SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
สถถาาปปััตยกรรมฟฟื้นื้นฟฟูศูศิลิลปววิทิทยยาา 
เเปป็น็นลลักักษณณะะสถถาาปปัตัตยกรรมตตะะววันันตกทเี่รริ่มิ่มขนึ้เเมมื่อื่อรราาวตต้้นครริสิสตต์์ศตวรรษทที่1ี่155 
แแลละะรรุ่งุ่งเเรรือืองไไปปจนถถึึงตต้้นครริสิสตต์์ศตวรรษททีี่่ 1177
เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่ เมื่อบางประเทศ 
ในทวีปยุโรปหันมาฟื้นฟูความสนใจเกี่ยวกับปรัชญา 
กรีก โรมันโบราณ และวัตถุนิยม 
สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเน้น 
ความมีความสมมาตร (symme try) ความได้สัดส่วน 
(pro po rtio n) การใช้รูปทรงเรขาคณิตและลักษณะที่ 
ปรากฏในสถาปัตยกรรมคลาสสิค เช่น สถาปัตยกรรม 
สมัยโรมัน การวางโครงสร้างจะเป็นไปอย่างมี 
แบบแผนไม่ว่าจะเป็นเสา หรือ คานรับเสา และการใช้ 
ซุ้มโค้งครึ่งวงกลม การใช้โดมมุข (niche) ซึ่งสิ่งต่างๆ 
เหล่านี้เข้ามาแทนที่จะเป็นแบบตรงกันข้ามกับรูปทรงที่ 
ซับซ้อนและไม่เป็นระเบียบ (irregular profile) ที่เป็นที่ 
นิยมของสิ่งก่อสร้างแบบกอธิค 
สถาปนิกคนแรกที่เริ่มแบบแผนของ 
สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟศูิลปวิทยาคือ ฟลีิปโป 
บรูเนลเลสกี หลังจากนั้นไม่นานลักษณะ 
สถาปัตยกรรมที่ว่านี้ก็แพร่หลายไปทั่วประเทศอิตาลี 
และต่อไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ รัสเซีย และประ
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
งงาานจจิติตรกรรม 
ชชีโอหรือ ตอมมาโซ มาซัชชีโอ (Masaccio) 
เป็นจิตรกรคนสำาคัญที่สุดของช่วง 
ต้นยุคเรเนอซองค์ 
- ใช้จุดนำาสายตาเพียงจุดเดียว (โดย 
ใช้สถาปัตยกรรมเข้าร่วม) 
- ใช้กรอบสามเหลี่ยม 
- จัดแสงให้ตัดกับความมืด 
เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคน 
สำาคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ 
ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทาง 
การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และ 
บานพับภาพ เขาละทิ้งวิธีการเขียน 
แบบกอธิค และการใช้การตกแต่ง 
อย่างเช่น จิตรกร เจนตีเล ดา ฟาบรี 
อาโน (Gentile da Fabriano) มาเป็น 
แบบที่เป็นธรรมชาติมากกว่าโดยใช้
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
งงาานสถถาาปปัตัตยกรรม 
เนลเลสกี (Fillippo di Ser Bruenellesghi) 1377-1446 
ภายนอกเป็นลวดลายหิน 
อ่อน ภายในไม่มีเสา ไม่มี 
คาน แต่ใช้วิธีวางอิฐซ้อนกัน 
และเพื่อเป็นเกียรติแก่ 
สถาปนิก ผู้ออกแบบทางการ 
ฟลอเรนซ์จึงห้ามมิให้มีการ 
สร้างอาคารใดๆที่สูงกว่าโดม 
แห่งนี้ด้วย 
นับเป็นมหาวิหารขนาดมหึมา 
และงดงามที่สุดแห่งหนึ่ง อายุ 
กว่า 800 ปี โดยใหญ่เป็นอันดับ 
สองของอิตาลี รองจากมหาวิ 
หารเซ็นต์ปีเตอร์ที่วาติกัน จุด 
เด่นของมหาวิหารแห่ง 
ฟลอเรนซ์คือโดมสีส้มขนาด 
ใหญ่ ที่ออกแบบโดย ฟิลิปโป 
บรูเนลเลสกี สถาปนิกและ
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
ภภูมูมปิปิัญัญญญาาแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
กึ่งกลางระหว่าง Lo cal กับ Glo bal 
นี่คือ ลักษณะเฉพาะของ Renaissance 
ที่เป็นรอยต่อ 
ระหว่างโลกยุคโบราณกับโลกยุคสมัย 
ใหม่ 
เทคโนโลยีการเดินเรือ การฟื้นตัวทาง 
เศรษฐกิจ ได้ทำาให้ผู้คนในสมัย 
Renaissance สามารถเดินทางได้กว้าง 
ไกลกว่าชาวกรีกและจีนในยุคนครรัฐ 
เมื่อ 2 พันกว่าปีก่อน 
ขณะเดียวกันเทคโนโลยีก็ยังไม่ก้าว 
ไกลเหมือนในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม 
จึงทำาให้ผู้คนในยุค Renaissance 
สามารถรักษาความเป็นท้องถิ่นไว้ได้ 
อย่างดียิ่ง 
จุดบรรจบของ Local และ Global จึง 
ทำาให้วัฒนธรรมและศิลปะของ 
Galileo Galilei Sir Isaac Newton 
นักวิทยาศาสตร์และ 
นักประดิษฐ์ชาวอิตาเลียน 
ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ 
ขึ้นมาเพื่อพิสูจน์ว่าโลกมี 
สัณฐานกลม 
นักวิทยาศาสตร์ชาว 
อังกฤษ 
ซึ่งค้นพบกฎของแรงโน้ม 
ถ่วง 
(Law of Gravitation)
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
มรดกททาางววัฒัฒนธรรม 
ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา 
วังเรเนอซองส์เป็นแบบอย่างที่ดีในการ 
สร้าง เป็นรูปแบบที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับการ 
สร้างโบสถ์ เพื่อให้ดูมีความน่าเชื่อถือ เช่น 
ธนาคาร ไนท์คลับ และอพาร์ทเม้นท์ 
สิ่งก่อสร้างอาคารที่พยายามจะสร้างความ 
ประทับใจอย่างเช่น ปารีส โอเปร่า มักจะ 
เลียนแบบสไตล์ของบาโรค 
สถาปนิกในโรงงาน อาคารสำานักงานและ 
ห้างสรรพสินค้ายังคงใช้รูปแบบของวังเร 
เนอซองส์ในศตวรรษที่ 20 สไตล์ 
เมดิเตอร์เรเนียนเพื่อฟื้นฟูให้กับเรเนอซองส์ 
อิตาเลียน 
อิทธิพลของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา 
ยังสามารถเห็นได้ในหลายรูปแบบที่ทันสมัย 
และกฎระเบียบของสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน 
Mary, Que e n o f the Wo rld Cathe dral
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา 
ภูมิทศัน์วัฒนธรรม (Cultural landscape ) 
คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดย 
กรรมาธิการมรดกโลกว่าเป็นพื้นที่เด่น 
ทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ “ ...เป็น 
ตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของ 
มนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้ 
เกิดจากการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนา 
ขึ้น ในแวดวงของมรดกโลกนานาชาติ 
(ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความ 
พยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ย 
ปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติ 
และวัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมาก 
ในโลกตะวันตก
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา 
กรรมาธิการมรดกโลกได้บ่งชี้และรับรอง 
ประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมไว้ 3 ประเภท 
ได้แก่ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่คัดจาก “แนวทาง 
ปฏิบัติของกรรมาธิการ” มีดังนี้ 
1. “ภูมิทัศน์ที่ได้รับการออกแบบและสรรค์ 
สร้างอย่างจงในโดยมนุษย์” 
2. “ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการมาในเชิง 
อินทรีย์” (organically evolved) ซึ่งอาจเป็น 
“ภูมิทัศน์แผ่นดินร้าง” (หรือ 
ซากดึกดำาบรรพ์) หรือ “ภูมิทัศน์ต่อเนื่อง” 
(continuing landscape) 
3. “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเชิงเชื่อมโยง” 
(associative cultural landscape) ที่อาจมี 
คุณค่าทาง “ศาสนา ศิลปะหรือที่เชื่อมโยง 
ทางวัฒนธรรมกับองค์ประกอบทาง
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา 
แนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” 
มีต้นตอจากภาพเขียนภูมิทัศน์แบบประเพณี 
ของยุโรป นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2050 
เป็นต้นมา ศิลปินยุโรปหลายคนได้เขียน 
ภาพภูมิทัศน์แบบตามใจผู้คน โดยย่อตัว 
คนในภาพเขียนให้เล็กลงและจัดกลุ่มให้อยู่ 
ในภูมิทัศน์ประเภทต่างๆ ที่กว้างใหญ่ 
คำาว่า “ภูมิทัศน์” ในตัวของมันเองได้ผนวก 
“ภูมิ” หรือผืนแผ่นดิน ซึ่งมีต้นตอมาจากคำา 
ว่าแผ่นดินในภาษาเยอรมันกับคำากริยา ซึ่งมี 
ความหมายว่า “แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูป” 
(shaped lands) และในขณะนั้นถือว่าเป็นผืน 
แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูปด้วยแรงธรรมชาติ และ 
รายละเอียดของ “แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูป” 
(landshaffen -shaped lands) ได้กลายเป็น
RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 
((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) 
ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม 
ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา 
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของซินตรา โปรตุเกส 
(พ.ศ. 2538 ) 
ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 
2445 เป็นต้นมา) ซินตรา ได้กลายเป็น 
ศูนย์กลางสถาปัตยกรรมแบบโรแมนติกของ 
ยุโรป พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ ที่ 2 ได้เปลี่ยน 
วิหารที่ปรักหักพังให้กลายเป็นปราสาทที่มี 
ลักษณะละเอียดอ่อนหลายสไตล์โดยมีองค์ 
ประกอบแบบโกธิค อียิปต์ มัวร์และเรนาซอง 
ส์ รวมทั้งการสรรค์สร้างอุทยานที่กลมกลืน 
กับพืชพรรณและต้นไม้ท้องถิ่นกับต้นไม้ต่าง 
ถิ่นที่นำาเข้า มีที่พักอาศัยที่สวยงามอีกมากที่ 
สร้างในแนวเดียวกันที่ล้อมรอบเซอร์ราวด์ 
อยู่ การสร้างอย่างผสมผสานที่กลมกลืนกับ 
อุทยานและสวนนับเป็นเอกลักษณ์ที่มีความ

More Related Content

More from Aniwat Suyata

016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์Aniwat Suyata
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพรAniwat Suyata
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธAniwat Suyata
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตรAniwat Suyata
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์Aniwat Suyata
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์Aniwat Suyata
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภาAniwat Suyata
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์Aniwat Suyata
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัตAniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณีAniwat Suyata
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพลAniwat Suyata
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์Aniwat Suyata
 

More from Aniwat Suyata (20)

016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์016 baroque ธีรศักดิ์
016 baroque ธีรศักดิ์
 
014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร014 shinden ชัชฎาพร
014 shinden ชัชฎาพร
 
011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ011 gothic คฑาวุธ
011 gothic คฑาวุธ
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์008 roman empire วริทธินันท์
008 roman empire วริทธินันท์
 
010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์010 romanesque ปิยะพัทธ์
010 romanesque ปิยะพัทธ์
 
007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา007 ancient greek architecture ศศิประภา
007 ancient greek architecture ศศิประภา
 
006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์006 hindu ทัศนีย์
006 hindu ทัศนีย์
 
005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต005 aztec ชัยทัต
005 aztec ชัยทัต
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya วารุณี
003 maya วารุณี003 maya วารุณี
003 maya วารุณี
 
002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล002 ancient egypt กัมพล
002 ancient egypt กัมพล
 
001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์001 persia ณรงค์ศักดิ์
001 persia ณรงค์ศักดิ์
 
003 maya
003 maya003 maya
003 maya
 

015 renaissance c.1425 1600 อนันญา

  • 1. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) สถถาาปปััตยกรรมฟฟื้นื้นฟฟูศูศิลิลปววิทิทยยาา เเปป็น็นลลักักษณณะะสถถาาปปัตัตยกรรมตตะะววันันตกทเี่รริ่มิ่มขนึ้เเมมื่อื่อรราาวตต้้นครริสิสตต์์ศตวรรษทที่1ี่155 แแลละะรรุ่งุ่งเเรรือืองไไปปจนถถึึงตต้้นครริสิสตต์์ศตวรรษททีี่่ 1177
  • 2. เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่ เมื่อบางประเทศ ในทวีปยุโรปหันมาฟื้นฟูความสนใจเกี่ยวกับปรัชญา กรีก โรมันโบราณ และวัตถุนิยม สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเน้น ความมีความสมมาตร (symme try) ความได้สัดส่วน (pro po rtio n) การใช้รูปทรงเรขาคณิตและลักษณะที่ ปรากฏในสถาปัตยกรรมคลาสสิค เช่น สถาปัตยกรรม สมัยโรมัน การวางโครงสร้างจะเป็นไปอย่างมี แบบแผนไม่ว่าจะเป็นเสา หรือ คานรับเสา และการใช้ ซุ้มโค้งครึ่งวงกลม การใช้โดมมุข (niche) ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้เข้ามาแทนที่จะเป็นแบบตรงกันข้ามกับรูปทรงที่ ซับซ้อนและไม่เป็นระเบียบ (irregular profile) ที่เป็นที่ นิยมของสิ่งก่อสร้างแบบกอธิค สถาปนิกคนแรกที่เริ่มแบบแผนของ สถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟศูิลปวิทยาคือ ฟลีิปโป บรูเนลเลสกี หลังจากนั้นไม่นานลักษณะ สถาปัตยกรรมที่ว่านี้ก็แพร่หลายไปทั่วประเทศอิตาลี และต่อไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ รัสเซีย และประ
  • 3. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) งงาานจจิติตรกรรม ชชีโอหรือ ตอมมาโซ มาซัชชีโอ (Masaccio) เป็นจิตรกรคนสำาคัญที่สุดของช่วง ต้นยุคเรเนอซองค์ - ใช้จุดนำาสายตาเพียงจุดเดียว (โดย ใช้สถาปัตยกรรมเข้าร่วม) - ใช้กรอบสามเหลี่ยม - จัดแสงให้ตัดกับความมืด เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคน สำาคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทาง การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และ บานพับภาพ เขาละทิ้งวิธีการเขียน แบบกอธิค และการใช้การตกแต่ง อย่างเช่น จิตรกร เจนตีเล ดา ฟาบรี อาโน (Gentile da Fabriano) มาเป็น แบบที่เป็นธรรมชาติมากกว่าโดยใช้
  • 4. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) งงาานสถถาาปปัตัตยกรรม เนลเลสกี (Fillippo di Ser Bruenellesghi) 1377-1446 ภายนอกเป็นลวดลายหิน อ่อน ภายในไม่มีเสา ไม่มี คาน แต่ใช้วิธีวางอิฐซ้อนกัน และเพื่อเป็นเกียรติแก่ สถาปนิก ผู้ออกแบบทางการ ฟลอเรนซ์จึงห้ามมิให้มีการ สร้างอาคารใดๆที่สูงกว่าโดม แห่งนี้ด้วย นับเป็นมหาวิหารขนาดมหึมา และงดงามที่สุดแห่งหนึ่ง อายุ กว่า 800 ปี โดยใหญ่เป็นอันดับ สองของอิตาลี รองจากมหาวิ หารเซ็นต์ปีเตอร์ที่วาติกัน จุด เด่นของมหาวิหารแห่ง ฟลอเรนซ์คือโดมสีส้มขนาด ใหญ่ ที่ออกแบบโดย ฟิลิปโป บรูเนลเลสกี สถาปนิกและ
  • 5. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) ภภูมูมปิปิัญัญญญาาแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี กึ่งกลางระหว่าง Lo cal กับ Glo bal นี่คือ ลักษณะเฉพาะของ Renaissance ที่เป็นรอยต่อ ระหว่างโลกยุคโบราณกับโลกยุคสมัย ใหม่ เทคโนโลยีการเดินเรือ การฟื้นตัวทาง เศรษฐกิจ ได้ทำาให้ผู้คนในสมัย Renaissance สามารถเดินทางได้กว้าง ไกลกว่าชาวกรีกและจีนในยุคนครรัฐ เมื่อ 2 พันกว่าปีก่อน ขณะเดียวกันเทคโนโลยีก็ยังไม่ก้าว ไกลเหมือนในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม จึงทำาให้ผู้คนในยุค Renaissance สามารถรักษาความเป็นท้องถิ่นไว้ได้ อย่างดียิ่ง จุดบรรจบของ Local และ Global จึง ทำาให้วัฒนธรรมและศิลปะของ Galileo Galilei Sir Isaac Newton นักวิทยาศาสตร์และ นักประดิษฐ์ชาวอิตาเลียน ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ ขึ้นมาเพื่อพิสูจน์ว่าโลกมี สัณฐานกลม นักวิทยาศาสตร์ชาว อังกฤษ ซึ่งค้นพบกฎของแรงโน้ม ถ่วง (Law of Gravitation)
  • 6. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) มรดกททาางววัฒัฒนธรรม ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา วังเรเนอซองส์เป็นแบบอย่างที่ดีในการ สร้าง เป็นรูปแบบที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับการ สร้างโบสถ์ เพื่อให้ดูมีความน่าเชื่อถือ เช่น ธนาคาร ไนท์คลับ และอพาร์ทเม้นท์ สิ่งก่อสร้างอาคารที่พยายามจะสร้างความ ประทับใจอย่างเช่น ปารีส โอเปร่า มักจะ เลียนแบบสไตล์ของบาโรค สถาปนิกในโรงงาน อาคารสำานักงานและ ห้างสรรพสินค้ายังคงใช้รูปแบบของวังเร เนอซองส์ในศตวรรษที่ 20 สไตล์ เมดิเตอร์เรเนียนเพื่อฟื้นฟูให้กับเรเนอซองส์ อิตาเลียน อิทธิพลของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา ยังสามารถเห็นได้ในหลายรูปแบบที่ทันสมัย และกฎระเบียบของสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน Mary, Que e n o f the Wo rld Cathe dral
  • 7. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา ภูมิทศัน์วัฒนธรรม (Cultural landscape ) คือพื้นที่ที่ได้รับการนิยามไว้โดย กรรมาธิการมรดกโลกว่าเป็นพื้นที่เด่น ทางภูมิศาสตร์ หรือทรัพย์สินที่ “ ...เป็น ตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของ มนุษย์” ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ แนวคิดนี้ เกิดจากการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนา ขึ้น ในแวดวงของมรดกโลกนานาชาติ (ยูเนสโก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความ พยายามระหว่างประเทศที่จะไกล่เกลี่ย ปรองดอง “...คติ “ทวินิยมแห่งธรรมชาติ และวัฒนธรรม” ที่โด่งดังแพร่หลายมาก ในโลกตะวันตก
  • 8. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา กรรมาธิการมรดกโลกได้บ่งชี้และรับรอง ประเภทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมไว้ 3 ประเภท ได้แก่ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่คัดจาก “แนวทาง ปฏิบัติของกรรมาธิการ” มีดังนี้ 1. “ภูมิทัศน์ที่ได้รับการออกแบบและสรรค์ สร้างอย่างจงในโดยมนุษย์” 2. “ภูมิทัศน์ที่มีวิวัฒนาการมาในเชิง อินทรีย์” (organically evolved) ซึ่งอาจเป็น “ภูมิทัศน์แผ่นดินร้าง” (หรือ ซากดึกดำาบรรพ์) หรือ “ภูมิทัศน์ต่อเนื่อง” (continuing landscape) 3. “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเชิงเชื่อมโยง” (associative cultural landscape) ที่อาจมี คุณค่าทาง “ศาสนา ศิลปะหรือที่เชื่อมโยง ทางวัฒนธรรมกับองค์ประกอบทาง
  • 9. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา แนวความคิดเกี่ยวกับ “ภูมิทัศน์วัฒนธรรม” มีต้นตอจากภาพเขียนภูมิทัศน์แบบประเพณี ของยุโรป นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2050 เป็นต้นมา ศิลปินยุโรปหลายคนได้เขียน ภาพภูมิทัศน์แบบตามใจผู้คน โดยย่อตัว คนในภาพเขียนให้เล็กลงและจัดกลุ่มให้อยู่ ในภูมิทัศน์ประเภทต่างๆ ที่กว้างใหญ่ คำาว่า “ภูมิทัศน์” ในตัวของมันเองได้ผนวก “ภูมิ” หรือผืนแผ่นดิน ซึ่งมีต้นตอมาจากคำา ว่าแผ่นดินในภาษาเยอรมันกับคำากริยา ซึ่งมี ความหมายว่า “แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูป” (shaped lands) และในขณะนั้นถือว่าเป็นผืน แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูปด้วยแรงธรรมชาติ และ รายละเอียดของ “แผ่นดินที่ถูกขึ้นรูป” (landshaffen -shaped lands) ได้กลายเป็น
  • 10. RReennaaiissssaannccee c c.1.1442255--11660000 ((EEuurrooppee, ,A Ammeerriiccaann c coolloonniieess)) ภภูมูมทิทิัศัศนน์ท์ทาางววัฒัฒนธรรม ถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของซินตรา โปรตุเกส (พ.ศ. 2538 ) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2445 เป็นต้นมา) ซินตรา ได้กลายเป็น ศูนย์กลางสถาปัตยกรรมแบบโรแมนติกของ ยุโรป พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ ที่ 2 ได้เปลี่ยน วิหารที่ปรักหักพังให้กลายเป็นปราสาทที่มี ลักษณะละเอียดอ่อนหลายสไตล์โดยมีองค์ ประกอบแบบโกธิค อียิปต์ มัวร์และเรนาซอง ส์ รวมทั้งการสรรค์สร้างอุทยานที่กลมกลืน กับพืชพรรณและต้นไม้ท้องถิ่นกับต้นไม้ต่าง ถิ่นที่นำาเข้า มีที่พักอาศัยที่สวยงามอีกมากที่ สร้างในแนวเดียวกันที่ล้อมรอบเซอร์ราวด์ อยู่ การสร้างอย่างผสมผสานที่กลมกลืนกับ อุทยานและสวนนับเป็นเอกลักษณ์ที่มีความ