SlideShare a Scribd company logo
ลำดับเหตุกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมเปอร์เซีย

                             ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่านซึ่งกิน
                             เวลาถึง 8 ปี ส่งผลให้อิรักบอบช้ามาก
                             จากภาระบูรณะประเทศ อิรักต้องเป็น
                             หนีต่างประเทศจ้านวนประมาณ
 ธงชำติประเทศอิรัก
                             80,000 ล้านเหรียญดอลลาร์
                             สหรัฐอเมริกา ท้าให้ฐานะเศรษฐกิจ
                             ของอิรักทรุดหนัก อิรักมีสินค้าออก
                             หลักคือน้ามัน ซึ่งมีปริมาณร้อยละ 99
                             ของมูลค่าสินค้าออกทังหมด อิรักจึง
                             พยายามผลักดันให้องค์การโอเปก
                             ก้าหนดโควตาการผลิตน้ามันและ
ธงชำติประเทศอิหร่ำน          ก้าหนดราคาน้ามันเสียใหม่ให้อิรักมี
                             รายได้เพิ่มขึน
ลำดับเหตุกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมเปอร์เซีย
                                                เนื่องจาก8 ปีที่อิรักท้าสงคราม คูเวตได้ขยาย
                                      พรมแดนล่วงล้าเข้ามาทางใต้ของอิรัก4 กิโลเมตร เพื่อตัง
                                      ค่ายทหารและตังสถานีขุดเจาะน้ามันเป็นการขโมยน้ามัน
                                      ของอิรัก ยิ่งไปกว่านัน อิรักท้าสงครามกับอิหร่านในนาม
                                      ชาติอาหรับและเพื่อความมั่นคงของชาติอาหรับทังมวล
                                      จึงสมควรที่คูเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการท้า
                                      สงคราม ข้อเรียกร้องที่รุนแรงของอิรัก คือให้คูเวตคืน
Rumailah oilfielงำนขุดนำมันของคูเวต   ดินแดนที่รุกล้าเข้ามา คือ เขต Rumailah oilfield ซึ่งมี
                                      น้ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบูมิยัน กับเกาะวาร์
                                      บาห์ ในอ่าวเปอร์เซีย เพื่อให้อิรักขายน้ามันผ่านอ่าว
                                      เปอร์เซียโดยตรง โดยมิต้องขายน้ามันทางท่อส่งน้ามัน
                                      ผ่านซาอุดิอารเบียและตุรกีเช่นเดิม
สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย
                      สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย หรือบางทีเรียก
                      สัน ๆ ว่า สงครำมอ่ำว (Gulf War)
                      เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิรัก
                      และกองก้าลังผสมจาก 34 ชาติใต้อาณัติ
                      ของสหประชาชาติหรือ UN น้าโดยประเทศ
                      สหรัฐอเมริกา
จุดเริ่มต้นของสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย

                                    จุดเริ่มต้นของสงครามอยู่ที่การบุกรุกประเทศ
                                    คูเวตของกองทัพอิรักในวันที่ 2 สิงหาคม
                                    ค.ศ. 1990 ซึ่งท้าให้สหประชาชาติคว่้า
                                    บาตรทางเศรษฐกิจกับอิรักในทันที หลังจาก
                                    การเจรจาด้านการทูตหลายครัง สหประชาชาติ
                                    จึงมีมติให้ใช้ปฏิบัติการทางทหารเพื่อขับไล่
                                    กองทัพอิรักออกจากประเทศคูเวต เมื่อวันที่
                                    12 มกราคม ค.ศ. 1991
     บริเวณอ่ำวเปอร์เซียและพรมแดน
     ประเทศคูเวตกับประเทศอิรัก
เหตุกำรณ์ในสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย
                                              ภายใต้การน้าของประธานาธิบดีซัดดัม
                                       ฮุสเซ็น ซึ่งทหารมากกว่า 1 ล้านคน มี
                                       ประสบการณ์ร่วมท้าสงครามกับอิหร่านมาแล้ว
                                       และยังมีอาวุธที่ทันสมัยทังเครื่องบิน จรวด
                                       อาวุธเคมี และก้าลังเริ่มต้นพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์
                                       ขึนอีก ส้าหรับคูเวตเป็นประเทศเล็กๆตังอยู่
                                       ระหว่างอิรักกับซาอุดีอาระเบียในอดีตคูเวตเป็น
                                       จังหวัดหนึ่งของอาณาจักรออตโตมันแต่ด้วยเหตุ
                                       ที่เป็นแหล่งน้ามันอย่างมหาศาลท้าให้ถูกตกอยู่
                                       ภายใต้การ ปกครองของสหราชอาณาจักร
ประธำนำธิบดี ซัดดัม ฮุสเซ็น
                                       ตังแต่ ค.ศ.1914 และได้รับเอกราชเมื่อปี
                                       ค.ศ.1961 จึงเข้ายึดคูเวตได้อย่างง่ายดาย เป็น
                                       เวลากว่า 6 เดือน
สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต

                                   สาเหตุที่อิรักเข้ายึดคูเวตนันมีสาเหตุหลาย
                                   ประการได้แก่
                              1.   แรงกดดันจากหนีสงครามอิรัก-อิหร่าน
                                   อิรักจึงต้องการคุมแหล่งน้ามันของโลกคือ
                                   คูเวต เพื่อเพิ่มอ้านาจต่อรองในการผลิตน้ามัน
                                   และการก้าหนดราคาน้ามัน


แหล่งผลิตนำมันในคูเวต
สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต

                             2.อิรักและคูเวตมีกรณีพิพาทดินแดน Rumailah
                             Oilfield แหล่งน้ามันที่ส้าคัญมาเป็นเวลานาน
                             และหาข้อยุติไม่ได้
                             อิรักจึงถือโอกาสยึดครองคูเวตด้วยเหตุผล
                             ด้านเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต
                                    3.อิรักไม่มีทางออกทะเลหรือทางอ่าว
                                    เปอร์เซีย เพราะมีเกาะบูมิยันและ
                                    เกาะวาห์บาห์ของคูเวตขวางทางอยู่
                                    อิรักจึงมิอาจขายน้ามันโดยตรงแก่เรือ
                                    ผู้ซือได้ ทังอิรักยังตกลงกับอิหร่าน
                                    เรื่องการใช้เมืองท่าบัสราผ่านร่องน้า
แผนที่ประเทศอิรัก                   ซัตต์-อัล-อาหรับ ไม่ได้
กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ
                         เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1991หลังจากปฏิบัติการทัง
                         ทางอากาศและภาคพืนดินช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991
                         ชัยชนะเป็นของกองก้าลังผสม และวันที่ 27 กุมภาพันธ์
                         1991 ตังแต่วันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 อันเป็นวันที่อิรัก
                         บุกเข้ายึดคูเวตเป็นต้นมาคณะมนตรีความมั่นคงได้
                         ประกาศให้ทุกชาติคว่้าบาตรรัฐบาลอิรัก และด้าเนินการ
                         เคลื่อนไหวทางการฑูตเพื่อหลีกเลี่ยงสงคราม ก้าหนดให้
                         วันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1991 เป็นเส้นตายที่อิรักจะปฏิบัติ
                         ตามมติ ของคณะมนตรีความมั่นคงอิรักไม่ยอมท้าตาม
                         มติดังกล่าว ในวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1991 กองก้าลัง
 ประธำนำธิบดีจอร์จ บุช   นานาชาติจึงเริ่มโจมตีทางอากาศและตามติดด้วยการรบ
                         ภาคพืนดิน ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ปฏิบัติการอันเป็นที่
                         รู้จักกันในนาม "พายุทะเลทราย" (Desert Storm) ครังนีมี
                         กองทัพจากประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกา
กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ
                                             ประเทศต่างๆเข้าร่วมรบโดยการอนุมัติ
                                       ของคณะมนตรีความมั่นคง และอยู่ภายใต้
แ                                      การบัญชาการของสหรัฐอเมริกาวันที่ 27
                                       กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 ประธานาธิบดีจอร์จ
                                       บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศหยุดยิงและ
                                       ประกาศความเป็นอิสรภาพของคูเวต อิรัก
                                       ถอนทหารออกจากคูเวต คณะผู้สังเกตการณ์
                                       สหประชาชาติกรณีอิรัก-คูเวต เริ่ม
        แผนที่กำรโจมตีของสหประชำชำติ   ปฏิบัติงานตังแต่เมษายน ค.ศ.1991มีหน้าที่
                                       อ้านวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่
                                       นานาชาติเข้าควบคุมบริเวณแนวเส้นหยุดยิง
                                       และตรวจสอบก้าลังอาวุธที่อิรักมีไว้ใน
                                       ครอบครอง
กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ
                                      ในปี ค.ศ. 2002 ประธานาธิบดี จอร์จ
                                ดับเบิลยู บุชแห่งสหรัฐอเมริกา ด้าเนินการที่จะ
                                ก้าจัดอาวุธอานุภาพท้าลายล้างสูง อาวุธเคมี
                                อาวุธชีวภาพ นิวเคลียร์ของอิรัก โดยผ่านมติ
                                สภา มอบอ้านาจให้ประธานาธิบดี บุช สั่ง
  เครื่องบินทิงระเบิดของสหรัฐ
                                โจมตีอิรักทันที่ที่จ้าเป็น โดยใช้วิธีการทางการ
                                ฑูตก่อน หากไม่ได้ผลจึงใช้วิธีการทางทหาร
                                สหรัฐกล่าวหาว่าประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุส
                                เซ็น ทุ่มเงินที่ได้จากการลักลอบขายน้ามัน ซือ
                                ชินส่วน อาวุธ อันเป็นการละเมิดมาตรการ “
                                แซงก์ชั่น” การคว่้าบาตรของสหประชาชาติ
      กำลังรบพิเศษของสหรัฐ
กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ
                                การโจมตีอิรักของสหรัฐอเมริกา ก่อให้เกิด
                         การบาดเจ็บล้มตายต่อประชาชนอิรักอิรักยิง
                         เครื่องบินตรวจการณ์ของสหรัฐและอังกฤษ 750
                         ครัง เหนือน่านฟ้า “No-Fly Zone” เขตห้ามบิน
                         สหรัฐอเมริกาอ้างว่ามีหลักฐานเชื่อได้ว่าอิรัก
                         ผลิตแก๊สมัสตาร์ด และแก๊สท้าลายประสาท
                         สะสมไว้ กักตุนเชือโรคแอนแทร็กช์ และ
                         สารชีวภาพอันตรายอื่นๆในปริมาณมหาศาล
                         โดยอิรักต้องยอมให้คณะตรวจสอบอาวุธของ
                         สหประชาชาติเข้าไปพิสูจน์ในทุกที่ที่ต้องการ
                          ถ้าไม่ยอมท้าตาม คณะมนตรีความมั่นคง
                         สหประชาชาติจึงจะออกมติให้สหรัฐเข้า
                         แทรกแซงทางทหารได้
กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ

                         ในที่สุดสหรัฐโจมตีอิรักโดยให้เหตุผลว่าเป็น
                         การป้องกันตัว ผลการปลดปล่อยอิรักให้เป็น
                         อิสระ(Operation Iraqi Freedom) ของ
                         พันธมิตรตะวันตกน้าโดยสหรัฐอเมริกา (20
                         มีนาคม – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2003) มีการค้นหา
                         จับกุมผู้น้า อิรักคนส้าคัญๆ และ
                         ประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุส เซน ในวันที่ 13
                         ธันวาคม ค.ศ. 2003 พร้อมทังคนใกล้ชิด 11คน
กำรสินสุดของสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย
                          แม้ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซนจะหมดอ้านาจบริหาร
                          ประเทศ แต่กลุ่มคนที่เคยเป็นศัตรู ก็ไม่พอใจที่สหรัฐ
                          ยังคงก้าลังของตนและพันธมิตร และด้าเนินการในการ
                          จัดการปกครองอิรัก เขาเห็นว่าสหรัฐก้าลังเปิด
                          โอกาสให้ชาวอิรักที่ไปพ้านัก ท้างานในต่างประเทศ
                          ในขณะที่หนีภัยจากซัดดัม ฮุสเซน ได้กลับมาเป็น
                          ผู้บริหารประเทศแทน แลผู้ที่ถือนิกายซุนนีมองว่าตน
                          ก้าลังจะสูญเสียสถานะภาพ พวกนิกานชีอาห์ บางกลุ่ม
                          ไม่พอใจชาวตะวันตก เพราะต้องการจัดระเบียบ
                          อิรักเอง และต้องการสร้างรัฐอิสลาม จึงมีมุกตาดา
                          อัลศอดร์ ก่อตังกองทัพมะฮ์ดี (Mahdi Army) ขึนต่อสู้
                          กับสหรัฐ และมีการจัดตังรัฐบาลชั่วคราวของชาวอิรัก
                          เพื่อจัดตังรัฐบาลทั่วไปเป็นครังแรกในเดือน มกราคม
                          ค.ศ. 2005 หลังจากสมัย ซัดดัม ฮุสเซน
ปฏิกริยำของประเทศต่ำงๆในระหว่ำงสงครำมต่ออิรัก
               ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ ที่มีต่อการยึดครองคูเวต
               ของอิรักแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ
               1. สหประชาชาติ ชาติอภิมหาอ้านาจ รวมถึงกลุ่ม
               ประเทศยุโรปตะวันตก เห็นตรงกันที่ต้องรักษา
               ดุลอ้านาจในตะวันออกลาง คณะมนตรีความมั่นคง
               แห่งสหประชาชาติมีมติเป็นเอกฉันท์ประณามการ
               รุกรานและเรียกร้องให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต
               โดยไม่มีเงื่อนไข มติของคณะมนตรีความมั่นคงอันดับ
               ต่อมา คือ การประกาศคว่้าบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรัก
               และคูเวต ยกเว้นอุปกรณ์ทางการแพทย์และอาหาร เพื่อ
               เหตุผลด้านมนุษยธรรม แต่อิรักก็ไม่ได้ปฏิบัติตามมติ
               ของสหประชาชาติ
ปฏิกริยำของประเทศต่ำงๆในระหว่ำงสงครำมต่ออิรัก




            2.กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ
            2.1อิยิปต์ ซีเรีย ซาอุดิอารเบีย เรียกร้องให้อิรักถอนทหารออก
            จากคูเวต สนับสนุนการเข้ามาของกองก้าลังพันธมิตรและถือ
            ว่าตนปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ
2.2 จอร์แดน เยเมน ตูนีเซีย แอลจีเรีย และองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ กลุ่ม
นีเรียกร้องให้ชาติอาหรับเจรจาหาทางแก้ปัญหากันเอง โดยไม่ต้องให้เป็นภาระ
ขององค์การระดับโลก นอกจากนียังมองว่าการปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ
เท่ากับเป็นการรังแกชาวอาหรับด้วยกันเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสหรัฐอเมริกา
ด้าเนินการต่างๆ เพื่อเรียกร้องนานาชาติกดดันให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต
ภาพของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน กลายเป็นวีรบุรุษชาวอาหรับที่กล้าท้าทาย
โลกตะวันตก สาเหตุที่สหรัฐอเมริกามีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงนัน เพราะอิรักท้าลาย
ผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลาง และแสนยานุภาพของอิรักอาจ
เป็นอันตรายต่ออิสราเอลพันธมิตรที่ดีของสหรัฐอเมริกาในอนาคตอีก
ผลของสงครำม
                     แม้สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติตังแต่เดือนกุมภาพันธ์ 1991
                     แล้วก็ตาม มาตรการคว่้าบาตรของสหประชาชาติได้
                     บีบคันเศรษฐกิจของอิรักมากขึนกว่าเดิม ประชาชนอด
                     อยากขาดแคลนอาหารและยารักษาโรคจนมีสภาพ
                     ร่างกายที่ทรุดโทรมและต้องเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อ
                     อย่างรุนแรง ในเดือน พฤศจิกายน 1991นัน
   คณะตรวจสอบอำวุธ
                     สหประชาชาติได้จัดตังคณะกรรมการพิเศษตรวจสอบ
                     อาวุธของอิรัก (unscom)
                     เข้าไปตรวจสอบแหล่งผลิตและที่ซ่อนอาวุธเคมี
                     อาวุธนิวเคลียร์ และอาวุธชีวภาพของอิรัก เพื่อให้อิรัก
                     ท้าลายล้างอาวุธเหล่านี หลังจากนันสหประชาชาติ
                     จะยกเลิกมาตรการคว่้าบาตรต่ออิรัก
ผลของสงครำม
              ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสหประชาชาติกับ
              อิรักได้เกิดขึนเป็นระยะๆ จนถึงปัจจุบัน อิรัก
              จะขัดขวางการท้างานของอันสคอม (เจ้าหน้าที่
              ตรวจสอบอาวุธ)อยู่เสมอๆ นอกจากนีในเดือน
              สิงหาคม 1992 คณะมนตรีความมั่นคงแห่ง
              สหประชาชาติได้จัดตังเขตห้ามบินทางตอนใต้
              ของอิรักและขยายมายังตอนเหนือเพิ่มขึนใน
              เดือนกันยายน 1996 ภายหลังสหรัฐอเมริกาได้
              โจมตีทางตอนใต้องอิรักอีก เพื่อเป็นการตอบโต้
              อิรักปราบปรามชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดอย่าง
              รุนแรง
ผลของสงครำม   เมื่อ ค.ศ.1997 อิรักได้ขับไล่ชาวอเมริกันออกจากทีมงาน
              อันสคอมโดยกล่าวหาว่า ชาวอเมริกาคนหนึ่ง
              เป็นสายลับ ซึ่งสหรัฐอเมริกาปฏิบัติค้ากล่าวหานี
              การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและอันสคอม
              กับอิรักได้ตึงเครียดมาตามล้าดับ ค.ศ.1998 เมื่ออิรัก
              ขัดขวางเจ้าหน้าที่อันสคอม ไม่ให้เข้าไปตรวจสอบอาวุธ
    อันสคอม
              บริเวณท้าเนียบประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน
              นายโคฟี อันนาม เลขาธิการสหประชาชาติเดินทางไป
              เจรจากับประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เพื่อยุติการ
              เผชิญหน้าระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา อิรักจึงยินยอมให้
              อันสคอมตรวจสอบอาวุธบริเวณท้าเนียประธานาธิบดี
ผลของสงครำม
                                16 ธันวาคม 1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้อง
                                เดินทางออกจากอิรักเพราะเกรงจะได้รับอันตราย
                                จากอิรัก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึน ประธานาธิบดี บิล
                                คลินตัน ได้ส่งก้าลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับ
                                กองก้าลังทหารอังกฤษเพื่อยิงถล่มอิรักภายใต้
                                ปฏิบัติการชื่อ "ปฏิบัติการจิงจอกทะเลทราย" เป็น
                                เวลา 4 วัน จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส รวมทังบรรดาชาติ
หน่วยปฏิบัติกำรจิงจอกทะเลทรำย   อาหรับอื่นๆ ต่างประณามการกระท้าของ
                                สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทังเรียกร้องให้ยุติ
                                การโจมตีอิรัก ส่วนสมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
                                นิวซีแลนด์ ต่างสนับสนุนมาตรการแข็งกร้าวของ
                                สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
ผลของสงครำม
                   ปัญหาอิรักคือปัญหาที่ท้าทายบทบาทของ
                   สหประชาชาติ ในเวลาเดียวกันก็เป็นปัญหา
                   ภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชีน้าและด้าเนินการ
                   โดยพลการในนามสหประชาชาติ ถือเป็นการละเมิด
                   กฏบัตรสหประชาชาติและหลักการของประชาคม
                   โลก นายโคฟี อันนาม กล่าวแสดงความรู้สึกของเขา
                   ว่า "วันนีเป็นวันที่น่าเศร้าของยูเอ็นและชาวโลก
                   ผมได้ท้าทุกสิ่งเท่าที่มีอ้านาจหน้าที่สร้างความสงบ
  นำยโคฟี อันนำม   ตามปณิธานของยูเอ็น เพื่อระวังการใช้ก้าลัง สิ่งนี
                   ไม่ใช่ของง่าย เป็นกระบวนการเจ็บปวดไม่มีที่
                   สินสุด"
บรรณานุกรม
   http://en.wikipedia.org/wiki/Gulf_War
   http://th.wikipedia.org/wiki/Gulf_War
   http:// th.wikipedia.org/wiki/สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย
   http:// www.kullawat.net/current4/
   http:// www.becnews.com/data/war1
   http:// www.historychannel.com
   http:// www.maryvit.ac.th/viboon/soc/his/his16
   http://www.kullawat.net/current4/#sect3
   http://www.rand.org/research_areas/national_security/
   http://web.umr.edu/~rogersda/military_service/op_desert_storm.htm
จัดท้าโดย

นางสาว จิราพร ฟูธรรม เลขที่ 12
นางสาว ณัฐธิดา นิมิตรดี เลขที่ 14
     ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

More Related Content

What's hot

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
enksodsoon
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
คำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิคำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิrasi6932
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
friend209
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
Thanyamon Chat.
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
Oui Nuchanart
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 

What's hot (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
คำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิคำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 

Viewers also liked

Digital pr & Web Reputation
Digital pr & Web ReputationDigital pr & Web Reputation
Muhammad Yustan Portofolio
Muhammad Yustan PortofolioMuhammad Yustan Portofolio
Muhammad Yustan Portofolio
Muhammad Yustan
 
Worshipping_Rituals
Worshipping_RitualsWorshipping_Rituals
Worshipping_Rituals
Neha Sharma
 
Windows xp services
Windows xp servicesWindows xp services
Windows xp services
proser tech
 
Proposal 0323 (Stan)
Proposal 0323 (Stan)Proposal 0323 (Stan)
Proposal 0323 (Stan)
guest7fe64c
 
The Art of Grey-Box Attack
The Art of Grey-Box AttackThe Art of Grey-Box Attack
The Art of Grey-Box Attack
Prathan Phongthiproek
 
Buyuk Taslar
Buyuk  TaslarBuyuk  Taslar
Buyuk Taslar
mrelmas
 
The Operation CloudBurst Attack
The Operation CloudBurst AttackThe Operation CloudBurst Attack
The Operation CloudBurst Attack
Prathan Phongthiproek
 
Nossa Rotina
Nossa RotinaNossa Rotina
Nossa Rotina
juninhamsilva
 
Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...
Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...
Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...
Kalle
 
GWAB 2015 - Data Plaraform
GWAB 2015 - Data PlaraformGWAB 2015 - Data Plaraform
GWAB 2015 - Data Plaraform
Marcelo Paiva
 
Mo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal servicesMo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal services
Annette Tonti
 
talktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentationtalktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentation
Jason Kelly
 
ALP. Short facts
ALP. Short factsALP. Short facts
ALP. Short facts
Alex
 
Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...
Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...
Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...
Kalle
 
Sistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoSistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a Decisão
Willame Tiberio
 
Hussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across Users
Hussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across UsersHussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across Users
Hussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across Users
Kalle
 
Keele Interview
Keele InterviewKeele Interview
Keele Interview
guestb571d1
 

Viewers also liked (20)

SCIENCE TEST
SCIENCE TESTSCIENCE TEST
SCIENCE TEST
 
Digital pr & Web Reputation
Digital pr & Web ReputationDigital pr & Web Reputation
Digital pr & Web Reputation
 
Muhammad Yustan Portofolio
Muhammad Yustan PortofolioMuhammad Yustan Portofolio
Muhammad Yustan Portofolio
 
Worshipping_Rituals
Worshipping_RitualsWorshipping_Rituals
Worshipping_Rituals
 
Windows xp services
Windows xp servicesWindows xp services
Windows xp services
 
Proposal 0323 (Stan)
Proposal 0323 (Stan)Proposal 0323 (Stan)
Proposal 0323 (Stan)
 
The Art of Grey-Box Attack
The Art of Grey-Box AttackThe Art of Grey-Box Attack
The Art of Grey-Box Attack
 
Buyuk Taslar
Buyuk  TaslarBuyuk  Taslar
Buyuk Taslar
 
The Operation CloudBurst Attack
The Operation CloudBurst AttackThe Operation CloudBurst Attack
The Operation CloudBurst Attack
 
Madness
MadnessMadness
Madness
 
Nossa Rotina
Nossa RotinaNossa Rotina
Nossa Rotina
 
Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...
Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...
Liang Content Based Image Retrieval Using A Combination Of Visual Features An...
 
GWAB 2015 - Data Plaraform
GWAB 2015 - Data PlaraformGWAB 2015 - Data Plaraform
GWAB 2015 - Data Plaraform
 
Mo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal servicesMo fuse case study_animal services
Mo fuse case study_animal services
 
talktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentationtalktojasoncredspresentation
talktojasoncredspresentation
 
ALP. Short facts
ALP. Short factsALP. Short facts
ALP. Short facts
 
Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...
Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...
Zhang Eye Movement As An Interaction Mechanism For Relevance Feedback In A Co...
 
Sistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoSistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a Decisão
 
Hussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across Users
Hussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across UsersHussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across Users
Hussain Learning Relevant Eye Movement Feature Spaces Across Users
 
Keele Interview
Keele InterviewKeele Interview
Keele Interview
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

  • 1.
  • 2. ลำดับเหตุกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมเปอร์เซีย ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่านซึ่งกิน เวลาถึง 8 ปี ส่งผลให้อิรักบอบช้ามาก จากภาระบูรณะประเทศ อิรักต้องเป็น หนีต่างประเทศจ้านวนประมาณ ธงชำติประเทศอิรัก 80,000 ล้านเหรียญดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา ท้าให้ฐานะเศรษฐกิจ ของอิรักทรุดหนัก อิรักมีสินค้าออก หลักคือน้ามัน ซึ่งมีปริมาณร้อยละ 99 ของมูลค่าสินค้าออกทังหมด อิรักจึง พยายามผลักดันให้องค์การโอเปก ก้าหนดโควตาการผลิตน้ามันและ ธงชำติประเทศอิหร่ำน ก้าหนดราคาน้ามันเสียใหม่ให้อิรักมี รายได้เพิ่มขึน
  • 3. ลำดับเหตุกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมเปอร์เซีย เนื่องจาก8 ปีที่อิรักท้าสงคราม คูเวตได้ขยาย พรมแดนล่วงล้าเข้ามาทางใต้ของอิรัก4 กิโลเมตร เพื่อตัง ค่ายทหารและตังสถานีขุดเจาะน้ามันเป็นการขโมยน้ามัน ของอิรัก ยิ่งไปกว่านัน อิรักท้าสงครามกับอิหร่านในนาม ชาติอาหรับและเพื่อความมั่นคงของชาติอาหรับทังมวล จึงสมควรที่คูเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการท้า สงคราม ข้อเรียกร้องที่รุนแรงของอิรัก คือให้คูเวตคืน Rumailah oilfielงำนขุดนำมันของคูเวต ดินแดนที่รุกล้าเข้ามา คือ เขต Rumailah oilfield ซึ่งมี น้ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบูมิยัน กับเกาะวาร์ บาห์ ในอ่าวเปอร์เซีย เพื่อให้อิรักขายน้ามันผ่านอ่าว เปอร์เซียโดยตรง โดยมิต้องขายน้ามันทางท่อส่งน้ามัน ผ่านซาอุดิอารเบียและตุรกีเช่นเดิม
  • 4. สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย หรือบางทีเรียก สัน ๆ ว่า สงครำมอ่ำว (Gulf War) เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิรัก และกองก้าลังผสมจาก 34 ชาติใต้อาณัติ ของสหประชาชาติหรือ UN น้าโดยประเทศ สหรัฐอเมริกา
  • 5. จุดเริ่มต้นของสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย จุดเริ่มต้นของสงครามอยู่ที่การบุกรุกประเทศ คูเวตของกองทัพอิรักในวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 ซึ่งท้าให้สหประชาชาติคว่้า บาตรทางเศรษฐกิจกับอิรักในทันที หลังจาก การเจรจาด้านการทูตหลายครัง สหประชาชาติ จึงมีมติให้ใช้ปฏิบัติการทางทหารเพื่อขับไล่ กองทัพอิรักออกจากประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1991 บริเวณอ่ำวเปอร์เซียและพรมแดน ประเทศคูเวตกับประเทศอิรัก
  • 6. เหตุกำรณ์ในสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย ภายใต้การน้าของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซ็น ซึ่งทหารมากกว่า 1 ล้านคน มี ประสบการณ์ร่วมท้าสงครามกับอิหร่านมาแล้ว และยังมีอาวุธที่ทันสมัยทังเครื่องบิน จรวด อาวุธเคมี และก้าลังเริ่มต้นพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ ขึนอีก ส้าหรับคูเวตเป็นประเทศเล็กๆตังอยู่ ระหว่างอิรักกับซาอุดีอาระเบียในอดีตคูเวตเป็น จังหวัดหนึ่งของอาณาจักรออตโตมันแต่ด้วยเหตุ ที่เป็นแหล่งน้ามันอย่างมหาศาลท้าให้ถูกตกอยู่ ภายใต้การ ปกครองของสหราชอาณาจักร ประธำนำธิบดี ซัดดัม ฮุสเซ็น ตังแต่ ค.ศ.1914 และได้รับเอกราชเมื่อปี ค.ศ.1961 จึงเข้ายึดคูเวตได้อย่างง่ายดาย เป็น เวลากว่า 6 เดือน
  • 7. สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต สาเหตุที่อิรักเข้ายึดคูเวตนันมีสาเหตุหลาย ประการได้แก่ 1. แรงกดดันจากหนีสงครามอิรัก-อิหร่าน อิรักจึงต้องการคุมแหล่งน้ามันของโลกคือ คูเวต เพื่อเพิ่มอ้านาจต่อรองในการผลิตน้ามัน และการก้าหนดราคาน้ามัน แหล่งผลิตนำมันในคูเวต
  • 8. สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต 2.อิรักและคูเวตมีกรณีพิพาทดินแดน Rumailah Oilfield แหล่งน้ามันที่ส้าคัญมาเป็นเวลานาน และหาข้อยุติไม่ได้ อิรักจึงถือโอกาสยึดครองคูเวตด้วยเหตุผล ด้านเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์
  • 9. สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต 3.อิรักไม่มีทางออกทะเลหรือทางอ่าว เปอร์เซีย เพราะมีเกาะบูมิยันและ เกาะวาห์บาห์ของคูเวตขวางทางอยู่ อิรักจึงมิอาจขายน้ามันโดยตรงแก่เรือ ผู้ซือได้ ทังอิรักยังตกลงกับอิหร่าน เรื่องการใช้เมืองท่าบัสราผ่านร่องน้า แผนที่ประเทศอิรัก ซัตต์-อัล-อาหรับ ไม่ได้
  • 10. กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1991หลังจากปฏิบัติการทัง ทางอากาศและภาคพืนดินช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 ชัยชนะเป็นของกองก้าลังผสม และวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 1991 ตังแต่วันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 อันเป็นวันที่อิรัก บุกเข้ายึดคูเวตเป็นต้นมาคณะมนตรีความมั่นคงได้ ประกาศให้ทุกชาติคว่้าบาตรรัฐบาลอิรัก และด้าเนินการ เคลื่อนไหวทางการฑูตเพื่อหลีกเลี่ยงสงคราม ก้าหนดให้ วันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1991 เป็นเส้นตายที่อิรักจะปฏิบัติ ตามมติ ของคณะมนตรีความมั่นคงอิรักไม่ยอมท้าตาม มติดังกล่าว ในวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1991 กองก้าลัง ประธำนำธิบดีจอร์จ บุช นานาชาติจึงเริ่มโจมตีทางอากาศและตามติดด้วยการรบ ภาคพืนดิน ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ปฏิบัติการอันเป็นที่ รู้จักกันในนาม "พายุทะเลทราย" (Desert Storm) ครังนีมี กองทัพจากประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกา
  • 11. กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ ประเทศต่างๆเข้าร่วมรบโดยการอนุมัติ ของคณะมนตรีความมั่นคง และอยู่ภายใต้ แ การบัญชาการของสหรัฐอเมริกาวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 ประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศหยุดยิงและ ประกาศความเป็นอิสรภาพของคูเวต อิรัก ถอนทหารออกจากคูเวต คณะผู้สังเกตการณ์ สหประชาชาติกรณีอิรัก-คูเวต เริ่ม แผนที่กำรโจมตีของสหประชำชำติ ปฏิบัติงานตังแต่เมษายน ค.ศ.1991มีหน้าที่ อ้านวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ นานาชาติเข้าควบคุมบริเวณแนวเส้นหยุดยิง และตรวจสอบก้าลังอาวุธที่อิรักมีไว้ใน ครอบครอง
  • 12. กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ ในปี ค.ศ. 2002 ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุชแห่งสหรัฐอเมริกา ด้าเนินการที่จะ ก้าจัดอาวุธอานุภาพท้าลายล้างสูง อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ นิวเคลียร์ของอิรัก โดยผ่านมติ สภา มอบอ้านาจให้ประธานาธิบดี บุช สั่ง เครื่องบินทิงระเบิดของสหรัฐ โจมตีอิรักทันที่ที่จ้าเป็น โดยใช้วิธีการทางการ ฑูตก่อน หากไม่ได้ผลจึงใช้วิธีการทางทหาร สหรัฐกล่าวหาว่าประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุส เซ็น ทุ่มเงินที่ได้จากการลักลอบขายน้ามัน ซือ ชินส่วน อาวุธ อันเป็นการละเมิดมาตรการ “ แซงก์ชั่น” การคว่้าบาตรของสหประชาชาติ กำลังรบพิเศษของสหรัฐ
  • 13. กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ การโจมตีอิรักของสหรัฐอเมริกา ก่อให้เกิด การบาดเจ็บล้มตายต่อประชาชนอิรักอิรักยิง เครื่องบินตรวจการณ์ของสหรัฐและอังกฤษ 750 ครัง เหนือน่านฟ้า “No-Fly Zone” เขตห้ามบิน สหรัฐอเมริกาอ้างว่ามีหลักฐานเชื่อได้ว่าอิรัก ผลิตแก๊สมัสตาร์ด และแก๊สท้าลายประสาท สะสมไว้ กักตุนเชือโรคแอนแทร็กช์ และ สารชีวภาพอันตรายอื่นๆในปริมาณมหาศาล โดยอิรักต้องยอมให้คณะตรวจสอบอาวุธของ สหประชาชาติเข้าไปพิสูจน์ในทุกที่ที่ต้องการ ถ้าไม่ยอมท้าตาม คณะมนตรีความมั่นคง สหประชาชาติจึงจะออกมติให้สหรัฐเข้า แทรกแซงทางทหารได้
  • 14. กำรโจมตีจำกสหประชำชำติ ในที่สุดสหรัฐโจมตีอิรักโดยให้เหตุผลว่าเป็น การป้องกันตัว ผลการปลดปล่อยอิรักให้เป็น อิสระ(Operation Iraqi Freedom) ของ พันธมิตรตะวันตกน้าโดยสหรัฐอเมริกา (20 มีนาคม – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2003) มีการค้นหา จับกุมผู้น้า อิรักคนส้าคัญๆ และ ประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุส เซน ในวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2003 พร้อมทังคนใกล้ชิด 11คน
  • 15. กำรสินสุดของสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย แม้ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซนจะหมดอ้านาจบริหาร ประเทศ แต่กลุ่มคนที่เคยเป็นศัตรู ก็ไม่พอใจที่สหรัฐ ยังคงก้าลังของตนและพันธมิตร และด้าเนินการในการ จัดการปกครองอิรัก เขาเห็นว่าสหรัฐก้าลังเปิด โอกาสให้ชาวอิรักที่ไปพ้านัก ท้างานในต่างประเทศ ในขณะที่หนีภัยจากซัดดัม ฮุสเซน ได้กลับมาเป็น ผู้บริหารประเทศแทน แลผู้ที่ถือนิกายซุนนีมองว่าตน ก้าลังจะสูญเสียสถานะภาพ พวกนิกานชีอาห์ บางกลุ่ม ไม่พอใจชาวตะวันตก เพราะต้องการจัดระเบียบ อิรักเอง และต้องการสร้างรัฐอิสลาม จึงมีมุกตาดา อัลศอดร์ ก่อตังกองทัพมะฮ์ดี (Mahdi Army) ขึนต่อสู้ กับสหรัฐ และมีการจัดตังรัฐบาลชั่วคราวของชาวอิรัก เพื่อจัดตังรัฐบาลทั่วไปเป็นครังแรกในเดือน มกราคม ค.ศ. 2005 หลังจากสมัย ซัดดัม ฮุสเซน
  • 16. ปฏิกริยำของประเทศต่ำงๆในระหว่ำงสงครำมต่ออิรัก ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ ที่มีต่อการยึดครองคูเวต ของอิรักแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. สหประชาชาติ ชาติอภิมหาอ้านาจ รวมถึงกลุ่ม ประเทศยุโรปตะวันตก เห็นตรงกันที่ต้องรักษา ดุลอ้านาจในตะวันออกลาง คณะมนตรีความมั่นคง แห่งสหประชาชาติมีมติเป็นเอกฉันท์ประณามการ รุกรานและเรียกร้องให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต โดยไม่มีเงื่อนไข มติของคณะมนตรีความมั่นคงอันดับ ต่อมา คือ การประกาศคว่้าบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรัก และคูเวต ยกเว้นอุปกรณ์ทางการแพทย์และอาหาร เพื่อ เหตุผลด้านมนุษยธรรม แต่อิรักก็ไม่ได้ปฏิบัติตามมติ ของสหประชาชาติ
  • 17. ปฏิกริยำของประเทศต่ำงๆในระหว่ำงสงครำมต่ออิรัก 2.กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ 2.1อิยิปต์ ซีเรีย ซาอุดิอารเบีย เรียกร้องให้อิรักถอนทหารออก จากคูเวต สนับสนุนการเข้ามาของกองก้าลังพันธมิตรและถือ ว่าตนปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ
  • 18. 2.2 จอร์แดน เยเมน ตูนีเซีย แอลจีเรีย และองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ กลุ่ม นีเรียกร้องให้ชาติอาหรับเจรจาหาทางแก้ปัญหากันเอง โดยไม่ต้องให้เป็นภาระ ขององค์การระดับโลก นอกจากนียังมองว่าการปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ เท่ากับเป็นการรังแกชาวอาหรับด้วยกันเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสหรัฐอเมริกา ด้าเนินการต่างๆ เพื่อเรียกร้องนานาชาติกดดันให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต ภาพของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน กลายเป็นวีรบุรุษชาวอาหรับที่กล้าท้าทาย โลกตะวันตก สาเหตุที่สหรัฐอเมริกามีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงนัน เพราะอิรักท้าลาย ผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลาง และแสนยานุภาพของอิรักอาจ เป็นอันตรายต่ออิสราเอลพันธมิตรที่ดีของสหรัฐอเมริกาในอนาคตอีก
  • 19. ผลของสงครำม แม้สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติตังแต่เดือนกุมภาพันธ์ 1991 แล้วก็ตาม มาตรการคว่้าบาตรของสหประชาชาติได้ บีบคันเศรษฐกิจของอิรักมากขึนกว่าเดิม ประชาชนอด อยากขาดแคลนอาหารและยารักษาโรคจนมีสภาพ ร่างกายที่ทรุดโทรมและต้องเผชิญกับภาวะเงินเฟ้อ อย่างรุนแรง ในเดือน พฤศจิกายน 1991นัน คณะตรวจสอบอำวุธ สหประชาชาติได้จัดตังคณะกรรมการพิเศษตรวจสอบ อาวุธของอิรัก (unscom) เข้าไปตรวจสอบแหล่งผลิตและที่ซ่อนอาวุธเคมี อาวุธนิวเคลียร์ และอาวุธชีวภาพของอิรัก เพื่อให้อิรัก ท้าลายล้างอาวุธเหล่านี หลังจากนันสหประชาชาติ จะยกเลิกมาตรการคว่้าบาตรต่ออิรัก
  • 20. ผลของสงครำม ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสหประชาชาติกับ อิรักได้เกิดขึนเป็นระยะๆ จนถึงปัจจุบัน อิรัก จะขัดขวางการท้างานของอันสคอม (เจ้าหน้าที่ ตรวจสอบอาวุธ)อยู่เสมอๆ นอกจากนีในเดือน สิงหาคม 1992 คณะมนตรีความมั่นคงแห่ง สหประชาชาติได้จัดตังเขตห้ามบินทางตอนใต้ ของอิรักและขยายมายังตอนเหนือเพิ่มขึนใน เดือนกันยายน 1996 ภายหลังสหรัฐอเมริกาได้ โจมตีทางตอนใต้องอิรักอีก เพื่อเป็นการตอบโต้ อิรักปราบปรามชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดอย่าง รุนแรง
  • 21. ผลของสงครำม เมื่อ ค.ศ.1997 อิรักได้ขับไล่ชาวอเมริกันออกจากทีมงาน อันสคอมโดยกล่าวหาว่า ชาวอเมริกาคนหนึ่ง เป็นสายลับ ซึ่งสหรัฐอเมริกาปฏิบัติค้ากล่าวหานี การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและอันสคอม กับอิรักได้ตึงเครียดมาตามล้าดับ ค.ศ.1998 เมื่ออิรัก ขัดขวางเจ้าหน้าที่อันสคอม ไม่ให้เข้าไปตรวจสอบอาวุธ อันสคอม บริเวณท้าเนียบประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน นายโคฟี อันนาม เลขาธิการสหประชาชาติเดินทางไป เจรจากับประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เพื่อยุติการ เผชิญหน้าระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา อิรักจึงยินยอมให้ อันสคอมตรวจสอบอาวุธบริเวณท้าเนียประธานาธิบดี
  • 22. ผลของสงครำม 16 ธันวาคม 1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้อง เดินทางออกจากอิรักเพราะเกรงจะได้รับอันตราย จากอิรัก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึน ประธานาธิบดี บิล คลินตัน ได้ส่งก้าลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับ กองก้าลังทหารอังกฤษเพื่อยิงถล่มอิรักภายใต้ ปฏิบัติการชื่อ "ปฏิบัติการจิงจอกทะเลทราย" เป็น เวลา 4 วัน จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส รวมทังบรรดาชาติ หน่วยปฏิบัติกำรจิงจอกทะเลทรำย อาหรับอื่นๆ ต่างประณามการกระท้าของ สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทังเรียกร้องให้ยุติ การโจมตีอิรัก ส่วนสมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ต่างสนับสนุนมาตรการแข็งกร้าวของ สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
  • 23. ผลของสงครำม ปัญหาอิรักคือปัญหาที่ท้าทายบทบาทของ สหประชาชาติ ในเวลาเดียวกันก็เป็นปัญหา ภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชีน้าและด้าเนินการ โดยพลการในนามสหประชาชาติ ถือเป็นการละเมิด กฏบัตรสหประชาชาติและหลักการของประชาคม โลก นายโคฟี อันนาม กล่าวแสดงความรู้สึกของเขา ว่า "วันนีเป็นวันที่น่าเศร้าของยูเอ็นและชาวโลก ผมได้ท้าทุกสิ่งเท่าที่มีอ้านาจหน้าที่สร้างความสงบ นำยโคฟี อันนำม ตามปณิธานของยูเอ็น เพื่อระวังการใช้ก้าลัง สิ่งนี ไม่ใช่ของง่าย เป็นกระบวนการเจ็บปวดไม่มีที่ สินสุด"
  • 24. บรรณานุกรม  http://en.wikipedia.org/wiki/Gulf_War  http://th.wikipedia.org/wiki/Gulf_War  http:// th.wikipedia.org/wiki/สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย  http:// www.kullawat.net/current4/  http:// www.becnews.com/data/war1  http:// www.historychannel.com  http:// www.maryvit.ac.th/viboon/soc/his/his16  http://www.kullawat.net/current4/#sect3  http://www.rand.org/research_areas/national_security/  http://web.umr.edu/~rogersda/military_service/op_desert_storm.htm
  • 25. จัดท้าโดย นางสาว จิราพร ฟูธรรม เลขที่ 12 นางสาว ณัฐธิดา นิมิตรดี เลขที่ 14 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2