล่านี้แล้ว จะเกิดประโยชน์อย่างมากที เดียว ถ้าไม่เข้าใจเรื่องเหล่านี้ ประโยชน์ก็จะไม่เกิดเลย จึงอยากให้มีความ เข้าใจในสิ่งที่ประเสริฐเหล่านี้บ้าง แต่จะขยายความเฉพาะอริยสัจเพียงข้อ แรกเท่านั้นคือเนื้อความของทุกข์
  • 9. เนื้อความของ “ทุกข์”ในอริยสัจ เนื้อความของ ”ทุกข์” ที่รู้จักและพอจะคุ้นเคย ก็คือทุกข์ที่พระพุทธเจ้า แสดงไว้ ใ นธรรมจั ก รกั ป ปวั ต นสู ต รและรั ช กาลที่ ๔ ตั ด เอาเน้ อ ความจาก ธรรมจักรมาไว้ในบทสวดมนต์ทำาวัตรเช้า – เย็น ดังนี้ สภาวะทุกข์ พระบาลีพุทธวจนะ คำาแปล อิทำ โข ปน ภิกฺขเว ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย นี่ แ ห ล ะ ทุกฺขำ อริยสจฺจำ ทุกข์อย่างแท้จริง คือ : ชาติปิ ทุกฺขา แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์ ชราปิ ทุกฺขา แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์ มรณมฺปิ ทุกฺขำ แม้ความตายก็เป็นทุกข์ ปกิณณกทุกข์ - โสก ความเศร้าโศก, ความแห้งใจ - ปริเทว ความรำ่าไรรำาพัน, ความครำ่าครวญ - ทุกฺข ความไม่สบายกาย - โทมนสฺส - ความไม่สบายใจ - อุปายาสาปิ ทุกฺขา ความคับแค้นใจ, ก็เป็นทุกข์ - อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ความประสบสิ่ ง ไม่ เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์ - ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ความพลั ด พรากจากสิ่ ง เป็ น ที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์ - ยมฺปิจฺฉำ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขำ มี ค วามปรารถนาสิ่ ง ใน ไม่ได้สิ่งนั้น นั้นก็เป็นทุกข์ ทุกข์โดยสรุป สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทา นกฺขนฺธา ทุกฺขา ว่ า โ ด ย ย่ อ อุ ป า ท า น ขั น ธ์ ทั้ ง ๕ เ ป็ น ตั ว ทุ ก ข์ นี้คือทุกข์ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ แต่ถ้าอ่านเพียงเท่านี้ ก็อาจจะไม่เข้าใจ ทุกข์ได้ เพราเนื้อความของทุกข์จริง ๆ แล้วมีมากกว่านี้ ก็ลองมาทำาความ เข้าใจต่อไป ทีนี้มาทำาความเข้าใจอีกว่า ทุกข์ที่ว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐนั้น ถ้าหากใคร ไปดูไปรู้ไปเห็นทุกข์ ได้ชื่อว่าประเสริฐ คือใครรู้ทุกข์แล้ว ผู้นั้นจะได้เป็น พระอริยะ ผุ้นั้นจะเป็นผู้หมดจดจากกิเลสได้ อย่างนี้ไม่เรียกว่าประเสริฐอีก หรือ รู้เงินรู้ทองรู้วิธีการทำาเงินทำาทอง รู้วิธีการทำาการเกษตรการผลิต รู้ เทคโนโลยีที่ทันสมัยต่าง ๆ
  • 10. เป็นต้ น รู้เรื่อ งต่าง ๆ เหล่านี้ทั้งหมด ไม่ ถือ ว่าประเสริ ฐ แต่ถ้ารู้ ว่าทุ กข์ คือ อะไร อะไรคือทุกข์ ได้ชื่อว่ารู้ในสิ่งที่ประเสริฐแล้ว จึงควรทำา ความเข้าใจ ให้ได้ว่า ทุกข์ที่เป็นอริยสัจนั้นคืออะไร และการเข้าไปรู้ทุกข์ก็ได้ชื่อว่ารู้ใน สิ่งที่ประเสริฐ ฉะนั้น ทุกข์จึงเป้นอริยสัจ สมุทัยคือเหตุให้เกิดทุกข์ การรุ้สมุทัยและละสมุทัย ทำาให้สมุทัยนั้นดับ โดยไม่ให้สมุทัยเกิดอีกต่อไป การรู้ทุกข์ และดับสมุทัยตามกิจของอริสัจได้ ก็เป็นเหตุให้เข้าถึงความเป็น พระอริยบุคคลได้ เพราะฉะนั้นทุกข์กับสมุทัยก็เป็นต้ นเหตุให้เข้าถึงคามเป้ นพระอริยบุคคลได้ สิ่งที่ประเสริฐนั้น ไม่ใช่สุข แต่เป็นทุกข์ แต่ทุกข์ที่จะเป็นสิ่งที่ประเสริฐ ได้นั้น เพราะการเข้าไปรู้ เมื่อใดปัญญาเกิดรู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกข์คือ อะไร อะไรคื อ ทุ ก ข์ และยอมรั บ ความเป้ ฯ จริ ง เมื่ อ นั้ น ถื อ ว่ า มี ส มบั ติ ที่ ประเสริฐ ฉะนั้น ควรทราบว่า ความเป็นจริงที่ประเสริฐก็มี ความเป็นจริงที่ ไม่ประเสริฐก็มี และความเป็นจริงที่ประเสริฐนั้นก็มีเพียงสี่อย่างเท่านั้น ความ จริงนอกจากสี่อย่างนี้ถือว่าไม่ประเสริฐเลย ถ้าเรายังรู้และไม่เข้าใจในสิ่งที่ ประเสริฐคืออริยสัจนี้ ก็ถือว่ายังตกอยู่ในความมืดบอด จะเห็ นได้ว่า ทางเดินของชี วิ ต ของคนเราในปั จ จุ บัน จะสวนทางกั บ พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าแสวงหาทางพ้นทุกข์ให้กับเรา แต่เราไม่แสวงหา ทางพ้นทุกข์ เพราะเราแสวงหาทุกข์อยู่ตลอดเวลา ในขณะที่พระพุทธองค์ บอกเราว่ า ทุ ก ข์ คื อ อะไร อะไรคื อ ทุ ก ข์ เมื่ อ เราไม่ เ ข้ า ใจตรงนี้ ก็ พ ากั น แสวงหาทางพ้นทุกข์ การแสวงหาทางพ้ นทุกข์ด้วยการเดินเข้าไปหาทุกข์ โดยที่ไม่รู้ว่านั่นคือทุกข์ เกาะทุกข์ไว้อย่างเหนียวแน่น ยึดทุกข์ไว้เป็นที่พึ่ง ละทุ กข์ ไม่ ไ ด้ แล้ว ก็บ อกว่า อยากจะพ้ น ทุ ก ข์ เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ จ ะพ้ น ทุ ก ข์ ไ ด้ อย่างไร เพราะการแสวงหาทางพ้นทุกข์ ถ้าไม่รู้จักว่าทุกข์คืออะไร อะไรคือ ทุ ก ข์ จะพ้ น จากทุ ก ข์ ไ ด้ อ ย่ า งไร และทางที่ จ ะให้ พ้ น จากทุ ก ข์ มี ท างเดี ย ว เท่านั้น คือ การรู้ทุกข์ และละเหตุให้เกิดทุกข์ ก็จะทำาให้ถึงการพ้นทุกข์ได้ อริยสัจทั้งสี่นี้ เรียกตามภาษาธรรมว่า ทุกขอริยสัจจะ สมุทยอริยสัจจะ ทุกขนิโรธอริยสัจจะ และทุกขนิโรธคามิ นีอ ริย สัจ จะ ต้องขึ้ นต้ นด้ วยคำา ว่า ทุกข์ทั้งหมด ฉะนั้น ควรทำาความเข้าใจให้ได้ว่า ทุกข์เป็นของดี เพราะถ้า ทุกข์ไม่ใช่ของดี ทุกข์นี้จะไม่ได้ตำาแหน่งอริยสัจเลย เราท่านทั้งหลายอาจจะ ไม่เคยคิดมาก่อน แต่ในการศึกษาธรรมต้องเข้าถึงเหตุผลให้ได้เพื่อจะได้รู้ แจ้งในคำาสอนของพระพุทธเจ้า ลองพิจารณาว่า ในอริยสัจนั้นมีสุขหรือไม่ ไม่มีเลย อริยสัจมีทุกข์ มีเหตุให้เกิดทุกข์ มีความดับทุกข์ และมีธรรมที่ให้ ถึงความดับทุกข์ เป็นเรื่องที่น่าคิดใช่หรือไม่ว่า ทุกข์ถูกยกขึ้นมาเป็นอริยสัจ เป็นของประเสริฐ ถามว่าประเสริฐตรงไหน เพราะถ้าใครรู้ทุกข์แล้วจะทำาให้ ผู้ นั้ น ได้ เ ป็ น ผู้ ป ระเสริ ฐ และสมุ ทั ย ถ้ า ใครละแล้ ว จะทำา ให้ ผู้ นั้ น ได้ เ ป็ น ผุ้ ประเสริ ฐ นิโรธคือ นิพพาน ถ้าใครทำา ให้ แจ้ งแล้ ว ก็ จะทำา ให้ ผู้ นั้นเป็ นผู้ ที่
  • 11. ประเสริฐ ส่วนมรรคได้ชื่อว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ เพราะถ้าใครเจริญมรรคได้ แล้ ว ผู้ นั้ น ก็ จ ะได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ผู้ ที่ ป ระเสริ ฐ ฉะนั้ น ผู้ ที่ เ ข้ า ถึ ง อริ ย สั จ ทั้ ง สี่ ประการ จึงชื่อว่าเป้นผู้ที่ประเสริฐ ในปัจจุบันนี้ มีผู้ที่ตองการจะเข้าถึงโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี และ ้ พระอรหันต์ แต่หันหลังให้อริยสัจ ๔ ไม่ยอมศึกษาไม่ยอมปฏิบัติตามอริยสัจ ๔ ได้แต่คิดเอง พูดเอง เข้าใจเอาเอง และก็สอนตามความคิดความเข้าใจ ของตน โดยไม่ยึดหลักที่ถูกต้องที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ จึงเกิดสัทธรรมปฏิรูป ขึ้นมามากมายหลายสำานักดังปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน ควรจะได้ศึกษาให้เข้า ใจให้ ได้ ว่ า ทุกข์คืออะไร อะไรคือ ทุ กข์ จึงมี ตำาแหน่งในอริยสัจ ๔ ได้ ถ้าเราได้รู้และเข้าใจอย่างที่พระพุทธเจ้าสอน นั่น แหละคืออริยสัจ ๔ จริง ๆ มาเริ่มทำา ความเข้าใจต่อว่า ทุกข์คืออะไร อะไร คือทุกข์ ความเข้าใจของคนเราโดยทั่วไปเช่น การไม่มีกินไม่มีใช้ไม่มีเงิน ไม่มีทองก็ต้องทุกข์แน่ นั่นคือพื้นฐานความเข้าใจของคนสามัญ แต่ทุกข์ที่ จะทำา ให้เดความเป็นพระอริยมิ ใช่ มี เพี ย งแค่ นี้ มาทราบความหมาย่ าอนว่ า ทุกข์คืออะไร ทุกข์นั้นคือ ต้องผันแปรเปลี่ ย นแปลง เกิ ดแล้ว ต้อ งดั บ และ บั ง คั บ อะไรมั น ไม่ ไ ด้ นี่ คื อ ทุ ก ข์ และมี อ ะไรบ้ า ง ที่ เ กิ ด มาแล้ ว ไม่ ดั บ ไม่ ผันแปรเปลี่ยนแปลง และเราสามารถบังคับให้เป็นสุขได้ตลอดไป ไม่มีเลย ฉะนั้ น ที่ไหนมีความไม่เที่ ย งคงอยู่ ในสภาพเดิม ไม่ ได้ ที่ไหนมีความ เป็นทุกข์ ที่ไหนมีการบังคับบัญชาอะไรไม่ได้เลย นั่นคือทุกข์ แล้วอะไรเล่า ที่ทำา ให้เป็นไปอย่างนั้น ทราบหรือไม่ ก็ขันธ์ ๕ นั่นเอง ขันธ์ ๕ คือตัวทุกข์ และทุกข์เป็นปริเยยกิจ เป็นกิจที่ควรรุ้ เมื่อใดได้รู้ทุกข์ เมื่อนั้นได้ชื่อว่า รู้ อริยสัจข้อที่ ๑ ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้แล้ว และความประเสริฐแห่งจิตได้เกิด ขึ้นแล้ว ทุ ก ข์ เ ป็ น สภาพที่ บี บ คั้ น ทนได้ ย าก ในชี วิ ต คนเราไม่ เ คยรู้ เ ลยว่ า สภาพที่บีบคั้นและทนได้ยากนั้นมาจากอะไร ใครเป็นทุกข์ รู้อยู่อย่างเดียว ว่า เรานี้เอง ฉันี้เองเป็นทุกข์ จะรู้อยู่เพียงแค่นี้ ไม่เคยรู้เลยว่า เราและฉัน ไม่ได้เป็นทุกข์ แต่ที่ทุกข์คือขันธ์ ๕ เมื่อการรู้แจ้งตามความเป็นจริงยังไม่เกิด ความเป็ น อริ ย ะก็ เ กิ ด ไม่ ไ ด้ ถ้ า เมื่ อ ใดรู้ แ จ้ ง ตามความเป็ น จริ ง แล้ ว นั่ น คื อ ความเป็นอริยะก็เกิด แต่ก่อนแต่ไรมา เราไม่เคยสนใจเรื่องเหล่านี้ เรารู้อยู่อย่างเดียว เรา อยากได้ ค วามสุ ข ดิ้นรนทุ ก วิ ถี ท างเพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามสุ ข มาตอบสนองความ ต้องการของเรา เพราะในความต้องการของชีวิตคนเรา ไม่มีใครอยากได้ ความทุกข์ อยากได้แต่ความสุข แต่ความสุขที่ตนเองอยากได้ แท้จริงมันอยู่ ที่ ต รงไหนก็ไ ม่ รู้ ต่า งแสวงหาขั นธ์ อ ยากได้ ขั น ธ์ ต้ อ งการขั น ไม่ รู้ เ ลยว่ า ขันธ์นั้นคือตัวทุกข์ ตัวทุกข์ที่แท้จริงมี ๒ อย่าง คือ ขันธ์ ๕ และ การเข้าไป ยึดถือขันธื ๕ เมื่อใดมีขันธ์ ๕ เมื่อใดมีการเข้าไปยึดถือขันธ์ ๕ เมื่อนั้นมีทุกข์ แน่ น อน ถ้ า ความรู้ ค วามเข้ า ใจเกิ ด ขึ้ น แก่ เ ราว่ า นี้ คื อ ขั น ธ์ ๕ นี้ คื อ การ
  • 12. เข้าไปยึดถือขันธ์ ๕ เวลาที่ทุกข์เกิดขึ้นแก่เราจริง ๆ ในชีวิตประจำาวัน เราก็ จะรู้ ว่ า ทุ กข์ นี้ไ ม่ใ ช่เ ราทุ ก ข์ มั นคื อ ขั นธ์ ๕ มั น คื อ ปั ญ จุ ป าทานขั น ธ์ เมื่ อ ปัญหาคือความทุกข์เกิดขึ้นกับกับเรา ๆ ก็สามารถใช้ปัญญาคือความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้องอย่างนี้มาใช้แก้ปัญหาได้ สิ่งที่ประเสริฐไม่ใช่สุข แต่สิ่งที่ประเสริฐคือทุกข์ และทุกข์ที่จะประเสริฐได้ นั้นเพราะการเข้าไปรู้ เมื่อใดปัญญาเกิดรู้แจ้งตามความเป็นจริงของทุกข์ว่า ทุกข์คืออะไร อะไรคือทุกข์ แล้วยอมรับความเป็นจริงตรงนี้ได้เมื่อไร เมื่อนั้น จะทำา ให้ เ ป็ น ผู้ มี ส มบั ติ ติ ด ตั ว คื อ การเข้ า ไปรู้ ทุ ก ข์ และสมุ ทั ย ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ประเสริฐได้ เพราะเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ใครรู้ได้ว่าสมุทัยเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ และดับสมุทัยได้เมื่อไร นั่นคือมีอริยสมบัติติดตัวเช่นกัน เพราะอะไร เ พ ร า ะ ว่าขันธ์ ๕ ที่เราได้มามี รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ท่านทั้งหลาย อาจไม่รู้ว่าใครเป้นเจ้าของ ตอบได้เลยว่า ขันธ์ ๕ ที่มีอยู่เพราะกิเลสเป็น เจ้าของ กิเลสที่เป็นเจ้าของตัวนี้ คือ ใคร ก็คือสมุทั ย สมุทัยทัยเป็ นชื่ อของ ใคร เป็นชื่อของตัณหาๆ เป็นชื่อของใคร เป็นชื่อของโลภมูลจิต เมื่อใดจิตมี โลภะเข้าประกอบเกิดขึ้น เมื่อนั้นให้รู้ว่า เหตุให้เกิดทุกข์เกิดขึ้นแล้ว เพราะ อะไร เพราะตัณหาคือเหตุให้เกิดทุกข์ เกิดขันธ์ ๕ เกิดการเข้าไปยึดขันธ์ ๕ การที่ละเหตุให้เกิดทุกข์ละได้เมื่อใด เมื่อนั้นขันธ์ ๕ ที่เรามีอยู่ จะมีอยู่เฉพาะ ปัจจุบันนี้ อนาคตจะไม่มี เพราะว่ าขันธ์ ๕ มีเมื่อใด ขันธ์ขันธ์ ๕ เป็นที่ตั้ง แห่งทุกข์เมื่อนั้น เมื่อทุกข์เกิดเราจะไปโทษสังขารหรือขันธ์ชุดนี้ไม่ได้ เพราะว่ามันเป็น ผลของตัณหา มันเกิดเพราะอาศัยตัณหาเป็นต้นเหตุ เมื่อตัณหาเป็นต้นเหตุ เราจะไปทำา ลายผลคื อ อั ต ภาพชุ ด นี้ ไ ม่ ไ ด้ เช่ น ฆ่ า ตั ว ตาย กิ น ยาตาย ปัญหาเหล่านี้เกิดจากอะไร เกิดจากคิดผิด เข้าใจผิด จึงแก้ปัญหาผิด ไม่มี ใครบอกเราเลยว่าขันธ์ ๕ หรือรูปนามชุดนี้เป็นทุกข์ แล้วทุกข์คือขันธ์ ๕ ชุด นี้ไม่ควรไปประหารหรือทำาลายหรือฆ่ามันเลย สิ่งที่ต้องทำาลายไม่ใช่ขันธ์ ๕ ชุดนี้ แต่ที่ควรทำาเลยและประหารฆ่าคือตัณหา ถ้าจะคิดฆ่าควรฆ่าตัณหา ผู้ ใดฆ่าตัณหาได้ คืออริยะ ตราบใดที่ยังมีตัณหา ตราบนั้นยังมีภพชาติต่อไป เรารู้จักทุกข์เฉพาะว่า ไม่มีกินไม่มีใช้ แต่ทุกข์ที่จะทำาให้เกิดความเป็น พระอริยะมิได้มีเพียงแค่นี้ ความหมายของทุกข์คือ ต้องผันแปร เปลี่ยนแปลง ทุกข์ก็คือเกิดแล้ว ต้องดับ ทุกข์คือบังคับอะไรมันไม่ได้ นี่คือ “ทุกข์ ” มีอะไรบ้างที่เกิดแล้วไม่ ดั บ มี อ ะไรบ้ า งที่ ไ ม่ ผั น แปรเปลี่ ย นแปลง มี อ ะไรบ้ า งที่ เ ราสามารถบั ง คั บ บัญชามันได้ตลอดไป ไม่มีเลย ฉะนั้น ที่ไหนมีความไม่เที่ยง ที่ไหนมีความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ที่ไหน บังคับบัญชาอะไรมันไม่ได้ ที่นั่นคือ “ทุกข์” อะไรที่เป็นอย่างนั้น คือ ขันธ์ ๕ เป็นตัวทุกข์
  • 13. ทุกข์เป็นปริญเญยยกิจ ทุกข์คือสภาพที่ทนได้ยากนั่นก็คือขันธ์ ๕ แต่ ก่ อนเรารู้ อย่างเดีย วว่า เราต้องการความสุ ข ดิ้นรนทุ กวิ ถีท างเพื่ อ ให้ ด ได้ ความสุขมาตอบสนองตนเอง ในความต้องการคนเรานั้ นไม่อยากได้ค วาม ทุกข์เล่ย อยากได้แต่ความสุข ตัวทุกข์ที่แท้จริงมีอยู่ ๒ อย่าง คือ ขันธ์ ๕ และการเข้าไปยึดขันธ์ ๕ เมื่อไรความเข้าใจเกิดขึ้นว่านี่คือขันธ์ ๕ นี่คือการเข้าไปยึดขันธ์ ๕ เมื่อทุกข์ เกิดขึ้นกับเรา เราก็จะรู้ทันทีว่า ทุกข์นี้ไม่ใช่เรา เป็นเพียงขันธ์ ๕ และ การ เข้าไปยึดถือขันธ์ ๕เท่านั้นเอง อัตภาพชุดนี้คือผลของตัณหาที่เราได้ทำา ไว้แล้วในอดีต เมื่อเหตุสร้าง ไว้แล้วอย่างไร ผลก็ต้องได้รับอย่างนั้น ลองส่องกระจกดูก็ได้ ส่วนตัณหา ในปัจจุบันจักเป็นเหตุให้ได้ขันธ์ ๕ ชุดใหม่ในอนาคต จึงเรียกได้ว่าขณะนี้ เราใช้ของเก่า ส่วนของใหม่นั้นจะเป็นตัณหาหรือไม่ก็ลองพิจารณาดู เช่น การทำาบุญกุศลต่างๆ ประกอบด้วยตึณหาความอยากหรือป่าว มีตัณหาร่วม ด้วยหรือไม่ ทำาความดีมีตัณหาร่วมด้วยเรียกว่า วัฏฏกุศล กุศลใดมีตัณหาเป็นเหตุปัจจัย กุศลนั้นเรียกว่าวัฏฏกุศล ยังต้องนำา เกิด แต่ เป็นการนำาเกิดที่ดี ให้สุคติเป็นที่หวัง ตัณหาครอบงำาได้ตั้งแต่มนุษย์ เทวดา พรหม อรูปพรหม แต่ไม่เรียกว่าตัณหา เรียกว่า “สังโยชน์” คือกามสังโยชน์ เพราะว่าสภาพของกิเลสมีหลายชื่อหลายกองและหลายชนิดขนาด พระอรหันต์ทำา ลายทุกข์ได้ ห มดแล้ ว นั่นหมายถึ งทุ กข์ ที่ จ ะเกิ ด ต่ อ ไป ข้างหน้าหมด แต่ทุกข์ในปัจจุบันยังมีอยู่ คือทุกข์อันเนื่องจากขันธ์ ตราบใด มีขันธ์พระอรหันต์ยังป่วยยังเจ็บ ยังต้องกิ นต้ องดื่ม ยังมีการหิ วกระหายอยู่ แต่ว่าพระอรหันต์หมดอุปาทานขันธ์แล้ว ฉะนั้น พระอรหันต์มีชีวิตอยู่เพียง รอโอกาส หมดอายุของขันธ์เมื่อไร ก็นิพพานเมื่อนั้น อายุของขันธ์ยังมีอยู่ พระอรหันต์ก็ไม่ขวนขวายที่จะต่อหรือทำา ลาย ถ้าพระพุทธเจ้ายังอยู่ก็จะไป กราบลาทูลของนิพพาน แต่ถ้ากิจของพระอรหันต์ยังมีอยู่ต้องไปทำากิจนั้นให้ เสร็จ พระองค์ก็จะบอก เช่น พระสารีบุตรพิจารณาเห็นว่าอายุของขันธ์หมด แล้ว ก็ไปทูลลาปรินิพพาน แต่พุทธเจ้าบอกว่ากิจของพระอรหันต์ยังมีอยู่ คือ โปรดมารดา ต้องไปทำากิจตรงนั้นให้เสร็จก่อน คือโปรดพระมารดาให้บรรลุ ธรรม กล่าวได้ว่า ในชีวิตคนเรามีทุกข์อยู่ ๓ อย่างคือ ทุกข์เนื่องจากขันธ์ ทุ กข์ เนื่ อ งจากกิเลส และทุกข์เนื่ อ งจากบาปอกุ ศ ลที่ ทำา ไว้ ใ นอดี ต ยึด หลั ก พุทธพจน์ที่ว่า ยาทิสัง... ทำา อะไรไว้ ก็จะได้รับเหมือนกัน เมื่อทำา ไว้แล้วจะถอนหรือโยกย้ายก็ไม่ได้ ไม่ว่าดีหรือชั่ว แม้แต่พระพุทธองค์เองยังต้องได้รับผลกรรมเช่นกัน ไม่มีการ ยกเว้นแม้แต่ผู้นั้นจะเป็นพระพุทธเจ้า
  • 14. เมื่ อ ทุ ก ข์ เ กิ ด ให้ ทำา ใจว่ า เราทำา ไว้ ไ ว้ เ อง ไม่ มี ใ ครทำา ให้ เ ราหรอก เราไม่เคยโกง หรือฆ่าใคร จะมีใครมาโกงหรือ ฆ่าเราล่ ะ มีหนี้อย่างไร ก้ ต้องใช้หนี้อย่างนั้นไม่ชาติใดก็ชาติหนึ่งแน่นอน เรื่อของกรรมมาจากตัณหาให้ทำา กุศลหรือ อกุ ศลก็ได้ เช่น คนเกิดมา พิการ บ้าใบ้บอดหนวก เพราะอะไร อย่าโทษพ่อแม่ไม่ดีหรือติด เชื่ อหรือมี ใครทำา ให้ไม่ดี ต้องโทษตัวเราเอง หนี้เงินหนี้ทองต้องใช้ด้วยเงินทอง แต่ หนี้ชีวิตอันเกิดจากอกุศลกรรม จะเอาเงินไปใช้ไม่ได้ เมื่อประสบกับปัญหา ต้องเอาปัญญามาใช้แก้ไขวางใจให้ถูกทำาใจให้ได้ ขึ้ นชื่ อ ว่าบาปแม้ เพีย งนิด ก็ ค วรเว้ น ขึ้ นชื่ อ ว่ าบุ ญ แม้ เพี ย งนิ ด หน่ อ ยก็ ควรทำา ตัวทุกข์ถ้าไม่เข้าใจจะเข้าใจเหตุให้เกิดทุกข์ได้อย่างไร ทุกขอริยสัจ คืออะไร บาลีว่า ทุกฺขำ เอว อริยสจฺจนฺติ ทุกฺขอริยสจฺจำ แปลว่า ทุ ก ข์ นั่ น เอง เรี ย กว่ า อริ ย สั จ คื อ ขั น ธ์ ๕ หรื อ รู ป นามนั่ น เอง ขื่ อ ว่ า ทุ ก ข อริยสัจ 1. ปีฬนฏฺโฐ มีสภาพเบียดเบียนเป็นนิจ เช่น เรานั่งเฉยๆ เชื่อหรือป่าว ว่าใครเบียดเบียนเรา ผู้เบียดเบียนเรานั่นแหละคือ ตัวทุกข์ ลองนั่ง เฉยๆ อะไรเกิดขึ้น ทำาไมไม่เฉยต่อไป ทำาไมต้องเมื่อยเพิ่มขึ้นๆ จน ในที่สุด ทนไม่ไ หวต้อ งขยั บ ๆ ทำา ไม ก็ เพราะทุ ก ข์ เ ล่ น งาน ขยั บ ที ทุกข์ก็ลดที นั่นแสดงว่ามีอะไรเบียดเบียนอยู่ ธรรมชาติที่เบียดเบียน นั่นแหละเรียกว่า “ทุกข์” 2. สังขตฏฺโฐ ต้องปรุงแต่งอยู่เรื่อยๆ ขยับทีก็ปรุงที ถ้าไม่ปรุงไม่ไหว และต้องมีเหตุผลด้วย แต่เราไม่รู้ว่าเพราะเหตุไร นั่นคือทุกข์ปรากฎ จึง่ต้องดิ้นรน เพราะคนเราถ้ามีความสุขก็ไม่ต้อบงดิ้เนรน ที่ดิ้นรน เพราะว่ า ไม่ มี ค วามสุ ข และดิ้ น รนแบบไม่ รู้ ตั ว ด้ ว ย ต้ อ งดิ้ น รนอยู่ เรื่อย เดี๋ยวขยับนิดเหยียดหน่อยในอิริยาบถต่างๆ น้อยใหญ่ ถามว่า ทำา ไม ต้องยืนเดินนั่งนอน เราไม่เคยรู้ เลยว่ าอิ ริ ย าบถทั้ ง ๔ เกิ ด จากอะไร เกิดจากทุกข์เบียดเบียน ถ้าทุกข์ไม่เบียดเบียขนก็ไม่ต้อง ขยับ แต่เพราะทุกข์เข้าเบียดเบียน การดิ้นรนเพื่อแสวงหาความสุข จึ งต้อ งเกิด การที่เราต้ องขยั บ หรื อ เปลี่ ย นอิ ริ ย าบถก็ คือ การดิ้ นรน ขยั บ หรื อ เปลี่ ย นแล้ ว สุ ข เกิ ด แต่ ที่ เ รี ย กว่ า สุ ข ความจริ ง เป็ น เพี ย ง ความทุกข์มันลดลง แต่ถ้าขยับหรือเปลี่ยนอิริยาบถแล้วทุกข์ไม่ลด จะทำา อย่างไร อยู่ไม่ได้ต้องวิธีแก้กินยาหรือรักษากินต่อไป รักษา เพื่ อ ให้ ทุ ก ข์ ล ด ถ้ า ทุ ก ข์ ล ดก็ บ อกว่ า ยาดี ค่ อ ยยั ง ชั่ ว หารู้ ไ ม่ ว่ า ที่ บอกว่าค่อยยังชั่วเพราะทุกข์มันลด ถ้าไม่ลดก็ต้องทุกข์หนักถึงขั้น ตายไปเลย ในชีวิตคนเรางานที่ยิ่งใหญ่คืองานแก้ทุกข์ ไม่ใช่อย่าง อื่น เราอาจไม่เคยคิด แม้เวลานอนหลับยังต้องแก้ทุกข์รำ่า ไป เช่น
  • 15. ทำาไมต้องพลิกซ้าย นอนๆ ไปทำาไมต้องพลิกขา พลิกไปพลิกมาตก เตียงยังมีเลย เราไม่เคยหาคำา ตอบตรงนี้เลย เพราะทุกข์มันบีบคั้น จึงต้องพลิกใช่หรือไม่ เราต้องแก้ทุกข์อยู่ตลอดเวลา แต่เราไม่เคยดู ไม่เคยเห็นทุกข์เลย เห็นแต่มันเป็นสุข เห็นตอนไหนที่ว่าสุข ก็เห็น ตอนทุกข์มันลดลง ได้แก่ความสบาย เพราะเราแสวงหาความสบาย จากการที่ทุ ก ข์มั นลดลง เช่ น หิง ก็ กิ น กระหายก็ ดื่ ม ปวดก็ ข ยั บ แต่ เ ราไม่ เ คยคิ ด เลยวิ สิ่ ง ที่ เ ราทำา อยู่ นี้ คื อ การแก้ ทุ ก ข์ เพราะ ทุกขเวทนาเมื่อเกิดขึ้น ต้องแก้ไข ไม่แก้ไม่ได้ เพราะฉะนั้น ความ สุ ข จึ ง ไม่ ถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มาเป็ น อริ ย สั จ เพราะมั น ไม่ ไ ด้ มี อ ยู่ จ ริ ง ๆ เพราะสุ ข ที่ เ ราได้ ม าในชี วิ ต จริ ง ๆ เป็ น เพราะทุ ก ข์ มั น ลดลง รู้ เข้าใจ และยอมรับความเป็นจริงของชีวิตจะได้กำา ไร เราคิดเพียง ว่า มีอะไรเยอะๆ เช่น มีเงินมีทองเยอะๆ มีบ้านหลังใหญ่ๆ มีรถคัน งามๆ และมีอะไรอีกหลายอย่าง จะทำา ให้เรามีความสุข เพราะมัน จะมาสนองความต้องการของเราได้ หารู้ไม่ว่าเราแสวงหาความสุข ด้วยตัณหา แล้วตัณหาก็หลอกเราตลอด มีเมียก็ทุกข์เพราะเมีย มี ลูกก็ทุกข์เพราะลูก มีอะไรก็ทุกข์เพราะอย่างนั้น เพราะไม่รู้ค วาม เป็นจริงของชีวิตจึงต้องเป็นเช่นนั้น ยึดแค่ไหน ก็ทุกข์แค่นั้น เรา ไม่เคยคิดเลยว่า เมื่อมีสิ่งเหล่านั้นแล้วจะมีความทุกข์ คิดแต่ว่าจะมี สุขอย่างเดียว เพราะไม่ร้ความเป็นจริงของชีวิตคืออวิชชา จึงต้อง แสวงหากันอยู่รำ่าไป คิดว่าอยากมีความสุข ไม่เคยคิดว่าตัวแสวงหา นั้นคืออะไร ก็คือตัณหา ถ้ารู้ด้วยปัญญาว่าสิ่งที่แสวงหาและได้มา นั้ น คื อ ทุ ก ข์ แก้ ปั ญ หาของชี วิ ต ต้ อ งแก้ ด้ ว ยปั ญ ญา ไม่ ใ ช่ แ ก้ ด้ ว ย ตัณหา เช่น ถูกโกงมาจาก ๒ สาเหตุ คือตัณหาอย่างหนึ่งและกรรม ที่เคยทำาไว้อย่างหนึ่ง รู้เรื่องอะไรก็ไม่ประเสริฐเท่ารู้เรื่องทุกข์ 3. สนฺตาปฏฺโฐ เร่าร้อนอยู่ไม่วาย คืออะไร กายและใจก็เร้าร้อนเพราะ ถู กเผาอยู่ด้วยกิเลส ยืน เดิ น นั่ง นอนก็ ไม่ เป็ นสุ ข มีใครเคยนั่ ง อย่างเป็นสุขบ้าง ไม่มีเคยมีทุกข์อยู่ทุกอิริยาบถ เร้าร้อนอยู่ไม่วาย เพราะรูปนามเป็นทุกข์ในตัวมันเอง ทุ ก ขเวทนาระดั บ หนึ่ ง ทุ ก ข สภาวะระดับหนึ่ง ทุกขลักษณะระดับหนึ่ง และทุกขอริยสัจอีกระดับ หนึ่ง แค่ทุกข์คำาเดียวชั่วชีวิตก็เรียนไม่จบ ทุกข์ในอริยสัจเป็นของ ดี ๆ ในแง่ เ ป็ น อารมณ์ ข องปั ญ ญา เมื่ อ ปั ญ ญาเกิ ด และเห็ น ทุ ก ข์ เมื่อไร กิเลสเกิดไม่ได้ โดยเฉพาะโมหะเกิดไม่ได้ เพราะปัญญารู้ แจ้งความเป็นจริ ง เมื่อ โมหะเกิ ด ไม่ ได้ ตั ณ หาก็ เกิ ด ไม่ ได้ เพราะ ตัณหาจะเกิดขึ้นมาได้ เพราะอาศัยโมหะเข้าครอบงำา โมหะเป็นรา เหง้าของกิเลสอกุศลทั้งปวง 4. วิปริมานฏฺโฐ ไม่คงที่แปรปรวนอยู่เสมอ ลองนั่งเฉย ๆ เป็นทุกหรือ ไม่ โดยไม่ต้อ งขยับส่ว นใดเลย แล้ว ก็จ ะเห็ นจากสุ ข จะกลายเป็ น
  • 16. ทุกข์ จากทุกข่นิดหน่อยมันจะเพื่อขึ้นเรื่อย ๆ ในที่สุดก็จะทนไม่ไหว เมื่อทนไม่ไหวก็ต้องขยับ เมื่อขยับจะรู้สึกว่าดี เพราะขยับแล้วสบาย เราไม่รู้เลยว่าความสบายที่ ได้ ม าเพราะเนื่ อ งมาจากทุ ก ข์ มั นลดลง ถ้าทุกข์ไม่ลดลงก็จะแย่ ลองคิดดู