SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ANCIENT PERSIA
ANCIENT PERSIA
เมื่อประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ชนเผ่า
เปอร์เซีย ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่ใช้ภาษาอินโด-ยุโรเปียน มีถิ่นฐานเดิม
อยู่บริเวณทางเหนือของทะเลดา ได้ก่อตัวและขยายอานาจ
ครอบครองอารยธรรมโบราณอื่นๆ และได้ก้าวขึ้นมามีบทบาท
เป็นศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของโลกยุคโบราณ ภายใต้
การปกครองของพระเจ้าไซรัสมหาราช พระองค์ได้ดาเนิน
นโยบายขยายดินแดนของเปอร์เซียออกไปอย่างกว้างขวาง มี
อาณาจักรกว้างใหญ่ไพศาลกลายเป็นจุดศูนย์กลางของการ
เชื่อมโยงดินแดนทั้งเอเชียตะวันออก เอเชียกลาง อินเดีย อียิปต์
และดินแดนแถบเมดิเตอร์เรเนียน ในยุคนี้ได้มีพัฒนาการที่
ทันสมัยมากขึ้น มีการผลิตเงินเหรียญขึ้นใช้ นอกจากนั้นยังได้มี
การดัดแปลงตัวอักษรคูนิฟอร์มเป็นตัวอักษรของเปอร์เซีย
จัดระบบการปกครอง โดยแบ่งเป็นจังหวัด หรือมณฑล เรียกว่า
แซแทรปปี (Satrapy) นอกจากในด้านเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรือง
แล้ว ชาวเปอร์เซียยังได้สร้างถนนใช้คมนาคมและถือว่าเป็นถนน
ที่ดีที่สุดในยุคโบราณ และนอกจากนั้นยังมีไปรษณีย์
ติดต่อสื่อสารทางราชการ จนทาให้เปอร์เซียกลายเป็นจักรพรรดิ
ใหญ่แห่งแรกหลังการล่มสลายของอาณาจักรยุคโบราณ
อารยธรรมเปอร์เซีย
พระเจ้าไซรัสมหาราช กษัตริย์แห่งเปอร์เซีย
ความมหัศจรรย์อย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรม
เปอร์เซียมาจากการค้นคว้าแสวงหานวัตกรรมง่ายๆ นามาใช้ใน
การควบคุมสภาพแวดล้อมในเขตที่อยู่อาศัยโดยไม่จาเป็นต้องใช้
จักรกลทุ่นแรงให้สิ้นเปลืองเหมือนอาคารสิ่งก่อสร้างในปัจจุบัน
สถาปัตยกรรมเปอร์เซียตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงสมัยอิสลาม
ผสมผสานการรักษาสมดุลระหว่างธาตุหลักคือ ดิน น้า ลม และ
ไฟได้อย่างลงตัว ปรากฏองค์ประกอบของสถาปัตยกรรม 4
ประเภทคือ ผนังโคลน ธารน้าประดิษฐ์ หอดักลม และช่องแสง
องค์ประกอบสาคัญอีกอย่างในสถาปัตยกรรม
เปอร์เซียคือช่องแสงซึ่งจะเปิดรับแสงธรรมชาติเข้าสู่อาคารใน
รูปแบบต่างๆ ทั้งการก่ออิฐเว้นช่องที่ยอดหลังคาหรือโดมอาคาร
หรือเจาะช่องรูปทรงต่างๆ ที่ผนัง เพื่อบังคับทิศทางของแสงเข้าสู่
อาคาร ช่วยให้ความสว่าง สร้างมิติในงานตกแต่งและคุณค่าทาง
สุนทรียภาพ
สถาปัตยกรรมเปอร์เซีย
การเจาะช่องบนยอดโดมอาคารใน
เมืองยาซด์ (Yazd) ประเทศอิหร่าน
อาคารในสวนดอว์ลาตาบัด เมืองยาซด์ ประเทศอิหร่าน
ANCIENT PERSIA
ประติมากรรม - งานประติมากรรมที่สาคัญของ
เปอร์เซีย คือ การแกะสลักหัวเสาเป็นรูปสัตว์ต่างๆ มีความ
สวยงามและประณีตนอกจากนั้นยังรู้จักนาทองแดงและโลหะ
ต่างๆ มาประดับแต่งอย่างวิจิตรพิสดาร
ประติมากรรมที่นิยมคือแบบนูนต่าโดยเฉพาะการ
แกะสลักฐานบันไดกาแพง หรือฝาผนัง เรื่องราวส่วนใหญ่เป็น
ภาพกษัตริย์ ขุนนาง และข้าทาสบริพารหรือพิธีกรรมต่างๆ
ผลงานที่โดดเด่นมักจะเป็นผลงานประเภทประณีตศิลป์ ซึ่งจะนา
สัตว์มาดัดแปลงประยุกต์เป็นสิ่งของเครื่องใช้
จิตรกรรม - ผลงานด้านจิตรกรรมของเปอร์เซียมี
ไม่มากนัก ส่วนมากจะเป็นการนาไปประยุกต์ ใช้กับการตกแต่ง
ผนังภายในงานสถาปัตยกรรม รูปแบบจะมีลักษณะคล้ายกับแอส
สิเรีย ศิลปกรรมเปอร์เซียเริ่มเสื่อมลงเมื่อพวกมุสลิมหรืออาหรับ
เข้ามามีอานาจ ลักษณะงานศิลปะจึงได้เปลี่ยนแปลงไป
งานศิลปะของเปอร์เซีย
การแกะสลักหัวเสาเป็นรูปสัตว์ต่างๆ
ANCIENT PERSIA
นวัตกรรมด้านน้าของเปอร์เซียเจริญก้าวหน้ามาก ชาวอิหร่านรู้จักการวางระบบน้ามาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์
เมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชาวอิหร่านได้พัฒนาธารน้าประดิษฐ์ และน้าพุประดับสวนและอาคารต่างๆ จนกลายเป็นต้นแบบทางภูมิ
สถาปัตยกรรมซึ่งส่งอิทธิพลไปยังอินเดียและโลกมุสลิมอื่นๆ
นอกจากธารน้าประดิษฐ์และน้าพุจะใช้สาหรับอุปโภคบริโภคแล้ว ยังช่วยดูดซับและระบายความร้อน เป็นระบบหล่อ
เย็นธรรมชาติที่สร้างความรื่นร่มในฤดูร้อน ลดความแห้งแล้งของภูมิอากาศทะเลทรายได้อย่างดี
ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีของชาวเปอร์เซีย
พระราชวัง โกเลสตาน, อิหร่าน
ANCIENT PERSIA
อาคารเก่าแก่ในเขตทะเลทรายของอิหร่านมักมีหอก่อด้วยอิฐแผนผังสี่เหลี่ยมทรงสูงตั้งตระหง่านอยู่เรียกกันว่า “หอดัก
ลม” บนสุดของหอมีช่องตามแนวตั้งเรียงกัน ลักษณะคล้ายรังผึ้งในเครื่องปรับอากาศสมัยใหม่ ทาหน้าที่รับลมจากภายนอกเข้าสู่ช่องเปิด
ไหลเวียนไปตามส่วนต่างๆ ภายในอาคาร หอดักลมจะช่วยระบายลมร้อนออกไป ทาให้อากาศภายในถ่ายเทและเย็นสบายตลอดทั้งวัน
ในดินแดนทะเลทรายของเปอร์เซียอาคารสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่นิยมสร้างจากโคลน โดยนาดินผสมน้าพอกพูนก่อเป็นตัว
อาคาร มีใบปาล์มหรืออินทผลัม หญ้า ฟาง เป็นตัวประสานให้เนื้อดินเกาะเป็นผนังหลังคาและส่วนต่างๆ หรือก่อด้วยอิฐดิบที่ทาจาก
โคลนตากแห้ง อาคารที่สร้างจากโคลนและอิฐดิบจะช่วยให้อากาศเย็นสบายยามกลางวันและอบอุ่นในเวลากลางคืน ผนังโคลนเป็น
วิธีการพื้นฐานที่ใช้สร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัยไปจนถึงอาคารมัสยิดทางศาสนา ตลาด และเมือง
การผสานองค์ประกอบของธาตุทั้งสี่อย่างลงตัวในสถาปัตยกรรมเปอร์เซียสะท้อนถึงภูมิปัญญาและความเคารพ
ธรรมชาติของผู้คนยุคก่อนทาให้เกิดสมดุลในการใช้ชีวิตที่ไม่ทาลายสภาพแวดล้อม
ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีของชาวเปอร์เซีย
โดมอาคารและหอดักลมในอาคารสถาปัตยกรรมเปอร์เซีย อาคารสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่นิยมสร้างจากโคลน
ANCIENT PERSIA
ชาวเปอร์เซียได้รับอิทธิจากคาสอนของศาสนาโวโรอัสเอตร์ว่า โลกประกอบด้วยสิ่งสองด้าน คือ ดีและชั่ว เทพเจ้าอหุระ
มาสดา คือ ตัวแทนของความดี และเทพอาห์ริมัน (Ahriman) คือตัวแทนของความชั่วร้าย ต่อสู้กันในที่สุดฝ่ายดีจะเป็นฝ่ายมีชัยเหนือ
ฝ่ายชั่ว ชะตากรรมของมนุษย์จึงขึ้นอยู่กับการเลือกว่าจะทาดีหรือชั่ว แนวความคิดนี้มีอิทธิพลต่อศาสนายูดายหรือยิวและคริสต์
ศาสนา รวมทั้งความเชื่อในเรื่องเทวดา นางฟ้ า วันสิ้นโลก การตัดสิ้นครั้งสุดท้ายและการไปสู่สวรรค์และนรกในเวลาต่อมา และ
ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 7 มุสลิมได้แผ่ขยายอานาจเข้ามาครอบครองดินแดนเปอร์เซีย อาณาจักรแห่งนี้จึงตกอยู่ภายใต้การปกครอง
ของศาสนาอิสลาม และแนวความคิดจากศาสนาโซโรอัสเตอร์ก็มีผลต่อการพัฒนาแนวความคิดและหลักคาสอนของศาสนาอิสลาม
มรดกทางวัฒนธรรมของเปอร์เซีย
ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีลูกหลาน
ของเฉกอะหมัดคือ พระยาเพ็ชรพิไชย (ใจ) ที่เป็นข้าราชการ
ใกล้ชิดในตาแหน่งจางวางกรมล้อมพระราชวังเครื่องแต่งกาย
อย่าง ลอมพอก ก็เป็นอีกหนึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของ
เปอร์เซีย ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากผ้าโพกหัวของชาวมุสลิม
กับชฎาของไทยโดยลอมพอกถือเป็นหมวกสาหรับขุนนางในรัช
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในรัชกาลเดียวกันก็ได้ส่ง
ราชทูตไปยังประเทศฝรั่งเศสเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีในปี พ.ศ.
2229 ลอมพอกจึงเป็นที่สนใจของชาวฝรั่งเศสอย่างมาก
ANCIENT PERSIA
สวนเปอร์เซีย
สวนเปอร์เซีย (Persia garden)นั้น จัดว่าเป็นหนึ่งในรูปแบบ
การจัดสวนของทางตะวันตก ซึ่งมีประวัติความเป็นมา มาเนิ่นนานตั้งแต่ก่อน
คริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยมีลักษณะของการจัดสวนที่เลียนแบบจาของของระบบ
จักรวาล (Cosmos) ตามความเชื่อเก่าแก่ของคนในยุคนั้น
สวนเปอร์เซีย มักจะเป็นสวนที่มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม และแบ่ง
ออกเป็นสี่ส่วนด้วยสายน้า ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของแม่น้าแห่งสรวงสวรรค์
จุดตัดตรงกลางของสวนน้าเป็นที่ตั้งของน้าพุแห่งชีวิต และเต็มไปด้วยพรรณ
ไม้นานาพันธุ์ ทั้งไม้ดอกและไม้ผล เช่น ส้ม ทับทิม กุหลาบ แทรกด้วยร่มเงา
ของปาล์มชนิดต่าง ๆ และเสียงของน้าที่ไหลริน ปลาหลากสีที่ว่ายวนอยู่ในผืน
น้า ซึ่งเป็นลักษณะอันสวยงามสมบูรณ์แบบจนเหมือนเป็นสวนแห่งสวรรค์
ในปัจจุบันชาวอิสลามรับรูปแบบสวนเปอร์เซียเข้ามาเป็นส่วน
หนึ่งของวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็นสวนในบ้าน ในวัง หรือในสุเหร่า
และคงลักษณะพื้นฐานเดียวกันไว้คือ สวนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ถูกล้อมไว้ด้วย
อาคารหรือกาแพง แบ่งพื้นที่เป็นสี่ส่วนเรียกว่า "ชาฮา-บัก" (Chahar Bagh) มี
น้าพุหรือบ่อน้าตั้งไว้ตรงกลาง จนอาจจะกล่าวได้ว่า รูปแบบของสวนอิสลาม
เน้นความสาคัญของ "น้า" ซึ่งเป็นของขวัญจากสวรรค์และเป็นองค์ประกอบ
สาคัญของสิ่งมีชีวิตมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง ซึ่งรูปแบบในสมัยโบราณก็ยังคงสืบ
ทอดและเห็นกันได้ทั่วไปในการจัดสวนเปอร์เซีย
ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของเปอร์เซีย
สวนเปอร์เซียในประเทศอิหร่าน
ANCIENT PERSIA
THANK YOU
ANCIENT PERSIA

More Related Content

What's hot

อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันJungko
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันmminmmind
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วอารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วkittiyawir
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) Me'e Mildd
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)Me'e Mildd
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)Me'e Mildd
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2Napatrapee Puttarat
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilizationtimtubtimmm
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ Tha WaiHei
 

What's hot (18)

อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้วอารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
อารยธรรมของโลกยุคโบราณและยุคแบบแก้แล้ว
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt) อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)อียิปต์โบราณ(Egypt)
อียิปต์โบราณ(Egypt)
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 

More from Aniwat Suyata

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์Aniwat Suyata
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมืองAniwat Suyata
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลินAniwat Suyata
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์Aniwat Suyata
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญาAniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพรAniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตรAniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภาAniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัตAniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน017 rococo มาลิน
017 rococo มาลิน
 
016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
015 renaissance c.1425 1600 อนันญา
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 

001 persian

  • 2. ANCIENT PERSIA เมื่อประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ชนเผ่า เปอร์เซีย ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่ใช้ภาษาอินโด-ยุโรเปียน มีถิ่นฐานเดิม อยู่บริเวณทางเหนือของทะเลดา ได้ก่อตัวและขยายอานาจ ครอบครองอารยธรรมโบราณอื่นๆ และได้ก้าวขึ้นมามีบทบาท เป็นศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของโลกยุคโบราณ ภายใต้ การปกครองของพระเจ้าไซรัสมหาราช พระองค์ได้ดาเนิน นโยบายขยายดินแดนของเปอร์เซียออกไปอย่างกว้างขวาง มี อาณาจักรกว้างใหญ่ไพศาลกลายเป็นจุดศูนย์กลางของการ เชื่อมโยงดินแดนทั้งเอเชียตะวันออก เอเชียกลาง อินเดีย อียิปต์ และดินแดนแถบเมดิเตอร์เรเนียน ในยุคนี้ได้มีพัฒนาการที่ ทันสมัยมากขึ้น มีการผลิตเงินเหรียญขึ้นใช้ นอกจากนั้นยังได้มี การดัดแปลงตัวอักษรคูนิฟอร์มเป็นตัวอักษรของเปอร์เซีย จัดระบบการปกครอง โดยแบ่งเป็นจังหวัด หรือมณฑล เรียกว่า แซแทรปปี (Satrapy) นอกจากในด้านเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรือง แล้ว ชาวเปอร์เซียยังได้สร้างถนนใช้คมนาคมและถือว่าเป็นถนน ที่ดีที่สุดในยุคโบราณ และนอกจากนั้นยังมีไปรษณีย์ ติดต่อสื่อสารทางราชการ จนทาให้เปอร์เซียกลายเป็นจักรพรรดิ ใหญ่แห่งแรกหลังการล่มสลายของอาณาจักรยุคโบราณ อารยธรรมเปอร์เซีย พระเจ้าไซรัสมหาราช กษัตริย์แห่งเปอร์เซีย
  • 3. ความมหัศจรรย์อย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรม เปอร์เซียมาจากการค้นคว้าแสวงหานวัตกรรมง่ายๆ นามาใช้ใน การควบคุมสภาพแวดล้อมในเขตที่อยู่อาศัยโดยไม่จาเป็นต้องใช้ จักรกลทุ่นแรงให้สิ้นเปลืองเหมือนอาคารสิ่งก่อสร้างในปัจจุบัน สถาปัตยกรรมเปอร์เซียตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงสมัยอิสลาม ผสมผสานการรักษาสมดุลระหว่างธาตุหลักคือ ดิน น้า ลม และ ไฟได้อย่างลงตัว ปรากฏองค์ประกอบของสถาปัตยกรรม 4 ประเภทคือ ผนังโคลน ธารน้าประดิษฐ์ หอดักลม และช่องแสง องค์ประกอบสาคัญอีกอย่างในสถาปัตยกรรม เปอร์เซียคือช่องแสงซึ่งจะเปิดรับแสงธรรมชาติเข้าสู่อาคารใน รูปแบบต่างๆ ทั้งการก่ออิฐเว้นช่องที่ยอดหลังคาหรือโดมอาคาร หรือเจาะช่องรูปทรงต่างๆ ที่ผนัง เพื่อบังคับทิศทางของแสงเข้าสู่ อาคาร ช่วยให้ความสว่าง สร้างมิติในงานตกแต่งและคุณค่าทาง สุนทรียภาพ สถาปัตยกรรมเปอร์เซีย การเจาะช่องบนยอดโดมอาคารใน เมืองยาซด์ (Yazd) ประเทศอิหร่าน อาคารในสวนดอว์ลาตาบัด เมืองยาซด์ ประเทศอิหร่าน ANCIENT PERSIA
  • 4. ประติมากรรม - งานประติมากรรมที่สาคัญของ เปอร์เซีย คือ การแกะสลักหัวเสาเป็นรูปสัตว์ต่างๆ มีความ สวยงามและประณีตนอกจากนั้นยังรู้จักนาทองแดงและโลหะ ต่างๆ มาประดับแต่งอย่างวิจิตรพิสดาร ประติมากรรมที่นิยมคือแบบนูนต่าโดยเฉพาะการ แกะสลักฐานบันไดกาแพง หรือฝาผนัง เรื่องราวส่วนใหญ่เป็น ภาพกษัตริย์ ขุนนาง และข้าทาสบริพารหรือพิธีกรรมต่างๆ ผลงานที่โดดเด่นมักจะเป็นผลงานประเภทประณีตศิลป์ ซึ่งจะนา สัตว์มาดัดแปลงประยุกต์เป็นสิ่งของเครื่องใช้ จิตรกรรม - ผลงานด้านจิตรกรรมของเปอร์เซียมี ไม่มากนัก ส่วนมากจะเป็นการนาไปประยุกต์ ใช้กับการตกแต่ง ผนังภายในงานสถาปัตยกรรม รูปแบบจะมีลักษณะคล้ายกับแอส สิเรีย ศิลปกรรมเปอร์เซียเริ่มเสื่อมลงเมื่อพวกมุสลิมหรืออาหรับ เข้ามามีอานาจ ลักษณะงานศิลปะจึงได้เปลี่ยนแปลงไป งานศิลปะของเปอร์เซีย การแกะสลักหัวเสาเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ANCIENT PERSIA
  • 5. นวัตกรรมด้านน้าของเปอร์เซียเจริญก้าวหน้ามาก ชาวอิหร่านรู้จักการวางระบบน้ามาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชาวอิหร่านได้พัฒนาธารน้าประดิษฐ์ และน้าพุประดับสวนและอาคารต่างๆ จนกลายเป็นต้นแบบทางภูมิ สถาปัตยกรรมซึ่งส่งอิทธิพลไปยังอินเดียและโลกมุสลิมอื่นๆ นอกจากธารน้าประดิษฐ์และน้าพุจะใช้สาหรับอุปโภคบริโภคแล้ว ยังช่วยดูดซับและระบายความร้อน เป็นระบบหล่อ เย็นธรรมชาติที่สร้างความรื่นร่มในฤดูร้อน ลดความแห้งแล้งของภูมิอากาศทะเลทรายได้อย่างดี ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีของชาวเปอร์เซีย พระราชวัง โกเลสตาน, อิหร่าน ANCIENT PERSIA
  • 6. อาคารเก่าแก่ในเขตทะเลทรายของอิหร่านมักมีหอก่อด้วยอิฐแผนผังสี่เหลี่ยมทรงสูงตั้งตระหง่านอยู่เรียกกันว่า “หอดัก ลม” บนสุดของหอมีช่องตามแนวตั้งเรียงกัน ลักษณะคล้ายรังผึ้งในเครื่องปรับอากาศสมัยใหม่ ทาหน้าที่รับลมจากภายนอกเข้าสู่ช่องเปิด ไหลเวียนไปตามส่วนต่างๆ ภายในอาคาร หอดักลมจะช่วยระบายลมร้อนออกไป ทาให้อากาศภายในถ่ายเทและเย็นสบายตลอดทั้งวัน ในดินแดนทะเลทรายของเปอร์เซียอาคารสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่นิยมสร้างจากโคลน โดยนาดินผสมน้าพอกพูนก่อเป็นตัว อาคาร มีใบปาล์มหรืออินทผลัม หญ้า ฟาง เป็นตัวประสานให้เนื้อดินเกาะเป็นผนังหลังคาและส่วนต่างๆ หรือก่อด้วยอิฐดิบที่ทาจาก โคลนตากแห้ง อาคารที่สร้างจากโคลนและอิฐดิบจะช่วยให้อากาศเย็นสบายยามกลางวันและอบอุ่นในเวลากลางคืน ผนังโคลนเป็น วิธีการพื้นฐานที่ใช้สร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัยไปจนถึงอาคารมัสยิดทางศาสนา ตลาด และเมือง การผสานองค์ประกอบของธาตุทั้งสี่อย่างลงตัวในสถาปัตยกรรมเปอร์เซียสะท้อนถึงภูมิปัญญาและความเคารพ ธรรมชาติของผู้คนยุคก่อนทาให้เกิดสมดุลในการใช้ชีวิตที่ไม่ทาลายสภาพแวดล้อม ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีของชาวเปอร์เซีย โดมอาคารและหอดักลมในอาคารสถาปัตยกรรมเปอร์เซีย อาคารสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่นิยมสร้างจากโคลน ANCIENT PERSIA
  • 7. ชาวเปอร์เซียได้รับอิทธิจากคาสอนของศาสนาโวโรอัสเอตร์ว่า โลกประกอบด้วยสิ่งสองด้าน คือ ดีและชั่ว เทพเจ้าอหุระ มาสดา คือ ตัวแทนของความดี และเทพอาห์ริมัน (Ahriman) คือตัวแทนของความชั่วร้าย ต่อสู้กันในที่สุดฝ่ายดีจะเป็นฝ่ายมีชัยเหนือ ฝ่ายชั่ว ชะตากรรมของมนุษย์จึงขึ้นอยู่กับการเลือกว่าจะทาดีหรือชั่ว แนวความคิดนี้มีอิทธิพลต่อศาสนายูดายหรือยิวและคริสต์ ศาสนา รวมทั้งความเชื่อในเรื่องเทวดา นางฟ้ า วันสิ้นโลก การตัดสิ้นครั้งสุดท้ายและการไปสู่สวรรค์และนรกในเวลาต่อมา และ ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 7 มุสลิมได้แผ่ขยายอานาจเข้ามาครอบครองดินแดนเปอร์เซีย อาณาจักรแห่งนี้จึงตกอยู่ภายใต้การปกครอง ของศาสนาอิสลาม และแนวความคิดจากศาสนาโซโรอัสเตอร์ก็มีผลต่อการพัฒนาแนวความคิดและหลักคาสอนของศาสนาอิสลาม มรดกทางวัฒนธรรมของเปอร์เซีย ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีลูกหลาน ของเฉกอะหมัดคือ พระยาเพ็ชรพิไชย (ใจ) ที่เป็นข้าราชการ ใกล้ชิดในตาแหน่งจางวางกรมล้อมพระราชวังเครื่องแต่งกาย อย่าง ลอมพอก ก็เป็นอีกหนึ่งมรดกทางวัฒนธรรมของ เปอร์เซีย ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากผ้าโพกหัวของชาวมุสลิม กับชฎาของไทยโดยลอมพอกถือเป็นหมวกสาหรับขุนนางในรัช สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในรัชกาลเดียวกันก็ได้ส่ง ราชทูตไปยังประเทศฝรั่งเศสเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีในปี พ.ศ. 2229 ลอมพอกจึงเป็นที่สนใจของชาวฝรั่งเศสอย่างมาก ANCIENT PERSIA
  • 8. สวนเปอร์เซีย สวนเปอร์เซีย (Persia garden)นั้น จัดว่าเป็นหนึ่งในรูปแบบ การจัดสวนของทางตะวันตก ซึ่งมีประวัติความเป็นมา มาเนิ่นนานตั้งแต่ก่อน คริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยมีลักษณะของการจัดสวนที่เลียนแบบจาของของระบบ จักรวาล (Cosmos) ตามความเชื่อเก่าแก่ของคนในยุคนั้น สวนเปอร์เซีย มักจะเป็นสวนที่มีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม และแบ่ง ออกเป็นสี่ส่วนด้วยสายน้า ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของแม่น้าแห่งสรวงสวรรค์ จุดตัดตรงกลางของสวนน้าเป็นที่ตั้งของน้าพุแห่งชีวิต และเต็มไปด้วยพรรณ ไม้นานาพันธุ์ ทั้งไม้ดอกและไม้ผล เช่น ส้ม ทับทิม กุหลาบ แทรกด้วยร่มเงา ของปาล์มชนิดต่าง ๆ และเสียงของน้าที่ไหลริน ปลาหลากสีที่ว่ายวนอยู่ในผืน น้า ซึ่งเป็นลักษณะอันสวยงามสมบูรณ์แบบจนเหมือนเป็นสวนแห่งสวรรค์ ในปัจจุบันชาวอิสลามรับรูปแบบสวนเปอร์เซียเข้ามาเป็นส่วน หนึ่งของวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็นสวนในบ้าน ในวัง หรือในสุเหร่า และคงลักษณะพื้นฐานเดียวกันไว้คือ สวนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ถูกล้อมไว้ด้วย อาคารหรือกาแพง แบ่งพื้นที่เป็นสี่ส่วนเรียกว่า "ชาฮา-บัก" (Chahar Bagh) มี น้าพุหรือบ่อน้าตั้งไว้ตรงกลาง จนอาจจะกล่าวได้ว่า รูปแบบของสวนอิสลาม เน้นความสาคัญของ "น้า" ซึ่งเป็นของขวัญจากสวรรค์และเป็นองค์ประกอบ สาคัญของสิ่งมีชีวิตมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง ซึ่งรูปแบบในสมัยโบราณก็ยังคงสืบ ทอดและเห็นกันได้ทั่วไปในการจัดสวนเปอร์เซีย ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของเปอร์เซีย สวนเปอร์เซียในประเทศอิหร่าน ANCIENT PERSIA