SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
การปฏิวัติอุตสาหกรรม ( Industrial Revolution) 
คือช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 1750 ถึง ค.ศ. 1850 เมอื่การเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม, 
การผลิต, การทำาเหมืองแร่, การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้ง 
ต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในขณะนั้น การปฏิวัติเริ่มต้นในสหราช 
อาณาจักร จากนั้นจงึแพร่ขยายไปยังยุโรปตะวันตก, อเมริกาเหนือ, ญี่ปุ่น จนขยายไป 
ทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมา 
การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำาคัญในประวัติศาสตร์โลก ซงึ่ส่งผลกระทบใน 
เกือบทุกแง่มุมของชีวิตประจำาวันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ทเี่ห็นเด่นชัดที่สุดคือการทรี่ายได้ 
และจำานวนประชากรโดยเฉลี่ยเริ่มที่จะขยายตัวอย่างยงั่ยืนในแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน 
ทำาให้สองร้อยปีหลังจาก ค.ศ. 1800 ค่าเฉลี่ยรายได้ต่อหัวของโลกขยายตัวมากกว่าสิบ 
เท่า ในขณะทจี่ำานวนประชากรขยายตัวมากกว่าหกเท่า 
ตัวแปรหลักที่ก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำานวยนี้ได้แก่ 
- ช่วงเวลาแห่งความสงบสุขและมั่นคงจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราช 
อาณาจักรสกอตแลนด์ 
- ไม่มีข้อกีดกันทางการค้าระหว่างอังกฤษและสกอตแลนด์ 
- หลักนิติรฐั (เคารพความศักดิ์สิทธิ์ของสัญญาการค้า) 
- ความเถรตรงของระบบกฎหมายซึ่งเปิดโอกาสให้มีการจัดตั้งบรรษัทมหาชน 
- แนวคิดการค้าเสรี(เศรษฐกิจทุนนิยม)
งานศิลปะ 
เนื่องจากเป็นยุคที่ รุ่งเรอื่งด้านอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจ 
งานศิลปะ จึงถูกแสดงออกในรูปแบบของภาพอาคาร 
เครื่องจักร และ การก่อสร้างมากกว่าจะเป็นภาพความงาม 
ของธรรมชาติ หรือศาสนา และ การเขียนภาพด้วยสี 
หรอือุปกรณ์ทใี่ช่มือในการวาดเริ่มน้อยลง มีการผลิตเครื่อง 
พิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์จึงเริ่มเข้ามามีบทบาทในการผลิตภาพ 
มากขนึ้
งานสถาปัตยกรรม 
เหล็กกล้าและเครื่องจักรเข้ามามีบทบาทในอุสาหากรรม การ 
ก่อสร้างมากขนึ้ มนุษย์เริ่มท้าทาย โดยการสร้างงานสถาปัตยกรรม 
ทใี่หญ่ขนึ้ สูงขึ้น วัสดุจากหินและไม้เริ่มเปลี่ยนกลายเป็นเหล็ก 
โลหะ ทแี่ข็งแกร่ง และ สร้างได้เสร็จเร็วยงิ่ขนึ้ อาคารส่วนใหญ่เป็น 
โรงงาน อุสาหกรรม และอนุสาวรีย์
Eiffel tower
ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี 
จากการเติบโตและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางอุสาหกรรมทำาให้ เกิดสิ่งประดิษฐ์ 
เพื่อความนวยความสะดวกขึ้นมากมาย 
สิ่งทอ - การปั่นฝ้ายโดยใช้เครื่องปั่นด้ายพลังนำ้า วอเทอร์เฟรม ของริชาร์ด อาร์คไรต์, 
เครื่องปั่นด้าย สปินนิงเจนนี ของเจมส์ ฮาร์กรีฟส์ และเครื่องปั่นด้ายสปินนิงมูล ของแซมมู 
เอล ครอมป์ตัน (สิ่งประดิษฐ์ผสมผสานระหว่างวอเทอร์เฟรมและสปินนิงเจนนี) สิ่ง 
ประดิษฐ์นี้ได้รับสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1769 ก่อนจะหลุดจากสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1783 จากจดุ 
นี้เองทตี่ามมาด้วยการสร้างโรงงานปั่นฝ้ายมากมาย เทคโนโลยีนี้ยังถูกนำาไปประยุกต์กับ 
การปั่นผ้าเนื้อละเอียดและเส้นด้ายในภายหลังเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการทำาผ้าลินินและสิ่ง 
ทอต่างๆ การปฏิวัติฝ้ายครั้งนี้เรมิ่ต้นขนึ้ในเมืองเดอร์บี ซงึ่ต่อมาเป็นทรีู่้จักกันในฉายาว่า 
"โรงไฟฟา้แห่งภาคเหนือ“ 
เครื่องจักรไอนำ้า - ถูกประดิษฐ์โดยเจมส์ วัตต์และได้รับสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1775 ซงึ่จุด 
ประสงค์หลักก็เพื่อสร้างพลังงานในการสูบนำ้าออกจากเหมือง แต่เมอื่ถึงยุค ค.ศ. 1780 
เป็นต้นไป มันก็ถูกประยุกต์ใช้กับการสร้างพลังงานให้แก่เครื่องจักรชนิดอื่นๆ ก่อให้เกิด 
การพัฒนาโรงงานกึ่งอัตโนมัติขึ้นอย่างรวดเร็วในระดับที่ก่อนหน้านี้ไม่ได้คาดการณ์ไว้ 
มาก่อน โดยเป็นครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์ทผีู่้คนไม่ต้องพึ่งพาแรงงานมนุษย์, 
แรงงานสัตว์, จากลมหรือจากนำ้าอีกต่อไป เครื่องจักรไอนำ้าจึงถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย 
เช่น ใช้สูบนำ้าออกจากเหมือง, ใช้ลากล้อเลื่อนบรรทุกถ่านหินขนึ้มายังผิวโลก, ใช้เป่าลม 
เข้าสู่เตาหลอมเหล็ก, ใช้บดดินในอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา และใช้สร้างพลังงานแก่ 
โรงงานทกุประเภท กล่าวได้ว่าเป็นเวลามากกว่าหนึ่งร้อยปีที่เครื่องจักรไอนำ้าครอง 
ตำาแหน่งราชาแห่งบรรดาอุตสาหกรรม
020 industrial revolution ขวัญพัฒน์

More Related Content

More from Aniwat Suyata

011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตรAniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภาAniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัตAniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya
003 maya003 maya
003 maya
 
002 ancient egypt
002 ancient egypt 002 ancient egypt
002 ancient egypt
 
001 persian
001 persian001 persian
001 persian
 

020 industrial revolution ขวัญพัฒน์

  • 1.
  • 2. การปฏิวัติอุตสาหกรรม ( Industrial Revolution) คือช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 1750 ถึง ค.ศ. 1850 เมอื่การเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม, การผลิต, การทำาเหมืองแร่, การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้ง ต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในขณะนั้น การปฏิวัติเริ่มต้นในสหราช อาณาจักร จากนั้นจงึแพร่ขยายไปยังยุโรปตะวันตก, อเมริกาเหนือ, ญี่ปุ่น จนขยายไป ทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมา การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำาคัญในประวัติศาสตร์โลก ซงึ่ส่งผลกระทบใน เกือบทุกแง่มุมของชีวิตประจำาวันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ทเี่ห็นเด่นชัดที่สุดคือการทรี่ายได้ และจำานวนประชากรโดยเฉลี่ยเริ่มที่จะขยายตัวอย่างยงั่ยืนในแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ทำาให้สองร้อยปีหลังจาก ค.ศ. 1800 ค่าเฉลี่ยรายได้ต่อหัวของโลกขยายตัวมากกว่าสิบ เท่า ในขณะทจี่ำานวนประชากรขยายตัวมากกว่าหกเท่า ตัวแปรหลักที่ก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำานวยนี้ได้แก่ - ช่วงเวลาแห่งความสงบสุขและมั่นคงจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราช อาณาจักรสกอตแลนด์ - ไม่มีข้อกีดกันทางการค้าระหว่างอังกฤษและสกอตแลนด์ - หลักนิติรฐั (เคารพความศักดิ์สิทธิ์ของสัญญาการค้า) - ความเถรตรงของระบบกฎหมายซึ่งเปิดโอกาสให้มีการจัดตั้งบรรษัทมหาชน - แนวคิดการค้าเสรี(เศรษฐกิจทุนนิยม)
  • 3. งานศิลปะ เนื่องจากเป็นยุคที่ รุ่งเรอื่งด้านอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจ งานศิลปะ จึงถูกแสดงออกในรูปแบบของภาพอาคาร เครื่องจักร และ การก่อสร้างมากกว่าจะเป็นภาพความงาม ของธรรมชาติ หรือศาสนา และ การเขียนภาพด้วยสี หรอือุปกรณ์ทใี่ช่มือในการวาดเริ่มน้อยลง มีการผลิตเครื่อง พิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์จึงเริ่มเข้ามามีบทบาทในการผลิตภาพ มากขนึ้
  • 4. งานสถาปัตยกรรม เหล็กกล้าและเครื่องจักรเข้ามามีบทบาทในอุสาหากรรม การ ก่อสร้างมากขนึ้ มนุษย์เริ่มท้าทาย โดยการสร้างงานสถาปัตยกรรม ทใี่หญ่ขนึ้ สูงขึ้น วัสดุจากหินและไม้เริ่มเปลี่ยนกลายเป็นเหล็ก โลหะ ทแี่ข็งแกร่ง และ สร้างได้เสร็จเร็วยงิ่ขนึ้ อาคารส่วนใหญ่เป็น โรงงาน อุสาหกรรม และอนุสาวรีย์
  • 6. ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี จากการเติบโตและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางอุสาหกรรมทำาให้ เกิดสิ่งประดิษฐ์ เพื่อความนวยความสะดวกขึ้นมากมาย สิ่งทอ - การปั่นฝ้ายโดยใช้เครื่องปั่นด้ายพลังนำ้า วอเทอร์เฟรม ของริชาร์ด อาร์คไรต์, เครื่องปั่นด้าย สปินนิงเจนนี ของเจมส์ ฮาร์กรีฟส์ และเครื่องปั่นด้ายสปินนิงมูล ของแซมมู เอล ครอมป์ตัน (สิ่งประดิษฐ์ผสมผสานระหว่างวอเทอร์เฟรมและสปินนิงเจนนี) สิ่ง ประดิษฐ์นี้ได้รับสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1769 ก่อนจะหลุดจากสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1783 จากจดุ นี้เองทตี่ามมาด้วยการสร้างโรงงานปั่นฝ้ายมากมาย เทคโนโลยีนี้ยังถูกนำาไปประยุกต์กับ การปั่นผ้าเนื้อละเอียดและเส้นด้ายในภายหลังเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการทำาผ้าลินินและสิ่ง ทอต่างๆ การปฏิวัติฝ้ายครั้งนี้เรมิ่ต้นขนึ้ในเมืองเดอร์บี ซงึ่ต่อมาเป็นทรีู่้จักกันในฉายาว่า "โรงไฟฟา้แห่งภาคเหนือ“ เครื่องจักรไอนำ้า - ถูกประดิษฐ์โดยเจมส์ วัตต์และได้รับสิทธิบัตรในปี ค.ศ. 1775 ซงึ่จุด ประสงค์หลักก็เพื่อสร้างพลังงานในการสูบนำ้าออกจากเหมือง แต่เมอื่ถึงยุค ค.ศ. 1780 เป็นต้นไป มันก็ถูกประยุกต์ใช้กับการสร้างพลังงานให้แก่เครื่องจักรชนิดอื่นๆ ก่อให้เกิด การพัฒนาโรงงานกึ่งอัตโนมัติขึ้นอย่างรวดเร็วในระดับที่ก่อนหน้านี้ไม่ได้คาดการณ์ไว้ มาก่อน โดยเป็นครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์ทผีู่้คนไม่ต้องพึ่งพาแรงงานมนุษย์, แรงงานสัตว์, จากลมหรือจากนำ้าอีกต่อไป เครื่องจักรไอนำ้าจึงถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย เช่น ใช้สูบนำ้าออกจากเหมือง, ใช้ลากล้อเลื่อนบรรทุกถ่านหินขนึ้มายังผิวโลก, ใช้เป่าลม เข้าสู่เตาหลอมเหล็ก, ใช้บดดินในอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา และใช้สร้างพลังงานแก่ โรงงานทกุประเภท กล่าวได้ว่าเป็นเวลามากกว่าหนึ่งร้อยปีที่เครื่องจักรไอนำ้าครอง ตำาแหน่งราชาแห่งบรรดาอุตสาหกรรม