SlideShare a Scribd company logo
1. คุณลักษณะของครูที่ดีตามพระราชดารัส
4. คุณลักษณะของครูที่ดีจากการวิจัย
5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
6. คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์ประเมินสรรหาครูดีเด่นของคุรุ
สภา
แบ่งตามหัวข้อ 7 หัวข้อ
3. คุณลักษณะของครูที่ดีตามทัศนะคติของบุคคลต่าง
ๆ
2. คุณลักษณะของครูที่ดีตามแนวความคิดทางศาสนา
7. คุณลักษณะของครูที่ดีในยุคศตวรรษที่ ๒๑
1. คุณลักษณะของครูที่ดีตามพระราชดารัส
“…ครูที่แท้จริงเป็นผู้ทาแต่ความดี คือ ต้องหมั่นขยัน และอุสาหะพากเพียร ต้อง
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ ต้องหนักแน่น อดกลั้นและอดทน ต้องรักษาวินัย สารวม ระวัง
ความประพฤติของตนให้อยู่ในแบบแผนที่ดีงาม ต้องวางใจเป็นกลางไม่ปล่อยไปตาม
อานาจอคติ ต้องอบรมปัญญาให้เพิ่มพูนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทั้งด้านวิทยาการและความฉลาด
รอบรู้ในเหตุผล…”
“…งานของครูนั้นเป็นงานที่ยากและต้องใช้ความอดทนเสียสละมากยิ่งในปัจจุบันยิ่งยากขึ้นทุกที
เพราะเกิดมีความคิดใหม่อยู่เสมอ เช่นว่าเด็กต้องมีความคิดริเริ่มมาก แต่ความคิดริเริ่มซึ่งเป็นสิ่งที่ดีนั้น
โดยมากไปแปลเป็นว่า จะต้องมีความคิดที่จะล้างครู ความคิดอันนี้เป็นความคิดที่รู้สึกว่าจะไม่ค่อยดีนัก
แต่เราก็ต้องรับว่ามีเพื่อแก้ปัญหานี้ มิใช่ว่าครูจะต้องทาตัวไม่ดี เพื่อให้สอดคล้องกับการยุแหย่ ตรงข้าม
ครูยังต้องเสียสละ ยิ่งต้องทางานหนัก และทาด้วยความเฉลียวฉลาดขึ้น…”
“…สาหรับครูนั้นก็จะต้องทาตัวให้เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่เชื่อใจของนักเรียน…คือข้อแรก ต้อง
ฝึกฝนตนเองให้แตกฉานและแม่นยา ชานาญทั้งในวิชาความรู้ และวิธีการสอน เพื่อสามารถสอนวิชา
ทั้งปวงได้โดยถูกต้องกระจ่าง และครบถ้วนสมบูรณ์ อีกข้อหนึ่ง ต้องทาตัวให้ดี คือต้องมี และแสดง
ความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต ความสุภาพ ความเข็มแข็งและอดทนให้ปรากฏชัดเจน จนเคย
ชินเป็นปรกติวิสัย เด็กๆจะได้เห็น ได้เข้าใจในคุณค่าของความรู้ในความดี และในตัวครูเองอย่างซาบซึ้ง
และยึดถือเอาเป็นแบบอย่าง ภารกิจของครู คือการให้ศึกษาก็จะได้บรรลุตามที่มุ่งหวัง…”
“…ทุกคนที่ทางานย่อมต้องหวังประโยชน์ เช่น เงินทอง ยศศักดิ์ อานาจ ความร่ารวย เป็นสิ่งตอบแทน
สาหรับครูที่รักการเป็นครูแท้จริง มีโอกาสที่จะได้รับประโยชน์ที่ล้าค่ายิ่งกว่านั้น แต่เป็นประโยชน์ที่
เป็นไปในทางจิตใจยิ่งกว่าทางวัตถุ กล่าวคือ ครูตามแบบฉบับมักจะมิได้เป็นผู้ที่บริบูรณ์ด้วยทรัพย์ด้วย
ยศศักดิ์ อานาจ และอิทธิพลนัก หากแต่บริบูรณ์ด้วยสมบัติทางคุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความ
เมตตาปราณี ความเสียสละ ซึ่งเป็นเหตุทาให้สามารถผูกพันจิตใจผู้เป็นศิษย์ให้รักใคร่ไว้ใจ และเคารพ
เชื่อฟังได้แน่นแฟ้นและสามารถที่จะสั่งสอนถ่ายทอดทั้งวิชาความรู้ ทั้งจิตใจ และมารยาทที่ดี
ให้แก่ศิษย์ได้พร้อมมูล ทาให้ศิษย์มีความฉลาดรอบรู้ มีความนอบน้อม ซึ่งมิใช่นอบน้อมเพียงแต่กับ
ผู้ใหญ่ หากรวมถึงนอบน้อมนับถือในกันและกัน อันจะทาให้เข้าใจกันและเอื้อเฟื้อสนับสนุนกัน
เพื่อให้งานส่วนรวมดาเนินไปได้สะดวก ทั้งรู้จักสร้างสรรค์สังคมที่ดีต่อไปได้ดังนั้น ถ้าพิจารณากัน
ให้ลึกซึ้ง จะเห็นว่าประโยชน์ดังกล่าวแล้ว เป็นประโยชน์ที่แน่นอนยั่งยืน และทาให้เกิดความสุขสบาย
ได้ดียิ่งกว่าทรัพย์ยศ และอานาจ หรืออิทธิพลใดๆหมด
แต่เดี๋ยวนี้ ความนิยมห่วงใยในสมบัติของครูดูจะเรียวลง อาจทาให้ผู้เป็นครูไม่ได้รับความสุขความอิ่ม
ใจในการเป็นครูเต็มภาคภูมิ อาจทาให้ครูไม่สามารถสอนศิษย์ให้มีคุณสมบัติดีพร้อมดังแต่ก่อน ซึ่ง
ที่สุดย่อมทาให้สังคมเสื่อมลง ยุ่งยาก คลอนแคลน และไปไม่รอด…”
“…ความเป็นครูนั้น ประกอบขึ้นด้วยสิ่งที่มีคุณค่าสูงหลายอย่าง อย่างหนึ่งได้แก่ ปัญญา คือ ความรู้ที่ดี
ประกอบด้วยหลักวิชาอันถูกต้องที่แน่นแฟ้น กระจ่างแจ้งในใจ รวมทั้งความฉลาดที่จะพิจารณาเรื่อง
ต่างๆ ตลอดจนกิจที่จะทาคาที่จะพูดทุกอย่างได้โดยถูกต้องด้วยเหตุผล อย่างหนึ่ง ได้แก่ ความดี คือ
ความสุจริต ความเมตตากรุณา เห็นใจ และปรารถนาดีต่อผู้อื่นโดยเสมอหน้า อีกอย่างหนึ่งได้แก่
ความสามารถที่จะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้ความดีของตนเองไปยังผู้อื่นได้รับประโยชน์ด้วย กล่าวคือ
ความแจ่มแจ้งแน่ชัดในใจย่อมส่องแสดงความรู้ออกมาให้เข้าใจตามได้โดยง่าย และความหวังดีโดย
บริสุทธิ์ใจย่อมน้อมนาให้เกิดศรัทธาแจ่มใส มีใจพร้อมที่จะรับความรู้ความดีด้วยความชื่นบาน ทั้งพร้อม
จะร่วมงานด้วยโดยเต็มใจและมั่นใจ โดยนัยนี้ผู้ที่ได้รับแสงสว่างแห่งความเป็นครูชุบย้อมกายใจแล้ว จึง
เป็นผู้ใฝ่หาความรู้ใฝ่หาความดี ทั้งตั้งใจและเต็มใจที่จะช่วยเหลือสนับสนุนผู้อื่นโดยบริสุทธิ์จะประกอบ
กิจการใด ก็จะทาให้กิจการนั้นดาเนินไปโดยสะดวกราบรื่นและสาเร็จประโยชน์ที่มุ่งหมายได้โดย
สมบูรณ์ ผู้ที่มีความเป็นครูสมบูรณ์ในตัวนอกจากจะมีความดีด้วยตนเองแล้ว จึงยังจะช่วยให้ทุกคนที่มี
โอกาสเข้ามาสัมพันธ์เกี่ยวข้องบรรลุถึงความดีความเจริญไปด้วย…”
2.คุณลักษณะของครูที่ดีตามแนวความคิดทางศาสนา
1. ปิโย คือ การทาตัวเป็นที่รักต่อศิษย์และบุคคลทั่วไป การที่ครูจะเป็นที่รักแก่ศิษย์ได้ ก็
ควรตั้งตนอยู่ในพรหมวิหาร 4 คือ
1.1 มีเมตตา ปรารถนาดีต่อศิษย์
1.2 มีกรุณา สงสาร เอ็นดูศิษย์
1.3 มีมุทิตา ชื่นชมยินดีเมื่อศิษย์ได้ดี
1.4 มีอุเบกขา วางตัวเป็นกลาง
หลักคาสอนหรือหลักธรรมในพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับความเป็นครู ประกอบด้วย
หลักธรรม 7 ประการ คือ
2. ครุ หมายถึง การเป็นบุคคลที่มีความหนักแน่นมั่นคง ทั้งในด้านของจิตใจที่หนักแน่น
มั่นคง และความหนักแน่นในด้านของความรอบรู้ธรรม ที่จะช่วยให้ครู มีคุณสมบัติ
ดังกล่าว คือ พละ 5 ประการ ได้แก่
2.1 ศรัทธาพละ คือ ความเชื่อในทางที่ชอบ
2.2 วิริยะพละ คือ ความเพียรในทางที่ชอบ
2.3 สติพละ คือ ความระลึกได้มีความรู้สึกตัวในการกระทา
2.4 สมาธิพละ คือ ความมีใจจดจ่อแน่วแน่มั่นคง
2.5 ปัญญาพละ คือ ความรอบรู้ คือรู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว
3. ภาวนิโย การเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีความประพฤติดีงามควรแก่การเคารพ
4. วัตตา คือ เป็นผู้มีมานะในการตักเตือนสั่งสอน เพื่อให้ศิษย์มีความรู้ความสามารถ
และเป็นคนดี ลักษณะการสอนในแง่ของพุทธศาสนามี 5 ประการ คือ
4.1 สันทัสสนา สอนให้เข้าใจชัดเจน
4.2 สมาทปนา กระตุ้นให้ประพฤติปฏิบัติตามที่ครูสอน
4.3 สมุตเตชนา สร้างกาลังใจ
4.4 สัมปหังสนา มีเทคนิคในการสอน
5. วจนัก ขโม เป็นผู้มีความอดทนต่อถ้อยคาโดยมีเจตนาดีเป็นที่ตั้งการอดทนต่อกริยา
วาจาอันก้าวร้าวรุนแรงของ ผู้อื่นได้นั้น เป็นสัญลักษณ์ของความเข้มแข็ง
6. คัม ภีรัญจกถัง กัตตา สามารถขยายข้อความที่ยากให้ง่ายแก่การเข้าใจได้ ครูจะต้องมี
วิธีที่จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องยากๆ ได้โดยง่าย โดยวิธีการ ดังนี้คือ
6.1 แสดงจุดเด่น
6.2 แสดงเหตุผลในวิชานั้น
6.3 แสดงเนื้อหาที่เป็นแก่นหรือสาระสาคัญของวิชานั้นๆ
7. โน จัฏฐาเน นิโยชเย คือ การรู้จักและแนะนาศิษย์ไปในทางถูกที่ควร วิธีการแนะนา
ศิษย์ไปใน ทาง ที่ถูกที่ควรนั้นมีอยู่ 3 ประการ คือ
7.1 คิดหาวิธี ใช้วิธีขู่กาหลาบ
7.2 นัคคหวิธี ใช้วิธียกย่องชมเชย
7.3 ทิฎฐานคติวิธี ใช้วิธีกระทาให้เห็นเป็นตัวอย่าง
3. คุณลักษณะของครูที่ดีตามทัศนะคติของบุคคลต่าง
ๆ
2. มีความรักในอาชีพครู มีส่วนช่วยแนะนาเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนอยู่เสมอ
3.ทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ มีความสามารถในอาชีพ
5. มีคุณสมบัติส่วนตัวดี มีสติปัญญาดี มีความเชื่อมั่นในตนเอง
6. มีรูปร่างท่าทางดี แต่งกายถูกกาลเทศะ
1. มีความสัมพันธ์กับนักเรียนดี คือ ครูจะต้องสนใจ เอาใจใส่ต่อปัญหาของนักเรียน
4. มีจรรยาครู ไม่แพร่ข่าวลือ ซื่อสัตย์ต่ออาชีพ
สาโรจ บัวศรี ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับการเป็นครูที่ดีในด้านสมรรถภาพว่าต้องมี
1. สามารถทาการสอนได้เป็นอย่างดี โดยรู้จัก
1.ใช้หลักจิตวิทยาแห่งการเรียน
2.ใช้หลักการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก
3.ทาบรรยากาศที่เหมาะสมที่จะเกิดการเรียนรู้
4.วางแผนสาหรับการสอนอย่างถี่ถ้วน
5.ใช้วิธีการสอนแบบต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
6.ใช้แบบทดสอบชนิดต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
7.ปกครองชั้นและบริหารงานต่าง ๆ ของชั้นได้อย่างเรียบร้อยและราบรื่น
2. สามารถอบรมแนะแนว และปกครองได้เป็นอย่างดี โดยรู้จัก
1. หลักการที่ว่า ถ้าทุกคนสร้างคุณธรรมและหลักธรรมต่าง ๆ ไว้ประจาตัวได้แล้ว
2. ใช้หลักการและวิธีการของการแนะแนว
3. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบิดามารดาและผู้ปกครอง
4. ใช้ผลของการวิจัย และผลของการทดสอบต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ในการอบรม
3. สามารถทากิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี โดยรู้จัก
1. ร่วมในการวางแผนจัดการ กิจกรรมในหลักสูตร
2. รับหน้าที่และภาวะในการปฏิบัติกิจกรรมเหล่านั้นตามแผน
3. รักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ร่วมงานทั้งปวงของโรงเรียน
4. สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีและร่วมมือกับชุมชนเป็นอย่างดี โดยรู้จัก
1. ช่วยเหลือชุมชนในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
2. ทาให้ชุมชนเข้าใจโรงเรียน และสนับสนุนในทางที่เหมาะสม
3. หาความร่วมมือจากมารดาบิดาของผู้ปกครอง
4. หาบุคคลอื่น และสิ่งต่าง ๆ ในชุมชนที่เป็นประโยชน์ในการสอน
5. ร่วมมือกับทางราชการปรับปรุงชุมนุมชน
5. สามารถเป็นครูชั้นอาชีพ โดยรู้จัก
1. เพิ่มพูนความรู้ให้แก่อาชีพครู
2. ยึดถือขนบธรรมเนียมของผู้เป็นครู และช่วยเหลือส่งเสริมเพื่อนครู
3. ส่งเสริมตัวเองให้งอกงามในทางวิชาการ ศึกษาอยู่เสมอ
4. ช่วยเหลือแนะนาผู้ที่เข้ามาเป็นครูใหม่ในโรงเรียนของตน
4. คุณลักษณะของครูที่ดีจากการวิจัย
จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับลักษณะครูดีในประเทศไทยของนักการศึกษา
หลายท่าน ดิเรก พรสีมา และคณะ (2543) พบว่าครูที่ดีควรมีลักษณะที่จาเป็น 3 ด้าน
ดังนี้
1. ด้านคุณลักษณะ
1.1 ต้องมีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และพร้อมที่จะพัฒนา
วิชาชีพของตนอยู่เสมอ
1.2 ประพฤติตนเป็นแบบอย่างแก่ผู้เรียน
1.3 ใฝ่หาความรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
1.4 มีความเมตตาแก่ศิษย์และเห็นคุณค่าของศิษย์
1.5 มีสุขภาพสมบูรณ์
1.6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทางวิชาการสามารถใช้
กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
1.7 มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน สามารถเป็นผู้นาชุมชนได้
1.8 ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ภาษา และการวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือ
ในการพัฒนาตนเอง
1.9 สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นครูแบบใหม่ในระบบสากลได้
2. ด้านความรู้ของครู
2.2 มีความรู้ด้านการวิจัยวิทยาการ
คอมพิวเตอร์และภาษาเพื่อเป็นเครื่องมือใน
การแสวงหาความรู้
2.3 มีความรู้เรื่องเทคนิคการสอน
จิตวิทยาการวัดผลและประเมินผลและ
สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน
2.4 รู้ข้อมูลข่าวสารรอบตัวและ
เรื่องราวในท้องถิ่นเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
และฝึกผู้เรียนคิดวิเคราะห์วิจารณ์ได้
2.1 ครูต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในวิชา
ที่สอนอย่างแท้จริง
3. ด้านการถ่ายทอดของครู
3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อจัดบรรยากาศ
การเรียนรู้ที่น่าสนใจ
3.3 สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนใฝ่รู้ก้าวทันเทคโนโลยีตลอดจน
สามารถใช้ภาษาสื่อสารกันได้
3.4 สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมองกว้างคิดไกลและมีวิจารณญาณที่
จะวิเคราะห์และเลือกใช้ข่าวสารข้อมูลให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้
3.2 สามารถอบรมนิสัยให้ผู้เรียนมีศีลธรรมวัฒนธรรมกิจนิสัย
3.5 พัฒนาผู้เรียนเรียนรู้เรื่องราวต่างๆของชุมชนสามารถนา
ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาชุมชน และแก้ปัญหาต่างๆ ในชุมชนได้
ผลงานการวิจัยของ เฉลียว บุรีภัคดี เกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่ดีโดยการรวบรวม
ข้อมูลจากนักเรียน ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ผู้บริหาร พระ และผู้ทรงคุณวุฒิจานวน
ทั้งสิ้น 7,762 คน มี ดังนี้
2. ความเข้าใจและเป็นกันเอง
3. ความรับผิดชอบ
4. มีความยุติธรรม
5. ความเมตตา
6. ร่าเริง แจ่มใส สุภาพ
7. มีวิธีสอนแปลก ๆ
8. มีอารมณ์ขัน
9. เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่
1. ตั้งใจสอนและสอนเข้าใจแจ่มแจ้ง
1. ด้านคุณธรรมและความประพฤติ ได้แก่ ความเที่ยงธรรม ความซื่อสัตย์
สุจริต การตรงต่อเวลา ร่าเริงแจ่มใส รู้จักเสียสละ วาจาสุภาพเรียบร้อย เป็นกันเองกับ
เด็ก และเข้ากับเด็กได้ เป็นตัวอย่างในการประพฤติดี มีมนุษย์สัมพันธ์ แต่งกาย
เรียบร้อยมีบุคลิกลักษณะที่ดีมีวาจาสุภาพอ่อนโยนเว้นจากอบายมุขต่างๆ ไม่ทาตัว
เสเพล มีระเบียบวินัย อารมณ์มั่นคง มีความปรานีรู้จักปกครองแบบประชาธิปไตย
เป็นคนมีเหตุผล รู้จักสิทธิและหน้าที่
กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการได้ทาการวิจัยเรื่องของครูที่ดีโดยการสอบถาม
จากบุคคลหลายฝ่าย คือ นักเรียน ครู ผู้บริหารการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ ศึกษานิเทศก์ และ
ผู้ปกครอง ใช้เวลาในการวิจัย พ.ศ.2518 – พ.ศ.2520: ซึ่ง เป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่
ทาการวิจัยเรื่องลักษณะของครูที่ดีที่ได้กระทาใน วงกว้าง ผลจากการวิจัยลักษณะของครู
ที่ดี สรุปผลได้ดังนี้ (กรมการฝึกหัดครู 2520 : 363 – 371 )
2. ด้านความยึดมั่นในสัญชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์
3. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน
4. ความสามารถในการใช้ภาษา
สื่อสาร รู้จักหลักการพูด การอภิปรายบทเรียน
แจ่มชัด รู้จักใช้ภาษาถูกต้อง
5. เอาใจใส่ค้นคว้าความรู้อยู่เสมอ
2. มีความรู้ดี เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งด้านวิชาการ และความรู้กว้างขวาง
นอกเหนือไปจากความรู้เฉพาะ
3. มีบุคลิกการแต่งกายดี การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ใส่เสื้อผ้าถูกต้องตาม
กาลเทศะ
จากผลงานการวิจัยของคุณ เฉลียว บุรีภัคดี เกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่ดีโดยการ
รวบรวมข้อมูลจากนักเรียน ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ผู้บริหาร พระ และผู้ทรงคุณวุฒิ
จานวนทั้งสิ้น 7,762 คน จึงสรุปได้ว่า 10 ลักษณะของครูที่ดี ควรมีดังนี้
1. มีความประพฤติเรียบร้อย เป็นคนที่สุภาพเรียบร้อย มีความประพฤติดี
สม่าเสมอ เหมาะเป็นตัวอย่างที่ดีต่อศิษย์
4. สอนดี สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีมาสู่การปฏิบัติได้
5. ตรงต่อเวลา ข้อนี้สาคัญมาก สาหรับครูไทย เพราะครูบางท่านจะเข้า
สอนสาย ( ไม่ว่าด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม ) และจะสอนเกินเวลากินคาบต่อไปอยู่
บ่อยครั้ง ซึ่งเวลาเป็นสิ่งสาคัญ ควรตรงต่อเวลา ปลูกฝังให้เด็กรู้จักคุณค่าของเวลา
และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ๆ
6. มีความยุติธรรม มีความเป็นธรรมต่อนักเรียน เอาใจใส่และปฏิบัติต่อทุก
คนอย่างเสมอภาค ตัดสินปัญหาด้วยความเป็นธรรม มีความเป็นกลาง ไม่ลาเอียง ไม่
มีอคติใด ๆ
7. หาความรู้อยู่เสมอ มีความกระตือรือร้นในการหาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ
และอย่าหยุดที่จะพัฒนาตัวเอง
8. ร่าเริง แจ่มใส อย่าเคร่งเครียดเกินไปค่ะ ควรมีความร่าเริง แจ่มใสตามวัย
ที่เหมาะสม แต่ก็ต้องระวังอย่าตลกมากเกินไปจนไม่มีความน่าเชื่อถือนะคะ
9. ซื่อสัตย์ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อทุกคน ต่อหน้าที่การเรียนการสอน
10. เสียสละ มีน้าใจ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ตอบแทนสังคม เพราะครูเป็นผู้สร้าง
ทางจิตใจ ซึ่งมีค่าเกินกว่าจะตีค่าเป็นเงินเสียอีก
5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
หมวดที่ 1 รอบรู้ สอนดี ประกอบด้วย คุณลักษณะ พฤติกรรมหลัก และ พฤติกรรม
บ่งชี้ ดังต่อไปนี้
1. ด้านความรู้และความสามารถในวิชาชีพครู ได้แก่
1) รู้แผนการศึกษาแห่งชาติ : รู้นโยบายการศึกษาที่ตนรับผิดชอบ,
รู้จุดมุ่งหมายของการศึกษา
2) รู้หลักสูตร
3) รู้เนื้อหาวิชาที่สอน
4) ทาการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
5) รู้หลักการวัด และประเมินผล
6) สอนซ่อมเสริม
7) การพัฒนาการสอน
2. ด้านสนับสนุนการเรียนการสอน
1) บริการเชิงแนะแนว
2) บริการด้านกิจการนักเรียน
3) บริการด้านสื่อการเรียนการสอน
4) งานธุรการ
3. ด้านรอบรู้สถานการณ์บ้านเมืองและความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ
1) ติดตามความเคลื่อนไหวและสถานการณ์ของบ้านเมืองในปัจจุบัน
2) จับประเด็นปัญหาและความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของสังคมได้

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
Twatchai Tangutairuang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
Prapaporn Boonplord
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
Jaru O-not
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
Lamai Fungcholjitt
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Aoun หมูอ้วน
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
Pannatut Pakphichai
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
waranyuati
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
Niwat Yod
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
แนวทางการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเพิ่มเติม "หน้าที่พลเมือง"
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 

Similar to คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
niralai
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
niralai
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้วภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
Ko Kung
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
sompoy
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
niralai
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
khanidthakpt
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
niralai
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
niralai
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 

Similar to คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1 (20)

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้วภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 

More from khanidthakpt

สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
khanidthakpt
 
PPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodyPPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of body
khanidthakpt
 
ใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodyใบงาน Part of body
ใบงาน Part of body
khanidthakpt
 
ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัย
khanidthakpt
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listening
khanidthakpt
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venice
khanidthakpt
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit song
khanidthakpt
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight
khanidthakpt
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venice
khanidthakpt
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
khanidthakpt
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
khanidthakpt
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
khanidthakpt
 
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรแผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
khanidthakpt
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna karenina
khanidthakpt
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tense
khanidthakpt
 
Friends game
Friends gameFriends game
Friends game
khanidthakpt
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
khanidthakpt
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for children
khanidthakpt
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?
khanidthakpt
 

More from khanidthakpt (20)

สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
สื่อ PPT เรื่อง There is,There are ป.6
 
PPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of bodyPPT ทำใบงาน Part of body
PPT ทำใบงาน Part of body
 
ใบงาน Part of body
ใบงาน Part of bodyใบงาน Part of body
ใบงาน Part of body
 
ประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัยประเภทการวิจัย
ประเภทการวิจัย
 
แบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listeningแบบฝึกหัด Listening
แบบฝึกหัด Listening
 
บทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Veniceบทละครสั้น The merchant of Venice
บทละครสั้น The merchant of Venice
 
Chant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit songChant Playway in Habit song
Chant Playway in Habit song
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight วิเคราะห์บทแปล Twilight
วิเคราะห์บทแปล Twilight
 
The merchant of Venice
The merchant of VeniceThe merchant of Venice
The merchant of Venice
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษบทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
บทละคร Mangita and larina สำหรับแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศรแผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
แผนการสอนระดับท้องถิ่น - ร.พ เจ้าพระยาอภับภูเบศร
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna karenina
 
Short story - Past tense
Short story - Past tenseShort story - Past tense
Short story - Past tense
 
Friends game
Friends gameFriends game
Friends game
 
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูมLove of others กิจกรรมโฮมรูม
Love of others กิจกรรมโฮมรูม
 
Homeroom games for children
Homeroom games for childrenHomeroom games for children
Homeroom games for children
 
Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?Who is Christiane Amanpour?
Who is Christiane Amanpour?
 

คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1

  • 1.
  • 2. 1. คุณลักษณะของครูที่ดีตามพระราชดารัส 4. คุณลักษณะของครูที่ดีจากการวิจัย 5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู 6. คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์ประเมินสรรหาครูดีเด่นของคุรุ สภา แบ่งตามหัวข้อ 7 หัวข้อ 3. คุณลักษณะของครูที่ดีตามทัศนะคติของบุคคลต่าง ๆ 2. คุณลักษณะของครูที่ดีตามแนวความคิดทางศาสนา 7. คุณลักษณะของครูที่ดีในยุคศตวรรษที่ ๒๑
  • 3. 1. คุณลักษณะของครูที่ดีตามพระราชดารัส “…ครูที่แท้จริงเป็นผู้ทาแต่ความดี คือ ต้องหมั่นขยัน และอุสาหะพากเพียร ต้อง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ ต้องหนักแน่น อดกลั้นและอดทน ต้องรักษาวินัย สารวม ระวัง ความประพฤติของตนให้อยู่ในแบบแผนที่ดีงาม ต้องวางใจเป็นกลางไม่ปล่อยไปตาม อานาจอคติ ต้องอบรมปัญญาให้เพิ่มพูนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทั้งด้านวิทยาการและความฉลาด รอบรู้ในเหตุผล…”
  • 4. “…งานของครูนั้นเป็นงานที่ยากและต้องใช้ความอดทนเสียสละมากยิ่งในปัจจุบันยิ่งยากขึ้นทุกที เพราะเกิดมีความคิดใหม่อยู่เสมอ เช่นว่าเด็กต้องมีความคิดริเริ่มมาก แต่ความคิดริเริ่มซึ่งเป็นสิ่งที่ดีนั้น โดยมากไปแปลเป็นว่า จะต้องมีความคิดที่จะล้างครู ความคิดอันนี้เป็นความคิดที่รู้สึกว่าจะไม่ค่อยดีนัก แต่เราก็ต้องรับว่ามีเพื่อแก้ปัญหานี้ มิใช่ว่าครูจะต้องทาตัวไม่ดี เพื่อให้สอดคล้องกับการยุแหย่ ตรงข้าม ครูยังต้องเสียสละ ยิ่งต้องทางานหนัก และทาด้วยความเฉลียวฉลาดขึ้น…”
  • 5. “…สาหรับครูนั้นก็จะต้องทาตัวให้เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่เชื่อใจของนักเรียน…คือข้อแรก ต้อง ฝึกฝนตนเองให้แตกฉานและแม่นยา ชานาญทั้งในวิชาความรู้ และวิธีการสอน เพื่อสามารถสอนวิชา ทั้งปวงได้โดยถูกต้องกระจ่าง และครบถ้วนสมบูรณ์ อีกข้อหนึ่ง ต้องทาตัวให้ดี คือต้องมี และแสดง ความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต ความสุภาพ ความเข็มแข็งและอดทนให้ปรากฏชัดเจน จนเคย ชินเป็นปรกติวิสัย เด็กๆจะได้เห็น ได้เข้าใจในคุณค่าของความรู้ในความดี และในตัวครูเองอย่างซาบซึ้ง และยึดถือเอาเป็นแบบอย่าง ภารกิจของครู คือการให้ศึกษาก็จะได้บรรลุตามที่มุ่งหวัง…”
  • 6. “…ทุกคนที่ทางานย่อมต้องหวังประโยชน์ เช่น เงินทอง ยศศักดิ์ อานาจ ความร่ารวย เป็นสิ่งตอบแทน สาหรับครูที่รักการเป็นครูแท้จริง มีโอกาสที่จะได้รับประโยชน์ที่ล้าค่ายิ่งกว่านั้น แต่เป็นประโยชน์ที่ เป็นไปในทางจิตใจยิ่งกว่าทางวัตถุ กล่าวคือ ครูตามแบบฉบับมักจะมิได้เป็นผู้ที่บริบูรณ์ด้วยทรัพย์ด้วย ยศศักดิ์ อานาจ และอิทธิพลนัก หากแต่บริบูรณ์ด้วยสมบัติทางคุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความ เมตตาปราณี ความเสียสละ ซึ่งเป็นเหตุทาให้สามารถผูกพันจิตใจผู้เป็นศิษย์ให้รักใคร่ไว้ใจ และเคารพ เชื่อฟังได้แน่นแฟ้นและสามารถที่จะสั่งสอนถ่ายทอดทั้งวิชาความรู้ ทั้งจิตใจ และมารยาทที่ดี
  • 7. ให้แก่ศิษย์ได้พร้อมมูล ทาให้ศิษย์มีความฉลาดรอบรู้ มีความนอบน้อม ซึ่งมิใช่นอบน้อมเพียงแต่กับ ผู้ใหญ่ หากรวมถึงนอบน้อมนับถือในกันและกัน อันจะทาให้เข้าใจกันและเอื้อเฟื้อสนับสนุนกัน เพื่อให้งานส่วนรวมดาเนินไปได้สะดวก ทั้งรู้จักสร้างสรรค์สังคมที่ดีต่อไปได้ดังนั้น ถ้าพิจารณากัน ให้ลึกซึ้ง จะเห็นว่าประโยชน์ดังกล่าวแล้ว เป็นประโยชน์ที่แน่นอนยั่งยืน และทาให้เกิดความสุขสบาย ได้ดียิ่งกว่าทรัพย์ยศ และอานาจ หรืออิทธิพลใดๆหมด แต่เดี๋ยวนี้ ความนิยมห่วงใยในสมบัติของครูดูจะเรียวลง อาจทาให้ผู้เป็นครูไม่ได้รับความสุขความอิ่ม ใจในการเป็นครูเต็มภาคภูมิ อาจทาให้ครูไม่สามารถสอนศิษย์ให้มีคุณสมบัติดีพร้อมดังแต่ก่อน ซึ่ง ที่สุดย่อมทาให้สังคมเสื่อมลง ยุ่งยาก คลอนแคลน และไปไม่รอด…”
  • 8. “…ความเป็นครูนั้น ประกอบขึ้นด้วยสิ่งที่มีคุณค่าสูงหลายอย่าง อย่างหนึ่งได้แก่ ปัญญา คือ ความรู้ที่ดี ประกอบด้วยหลักวิชาอันถูกต้องที่แน่นแฟ้น กระจ่างแจ้งในใจ รวมทั้งความฉลาดที่จะพิจารณาเรื่อง ต่างๆ ตลอดจนกิจที่จะทาคาที่จะพูดทุกอย่างได้โดยถูกต้องด้วยเหตุผล อย่างหนึ่ง ได้แก่ ความดี คือ ความสุจริต ความเมตตากรุณา เห็นใจ และปรารถนาดีต่อผู้อื่นโดยเสมอหน้า อีกอย่างหนึ่งได้แก่ ความสามารถที่จะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้ความดีของตนเองไปยังผู้อื่นได้รับประโยชน์ด้วย กล่าวคือ ความแจ่มแจ้งแน่ชัดในใจย่อมส่องแสดงความรู้ออกมาให้เข้าใจตามได้โดยง่าย และความหวังดีโดย บริสุทธิ์ใจย่อมน้อมนาให้เกิดศรัทธาแจ่มใส มีใจพร้อมที่จะรับความรู้ความดีด้วยความชื่นบาน ทั้งพร้อม จะร่วมงานด้วยโดยเต็มใจและมั่นใจ โดยนัยนี้ผู้ที่ได้รับแสงสว่างแห่งความเป็นครูชุบย้อมกายใจแล้ว จึง เป็นผู้ใฝ่หาความรู้ใฝ่หาความดี ทั้งตั้งใจและเต็มใจที่จะช่วยเหลือสนับสนุนผู้อื่นโดยบริสุทธิ์จะประกอบ กิจการใด ก็จะทาให้กิจการนั้นดาเนินไปโดยสะดวกราบรื่นและสาเร็จประโยชน์ที่มุ่งหมายได้โดย สมบูรณ์ ผู้ที่มีความเป็นครูสมบูรณ์ในตัวนอกจากจะมีความดีด้วยตนเองแล้ว จึงยังจะช่วยให้ทุกคนที่มี โอกาสเข้ามาสัมพันธ์เกี่ยวข้องบรรลุถึงความดีความเจริญไปด้วย…”
  • 9. 2.คุณลักษณะของครูที่ดีตามแนวความคิดทางศาสนา 1. ปิโย คือ การทาตัวเป็นที่รักต่อศิษย์และบุคคลทั่วไป การที่ครูจะเป็นที่รักแก่ศิษย์ได้ ก็ ควรตั้งตนอยู่ในพรหมวิหาร 4 คือ 1.1 มีเมตตา ปรารถนาดีต่อศิษย์ 1.2 มีกรุณา สงสาร เอ็นดูศิษย์ 1.3 มีมุทิตา ชื่นชมยินดีเมื่อศิษย์ได้ดี 1.4 มีอุเบกขา วางตัวเป็นกลาง หลักคาสอนหรือหลักธรรมในพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับความเป็นครู ประกอบด้วย หลักธรรม 7 ประการ คือ
  • 10. 2. ครุ หมายถึง การเป็นบุคคลที่มีความหนักแน่นมั่นคง ทั้งในด้านของจิตใจที่หนักแน่น มั่นคง และความหนักแน่นในด้านของความรอบรู้ธรรม ที่จะช่วยให้ครู มีคุณสมบัติ ดังกล่าว คือ พละ 5 ประการ ได้แก่ 2.1 ศรัทธาพละ คือ ความเชื่อในทางที่ชอบ 2.2 วิริยะพละ คือ ความเพียรในทางที่ชอบ 2.3 สติพละ คือ ความระลึกได้มีความรู้สึกตัวในการกระทา 2.4 สมาธิพละ คือ ความมีใจจดจ่อแน่วแน่มั่นคง 2.5 ปัญญาพละ คือ ความรอบรู้ คือรู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว
  • 11. 3. ภาวนิโย การเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีความประพฤติดีงามควรแก่การเคารพ 4. วัตตา คือ เป็นผู้มีมานะในการตักเตือนสั่งสอน เพื่อให้ศิษย์มีความรู้ความสามารถ และเป็นคนดี ลักษณะการสอนในแง่ของพุทธศาสนามี 5 ประการ คือ 4.1 สันทัสสนา สอนให้เข้าใจชัดเจน 4.2 สมาทปนา กระตุ้นให้ประพฤติปฏิบัติตามที่ครูสอน 4.3 สมุตเตชนา สร้างกาลังใจ 4.4 สัมปหังสนา มีเทคนิคในการสอน
  • 12. 5. วจนัก ขโม เป็นผู้มีความอดทนต่อถ้อยคาโดยมีเจตนาดีเป็นที่ตั้งการอดทนต่อกริยา วาจาอันก้าวร้าวรุนแรงของ ผู้อื่นได้นั้น เป็นสัญลักษณ์ของความเข้มแข็ง 6. คัม ภีรัญจกถัง กัตตา สามารถขยายข้อความที่ยากให้ง่ายแก่การเข้าใจได้ ครูจะต้องมี วิธีที่จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องยากๆ ได้โดยง่าย โดยวิธีการ ดังนี้คือ 6.1 แสดงจุดเด่น 6.2 แสดงเหตุผลในวิชานั้น 6.3 แสดงเนื้อหาที่เป็นแก่นหรือสาระสาคัญของวิชานั้นๆ
  • 13. 7. โน จัฏฐาเน นิโยชเย คือ การรู้จักและแนะนาศิษย์ไปในทางถูกที่ควร วิธีการแนะนา ศิษย์ไปใน ทาง ที่ถูกที่ควรนั้นมีอยู่ 3 ประการ คือ 7.1 คิดหาวิธี ใช้วิธีขู่กาหลาบ 7.2 นัคคหวิธี ใช้วิธียกย่องชมเชย 7.3 ทิฎฐานคติวิธี ใช้วิธีกระทาให้เห็นเป็นตัวอย่าง
  • 14. 3. คุณลักษณะของครูที่ดีตามทัศนะคติของบุคคลต่าง ๆ 2. มีความรักในอาชีพครู มีส่วนช่วยแนะนาเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนอยู่เสมอ 3.ทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ มีความสามารถในอาชีพ 5. มีคุณสมบัติส่วนตัวดี มีสติปัญญาดี มีความเชื่อมั่นในตนเอง 6. มีรูปร่างท่าทางดี แต่งกายถูกกาลเทศะ 1. มีความสัมพันธ์กับนักเรียนดี คือ ครูจะต้องสนใจ เอาใจใส่ต่อปัญหาของนักเรียน 4. มีจรรยาครู ไม่แพร่ข่าวลือ ซื่อสัตย์ต่ออาชีพ
  • 15. สาโรจ บัวศรี ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับการเป็นครูที่ดีในด้านสมรรถภาพว่าต้องมี 1. สามารถทาการสอนได้เป็นอย่างดี โดยรู้จัก 1.ใช้หลักจิตวิทยาแห่งการเรียน 2.ใช้หลักการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก 3.ทาบรรยากาศที่เหมาะสมที่จะเกิดการเรียนรู้ 4.วางแผนสาหรับการสอนอย่างถี่ถ้วน 5.ใช้วิธีการสอนแบบต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 6.ใช้แบบทดสอบชนิดต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 7.ปกครองชั้นและบริหารงานต่าง ๆ ของชั้นได้อย่างเรียบร้อยและราบรื่น
  • 16. 2. สามารถอบรมแนะแนว และปกครองได้เป็นอย่างดี โดยรู้จัก 1. หลักการที่ว่า ถ้าทุกคนสร้างคุณธรรมและหลักธรรมต่าง ๆ ไว้ประจาตัวได้แล้ว 2. ใช้หลักการและวิธีการของการแนะแนว 3. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบิดามารดาและผู้ปกครอง 4. ใช้ผลของการวิจัย และผลของการทดสอบต่าง ๆ ให้เป็นประโยชน์ในการอบรม 3. สามารถทากิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี โดยรู้จัก 1. ร่วมในการวางแผนจัดการ กิจกรรมในหลักสูตร 2. รับหน้าที่และภาวะในการปฏิบัติกิจกรรมเหล่านั้นตามแผน 3. รักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ร่วมงานทั้งปวงของโรงเรียน
  • 17. 4. สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีและร่วมมือกับชุมชนเป็นอย่างดี โดยรู้จัก 1. ช่วยเหลือชุมชนในการแก้ไขปัญหาของชุมชน 2. ทาให้ชุมชนเข้าใจโรงเรียน และสนับสนุนในทางที่เหมาะสม 3. หาความร่วมมือจากมารดาบิดาของผู้ปกครอง 4. หาบุคคลอื่น และสิ่งต่าง ๆ ในชุมชนที่เป็นประโยชน์ในการสอน 5. ร่วมมือกับทางราชการปรับปรุงชุมนุมชน 5. สามารถเป็นครูชั้นอาชีพ โดยรู้จัก 1. เพิ่มพูนความรู้ให้แก่อาชีพครู 2. ยึดถือขนบธรรมเนียมของผู้เป็นครู และช่วยเหลือส่งเสริมเพื่อนครู 3. ส่งเสริมตัวเองให้งอกงามในทางวิชาการ ศึกษาอยู่เสมอ 4. ช่วยเหลือแนะนาผู้ที่เข้ามาเป็นครูใหม่ในโรงเรียนของตน
  • 18. 4. คุณลักษณะของครูที่ดีจากการวิจัย จากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับลักษณะครูดีในประเทศไทยของนักการศึกษา หลายท่าน ดิเรก พรสีมา และคณะ (2543) พบว่าครูที่ดีควรมีลักษณะที่จาเป็น 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านคุณลักษณะ 1.1 ต้องมีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และพร้อมที่จะพัฒนา วิชาชีพของตนอยู่เสมอ 1.2 ประพฤติตนเป็นแบบอย่างแก่ผู้เรียน 1.3 ใฝ่หาความรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 1.4 มีความเมตตาแก่ศิษย์และเห็นคุณค่าของศิษย์ 1.5 มีสุขภาพสมบูรณ์
  • 19. 1.6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทางวิชาการสามารถใช้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ 1.7 มีบทบาทในการพัฒนาชุมชน สามารถเป็นผู้นาชุมชนได้ 1.8 ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ภาษา และการวิจัยเพื่อเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาตนเอง 1.9 สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นครูแบบใหม่ในระบบสากลได้
  • 20. 2. ด้านความรู้ของครู 2.2 มีความรู้ด้านการวิจัยวิทยาการ คอมพิวเตอร์และภาษาเพื่อเป็นเครื่องมือใน การแสวงหาความรู้ 2.3 มีความรู้เรื่องเทคนิคการสอน จิตวิทยาการวัดผลและประเมินผลและ สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 2.4 รู้ข้อมูลข่าวสารรอบตัวและ เรื่องราวในท้องถิ่นเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และฝึกผู้เรียนคิดวิเคราะห์วิจารณ์ได้ 2.1 ครูต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในวิชา ที่สอนอย่างแท้จริง
  • 21. 3. ด้านการถ่ายทอดของครู 3.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อจัดบรรยากาศ การเรียนรู้ที่น่าสนใจ 3.3 สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนใฝ่รู้ก้าวทันเทคโนโลยีตลอดจน สามารถใช้ภาษาสื่อสารกันได้ 3.4 สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมองกว้างคิดไกลและมีวิจารณญาณที่ จะวิเคราะห์และเลือกใช้ข่าวสารข้อมูลให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้ 3.2 สามารถอบรมนิสัยให้ผู้เรียนมีศีลธรรมวัฒนธรรมกิจนิสัย 3.5 พัฒนาผู้เรียนเรียนรู้เรื่องราวต่างๆของชุมชนสามารถนา ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาชุมชน และแก้ปัญหาต่างๆ ในชุมชนได้
  • 22. ผลงานการวิจัยของ เฉลียว บุรีภัคดี เกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่ดีโดยการรวบรวม ข้อมูลจากนักเรียน ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ผู้บริหาร พระ และผู้ทรงคุณวุฒิจานวน ทั้งสิ้น 7,762 คน มี ดังนี้ 2. ความเข้าใจและเป็นกันเอง 3. ความรับผิดชอบ 4. มีความยุติธรรม 5. ความเมตตา 6. ร่าเริง แจ่มใส สุภาพ 7. มีวิธีสอนแปลก ๆ 8. มีอารมณ์ขัน 9. เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ 1. ตั้งใจสอนและสอนเข้าใจแจ่มแจ้ง
  • 23. 1. ด้านคุณธรรมและความประพฤติ ได้แก่ ความเที่ยงธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต การตรงต่อเวลา ร่าเริงแจ่มใส รู้จักเสียสละ วาจาสุภาพเรียบร้อย เป็นกันเองกับ เด็ก และเข้ากับเด็กได้ เป็นตัวอย่างในการประพฤติดี มีมนุษย์สัมพันธ์ แต่งกาย เรียบร้อยมีบุคลิกลักษณะที่ดีมีวาจาสุภาพอ่อนโยนเว้นจากอบายมุขต่างๆ ไม่ทาตัว เสเพล มีระเบียบวินัย อารมณ์มั่นคง มีความปรานีรู้จักปกครองแบบประชาธิปไตย เป็นคนมีเหตุผล รู้จักสิทธิและหน้าที่ กรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการได้ทาการวิจัยเรื่องของครูที่ดีโดยการสอบถาม จากบุคคลหลายฝ่าย คือ นักเรียน ครู ผู้บริหารการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ ศึกษานิเทศก์ และ ผู้ปกครอง ใช้เวลาในการวิจัย พ.ศ.2518 – พ.ศ.2520: ซึ่ง เป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่ ทาการวิจัยเรื่องลักษณะของครูที่ดีที่ได้กระทาใน วงกว้าง ผลจากการวิจัยลักษณะของครู ที่ดี สรุปผลได้ดังนี้ (กรมการฝึกหัดครู 2520 : 363 – 371 )
  • 24. 2. ด้านความยึดมั่นในสัญชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 3. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน 4. ความสามารถในการใช้ภาษา สื่อสาร รู้จักหลักการพูด การอภิปรายบทเรียน แจ่มชัด รู้จักใช้ภาษาถูกต้อง 5. เอาใจใส่ค้นคว้าความรู้อยู่เสมอ
  • 25. 2. มีความรู้ดี เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งด้านวิชาการ และความรู้กว้างขวาง นอกเหนือไปจากความรู้เฉพาะ 3. มีบุคลิกการแต่งกายดี การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ใส่เสื้อผ้าถูกต้องตาม กาลเทศะ จากผลงานการวิจัยของคุณ เฉลียว บุรีภัคดี เกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่ดีโดยการ รวบรวมข้อมูลจากนักเรียน ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ผู้บริหาร พระ และผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนทั้งสิ้น 7,762 คน จึงสรุปได้ว่า 10 ลักษณะของครูที่ดี ควรมีดังนี้ 1. มีความประพฤติเรียบร้อย เป็นคนที่สุภาพเรียบร้อย มีความประพฤติดี สม่าเสมอ เหมาะเป็นตัวอย่างที่ดีต่อศิษย์
  • 26. 4. สอนดี สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีมาสู่การปฏิบัติได้ 5. ตรงต่อเวลา ข้อนี้สาคัญมาก สาหรับครูไทย เพราะครูบางท่านจะเข้า สอนสาย ( ไม่ว่าด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม ) และจะสอนเกินเวลากินคาบต่อไปอยู่ บ่อยครั้ง ซึ่งเวลาเป็นสิ่งสาคัญ ควรตรงต่อเวลา ปลูกฝังให้เด็กรู้จักคุณค่าของเวลา และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ๆ 6. มีความยุติธรรม มีความเป็นธรรมต่อนักเรียน เอาใจใส่และปฏิบัติต่อทุก คนอย่างเสมอภาค ตัดสินปัญหาด้วยความเป็นธรรม มีความเป็นกลาง ไม่ลาเอียง ไม่ มีอคติใด ๆ
  • 27. 7. หาความรู้อยู่เสมอ มีความกระตือรือร้นในการหาความรู้ใหม่ๆอยู่เสมอ และอย่าหยุดที่จะพัฒนาตัวเอง 8. ร่าเริง แจ่มใส อย่าเคร่งเครียดเกินไปค่ะ ควรมีความร่าเริง แจ่มใสตามวัย ที่เหมาะสม แต่ก็ต้องระวังอย่าตลกมากเกินไปจนไม่มีความน่าเชื่อถือนะคะ 9. ซื่อสัตย์ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อทุกคน ต่อหน้าที่การเรียนการสอน 10. เสียสละ มีน้าใจ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ตอบแทนสังคม เพราะครูเป็นผู้สร้าง ทางจิตใจ ซึ่งมีค่าเกินกว่าจะตีค่าเป็นเงินเสียอีก
  • 28. 5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู หมวดที่ 1 รอบรู้ สอนดี ประกอบด้วย คุณลักษณะ พฤติกรรมหลัก และ พฤติกรรม บ่งชี้ ดังต่อไปนี้ 1. ด้านความรู้และความสามารถในวิชาชีพครู ได้แก่ 1) รู้แผนการศึกษาแห่งชาติ : รู้นโยบายการศึกษาที่ตนรับผิดชอบ, รู้จุดมุ่งหมายของการศึกษา 2) รู้หลักสูตร 3) รู้เนื้อหาวิชาที่สอน 4) ทาการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 5) รู้หลักการวัด และประเมินผล 6) สอนซ่อมเสริม 7) การพัฒนาการสอน
  • 29. 2. ด้านสนับสนุนการเรียนการสอน 1) บริการเชิงแนะแนว 2) บริการด้านกิจการนักเรียน 3) บริการด้านสื่อการเรียนการสอน 4) งานธุรการ 3. ด้านรอบรู้สถานการณ์บ้านเมืองและความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ 1) ติดตามความเคลื่อนไหวและสถานการณ์ของบ้านเมืองในปัจจุบัน 2) จับประเด็นปัญหาและความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของสังคมได้