SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
ที่ตั้งและสภาพภูมิปัจจัย 
• ที่ตั้งในอดีต 
 
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้้าไนล์ ประเทศอียิปต์ 
อยู่บนสองฟากฝั่งแม่น้้าไนล์ มีพรมแดนธรรมชาติ 
 
ทิศเหนือคือทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
 
ทิศตะวันออกคือทะเลแดง 
 
ทิศใต้คือประเทศนูเบียหรือซูดานในปัจจุบัน 
 
ทิศตะวันตกคือทะเลทรายซะฮาราอียิปต์โบราณประกอบด้วยบริเวณ 
สองแห่งคืออียิปต์บน (Upper Egypt) และอียิปต์ล่าง (Lower Egypt)
• อียิปต์บน(Upper Egypt) อยู่ทางทิศใต้บริเวณที่แม่น้้าไหลผ่านภูเขา หุบเขา 
เนินเขาที่แห้งแล้งมีเนินทรายสีแดงและสีเหลืองเป็นตอนๆ 
• อียิปต์ล่าง (Lower Egypt) อยู่บริเวณที่แม่น้้าแตกสาขาเป็นรูปพัด ไหล 
ลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณนี้ชาวกรีกโบราณเรียกว่า เดลต้า
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมลุ่มน้าไนล์ 
 
2.1 ที่ตั้ง 
2.1.1 เนื่องจากหิมะละลายในเขตที่ราบสูงเอธิโอเปีย ท้าให้ 
บริเวณแม่น้้าไนล์มีดินตะกอนมาทับถมจึงเป็นพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ 
2.1.2 มีความได้เปรียบทางธรรมชาติ เนื่องจากประเทศอียิปต์ 
เป็นดินแดนที่ล้อมรอบด้วยทะเลทรายท้าให้มีปราการธรรมชาติในการ 
ป้องกันศัตรูภายนอก
 
2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ 
แม้อียิปต์จะแห้งแล้ง แต่สองฝั่งแม่น้้าไนล์ก็ประกอบด้วย 
หินแกรนิตและหินทราย ใช้ก่อสร้างและพัฒนาความเจริญรุ่งเรือง 
ด้านสถาปัตยกรรม วัสดุเหล่านี้มีความแข็งแรงคงทนแข็งแรงและ 
ช่วยรักษามรดกทางด้านอารยธรรมของอียิปต์ให้ปรากฏแก่ชาวโลกมา 
จนกระทั่งปัจจุบัน
 
2.3 ระบบการปกครอง 
 
เคารพนับถือกษัตริย์ฟาโรห์ดุจเทพเจ้าองค์หนึ่ง จึงมีอ้านาจในการ 
ปกครองและบริหารอย่างเต็มที่ทั้งด้านการเมืองและศาสนา 
 
ขุนนางเป็นผู้ช่วยในการปกครอง 
 
พระเป็นผู้ช่วยด้านศาสนา 
 
ซึ่งการที่พาโรห์มีอ้านาจเด็ดขาดท้าให้อียิปต์สามารถพัฒนาอารย 
ธรรมของตนได้อย่างเต็มที่
 
2.4 ภูมิปัญญาของชาวอียิปต์ 
ชาวอียิปต์สามารถคิดค้นเทคโนโลยีและวิทยาการความเจริญด้าน 
ต่างๆเพื่อตอบสนองการด้าเนินชีวิต ความเชื่อทางศาสนาและการสร้าง 
ความเจริญรุ่งเรืองให้แก่อียิปต์ได้ส่งเสริมความเจริญในด้านการก่อสร้าง 
และสถาปัตยกรรม เป็นต้น เช่น 
 
ความร้ทู างคณิตศาสตร์ 
 
เรขาคณิต 
 
ฟิสิกส์
อียิปต์บทปฐมกาล 
( จุดเริ่มต้นของอารยธรรมอียิปต์ )
สมัยก่อนราชวงศ์ 
เผ่าชนที่มาอาศัย รวมกันตามริมฝั่งแม่น้้าไนล์ แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เรียกว่า 
โนมส์ ในแต่ละโนมส์จะปกครองโดยกลุ่มนักบวชซึ่งพัฒนามาจากหมอผีในสมัย 
หินใหม่ 
ต่อมาความจ้าเป็นในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ท้าให้ต้องมีการจัดระบบ 
ชลประทานขึ้น หัวหน้ากรรมกรผู้ควบคุมการ ชลประทานเหล่านี้ได้ถูกยกย่องให้ 
เป็นหัวหน้านักรบของโนมส์ เมื่อขนาดของชุมชนใหญ่ขึ้นเรื่อยๆก็มีการพัฒนาเป็น 
นครรัฐขนาดเล็กกระจัดกระจายตาม ริมฝั่งแม่น้้าดินแดนของแม่น้้าไนล์ถูกแบ่ง 
ตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง 
ในราวสี่พันปีก่อนคริสตกาลชาวอียิปต์เริ่มพัฒนารูปแบบอักษรจากรูปภาพ 
และกลายเป็นอักษรเฮียโรกลิฟฟิคในเวลาต่อมา
กำเนิดแห่งอำณำจักร 
• ในราว 3200ปีก่อนคริสตกาล ราชาแมงป่อง (Scorpion king) ผู้ครอง 
นครธีส (This) ได้เข้ายึดครองนครรัฐต่างๆในอียิปต์บนและตั้งตนเป็นฟาโรห์ 
แห่งอาณาจักรบน ปรารถนาจะรวมอียิปต์เข้าด้วยกันแต่พระองค์สิ้นพระชนม์ 
เสียก่อน 
• สมัยของ ฟาโรห์เมเนส(Menese)พระองค์สามารถผนวกทั้งสองอาณาจักรเข้า 
ด้วยกันได้ส้าเร็จและสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นฟาโรห์พระองค์แรกของอียิปต์ 
โดยตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟิส (Memphis) ซึ่งอยู่ตอนกลางของลุ่มน้้าไนล์ 
ฟาโรห์เมเนสเป็นฟาโรห์องค์แรกแห่งราชวงศ์ที่หนึ่งของอียิปต์โบราณ
สมัยราชวงศ์ต้น (Early Dynasty or Archaic Period) 
ราชวงศ์ที่ 1-2 (3100-2686 B.C.) 
 
เมเนส ประมุขแห่งอียิปต์บนได้รวมดินแดนทั้งสองเข้าด้วยกัน และ 
สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์ที่ 1 และตั้งเมืองหลวงอยู่ที่ 
เมืองเมมฟิส(Memphis) 
 
ได้มีการจัดตั้งระบบชลประทาน 
 
อียิปต์ได้พัฒนาระบบตัวเขียนที่ เรียกว่า อักษรฮีโรกลิฟิก 
(Hieroglypjic) หรือสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีลักษณะเป็นอักษรภาพที่จารึก 
บนแผ่นศิลาหรือฝาผนังขนาดใหญ่ ต่อมาได้พัฒนาให้เขียนง่ายขึ้นแต่ก็ยังคง 
เป็นอักษรภาพอยู่ เรียกว่า อักษรเฮียราติก (hieratic) โดยเขียนลงบน 
กระดาษปาปิรุส (papyrus )
สมัยราชอาณาจักรเก่า (The Old Kingdom) 
ราชวงศ์ที่ 3-6 (2686-2155 B.C.) 
 
สมัยนี้บางครั้งก็ถูกเรียกว่า สมัยพีระมิด (The Pyramid Age) ความ 
เชื่อว่าฟาโรห์คือเทวะหรือพระเจ้า จึงท้าให้เกิดวัฒนธรรมการเชิดชูฟาโรห์และ 
พระราชวงศ์ โดยการสร้างพีระมิด เพื่อเก็บพระศพ หรือ มัมมี่ และเกิดการ 
สร้างพีระมิดขึ้นเป็นครั้งแรก 
 
พีระมิดแห่งแรกสร้างขึ้นในสมัยกษัตริย์โจเซอร์แห่งราชวงศ์ที่ 3 
 
มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ใน 
ราชวงศ์ที่ 4 ประจวบกับกษัตริย์มีอ้านาจในการปกครองเป็นผลให้เกิดพีระมิด 
ใหญ่ที่สุดขึ้น พีระมิดนี้เป็นของพีระมิดกษัตริย์คูฟุ (Khufu) หรือ คีออปส์ 
(Cheops) อยู่ที่เมือง กีซา (Giza)
สมัยอาณาจักรกลาง 
(The Middle Kingdom 2052-1786 B.C.) 
 
หลังจากอาณาจักรเก่าสิ้นสุดลงเกิดความระส่้าระสาย 
 
กษัตริย์ราชวงศ์ที่ 12 รวมอียิปต์เป็นปึกแผ่นย้ายราชธานีมาอยู่ที่เมือง 
ธิบส์ ทางอียิปต์บน 
 
ในสมัยราชวงศ์ที่ 12 อียิปต์เริ่มกลายเป็นชาติมหาอ้านาจ และสามารถตี 
อาณาจักรนูเบียได้ 
 
มีความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมและท้าค้าขายกับเมืองอาบิ 
ดอส (Abydos) เกาะครีต (Crete) นูเบีย (Nubia) อาระเบีย (Arabia) และ 
บาบิโลเนีย(Babylonia) วรรณคดีและศิลปกรรมก็เจริญขึ้นมาก 
 
มีการท้าเหมืองแร่และอู่ต่อเรือ นอกจากนี้มีการสร้างพีระมิดขนาดใหญ่ 
ขึ้นหลายแห่งการเพาะปลูกอุดมสมบูรณ์ อ้านาจของฟาโรห์กลับมายิ่งใหญ่และ 
มั่งคั่งอีกครั้งหนึ่ง
สมัยอาณาจักรใหม่หรือสมัยจักรวรรดิ 
(The New Kingdom or the Empire Age 
1554-1090 B.C.) 
 
ยุคนี้เป็นยุคที่อียิปต์รุ่งเรืองที่สุด 
 
ยุคของฟาโรห์ทุตโมซิสที่ 1 (Thutmosis) แห่งราชวงศ์ที่ 18 ในยุคนี้ 
เมืองหลวงของอียิปต์คือนครธีบส์(Thebes) และฝั่งตรงข้ามของเมือง 
หลวงคือ หุบเขาแห่งกษัตริย์อันเป็นสถานที่ฝังพระศพฟาโรห์ 
 
ชาวอียิปต์ได้ยกเลิกประเพณีการสร้างพีระมิดไปตั้งแต่ตอนปลาย ของ 
อาณาจักรเก่าเนื่องจากสิ้น เปลืองวัตถุดิบและหันมาใช้วิธีเจาะหน้าผาเป็น 
สุสานแทน
 
ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของรามซีสที่ 2 แห่งราชวงศ์ที่ 21 ปรากฎว่า 
จักรวรรดิโบราณก็เริ่มเสื่อมลงเป็นล้าดับเพราะกษัตริย์ไร้ความสามารถในการ 
ปกครองและการรบ ขุนนางก่อความวุ่นวายแย่งชิงอ้านาจกันพระขึ้นปกครอง 
อียิปต์
สมัยเสื่อมอานาจ 
(The Decline) 
 
จักรวรรดิอียิปต์เสื่อมอ้านาจตั้งแต่ประมาณปี 1100 ก่อนคริสต์ศักราช 
ในสมัยนี้ชาวต่างชาติ 
 
พวกแอลซีเรียน เปอร์เซียจากเอเชียรวมทั้งชนชาติในแอฟริกาได้เข้า 
รุกรานอียิปต์และปกครองบางส่วนของอียิปต์ 
 
ฟาโรห์ของอียิปต์ก็ยังคงปกครองดินแดนของตนต่อมาจนถึงประมาณปี 
300 ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อาณาจักรอียิปต์เสื่อมสลายและถูก 
ชาวต่างชาติยึดครอง 
 
กลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 อียิปต์หันไปนับถือ ศาสนาอิสลาม
ผลงานที่สาคัญของการสร้างสรรค์อารยธรรม
ด้านอักษรศาสตร์ 
• อักษรภำพเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic)
ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 
• การทาปฏิทิน
• คณิตศาสตร์ 
ค้นพบ ¶ ( Pie) มีค่ำเท่ำกับ 3.14 
กระดาษปาปิรุส
ด้านวรรณกรรม 
• 1. วรรณกรรมเกี่ยวเนื่องกับศาสนา ได้แก่คัมภีร์ผู้ตาย คมัภีร์นีมุ้่ง 
แสดงต่อเทพเจ้ำโอซิริส เพื่อกำรเข้ำสู่โลกหน้ำที่อุดมสมบูรณ์และสุข 
สบำยเช่นอียิปต์โบรำณ นอกจำกนียั้งมีบทสรรเสริญของพระเจ้ำอเนโฮ 
เต็ปที่ 4 ต่อเทพเจ้ำอะตัน เป็นต้น
• 2. วรรณกรรมไม่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ได้แก่งำนสลักบันทึก 
เหตุกำรณ์ตำมเสำหินหรือผนังปิรำมิด เป็นต้น
ด้านศิลปกรรม 
Step Pyramid of Djoser พีระมิดโจเซอร์ (Djoser's Pyramid) หรือ พีระมิด 
แห่งซักการา (The Pyramid of Saqqara) * พีระมิดขั้นบันได
The Red Pyramid พีระมิดแดง (Red Pyramid) สร้างโดยฟาโรห์สนอฟรู
The Bent Pyramid พีระมิดหักงอ (Bent Pyramid) หรือบำงครัง้เรียกกัน 
สัน้ๆ ว่ำ พีระมิดเบีย้ว สร้ำงขึน้โดย ฟำโรห์สนอฟรู (Snofru)
The Pyramids of Giza
สฟิงส์( Sphinx) or ( The Great sphinx of Giza )
ด้านความเชื่อ และศาสนา 
• คัมภีร์มรณะ (Book of the Dead) หรือ The Chapters of Coming - 
Forth - By - Day
• ควำมเชื่อในเรื่องเทพเจ้ำ
ด้านการแพทย์ 
• มัมมี่
ขั้นตอนการทา มัมมี่ 
• ขัน้ตอนที่1 
ขัน้ตอนที่ 2
• ขัน้ตอนที่ 3 
• ขัน้ตอนที่ 4
• ขัน้ตอนที่ 5 
• ขัน้ตอนที่ 6
• ขัน้ตอนที่7 
• ขัน้ตอนที่ 8
• ขัน้ตอนที่ 9 ขัน้ตอนที่ 10
• ขัน้ตอนที่ 11 ขัน้ตอนที่ 12 ขัน้ตอนที่ 13

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilizationtimtubtimmm
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์Titinant Chaiongkarn
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียtimtubtimmm
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่Lilrat Witsawachatkun
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 

What's hot (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อเมริกาเหนือ2
อเมริกาเหนือ2อเมริกาเหนือ2
อเมริกาเหนือ2
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 

อารยธรรมอียิปต์

  • 1.
  • 2. ที่ตั้งและสภาพภูมิปัจจัย • ที่ตั้งในอดีต  บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้้าไนล์ ประเทศอียิปต์ อยู่บนสองฟากฝั่งแม่น้้าไนล์ มีพรมแดนธรรมชาติ  ทิศเหนือคือทะเลเมดิเตอร์เรเนียน  ทิศตะวันออกคือทะเลแดง  ทิศใต้คือประเทศนูเบียหรือซูดานในปัจจุบัน  ทิศตะวันตกคือทะเลทรายซะฮาราอียิปต์โบราณประกอบด้วยบริเวณ สองแห่งคืออียิปต์บน (Upper Egypt) และอียิปต์ล่าง (Lower Egypt)
  • 3. • อียิปต์บน(Upper Egypt) อยู่ทางทิศใต้บริเวณที่แม่น้้าไหลผ่านภูเขา หุบเขา เนินเขาที่แห้งแล้งมีเนินทรายสีแดงและสีเหลืองเป็นตอนๆ • อียิปต์ล่าง (Lower Egypt) อยู่บริเวณที่แม่น้้าแตกสาขาเป็นรูปพัด ไหล ลงสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณนี้ชาวกรีกโบราณเรียกว่า เดลต้า
  • 4. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดอารยธรรมลุ่มน้าไนล์  2.1 ที่ตั้ง 2.1.1 เนื่องจากหิมะละลายในเขตที่ราบสูงเอธิโอเปีย ท้าให้ บริเวณแม่น้้าไนล์มีดินตะกอนมาทับถมจึงเป็นพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ 2.1.2 มีความได้เปรียบทางธรรมชาติ เนื่องจากประเทศอียิปต์ เป็นดินแดนที่ล้อมรอบด้วยทะเลทรายท้าให้มีปราการธรรมชาติในการ ป้องกันศัตรูภายนอก
  • 5.  2.2 ทรัพยากรธรรมชาติ แม้อียิปต์จะแห้งแล้ง แต่สองฝั่งแม่น้้าไนล์ก็ประกอบด้วย หินแกรนิตและหินทราย ใช้ก่อสร้างและพัฒนาความเจริญรุ่งเรือง ด้านสถาปัตยกรรม วัสดุเหล่านี้มีความแข็งแรงคงทนแข็งแรงและ ช่วยรักษามรดกทางด้านอารยธรรมของอียิปต์ให้ปรากฏแก่ชาวโลกมา จนกระทั่งปัจจุบัน
  • 6.  2.3 ระบบการปกครอง  เคารพนับถือกษัตริย์ฟาโรห์ดุจเทพเจ้าองค์หนึ่ง จึงมีอ้านาจในการ ปกครองและบริหารอย่างเต็มที่ทั้งด้านการเมืองและศาสนา  ขุนนางเป็นผู้ช่วยในการปกครอง  พระเป็นผู้ช่วยด้านศาสนา  ซึ่งการที่พาโรห์มีอ้านาจเด็ดขาดท้าให้อียิปต์สามารถพัฒนาอารย ธรรมของตนได้อย่างเต็มที่
  • 7.  2.4 ภูมิปัญญาของชาวอียิปต์ ชาวอียิปต์สามารถคิดค้นเทคโนโลยีและวิทยาการความเจริญด้าน ต่างๆเพื่อตอบสนองการด้าเนินชีวิต ความเชื่อทางศาสนาและการสร้าง ความเจริญรุ่งเรืองให้แก่อียิปต์ได้ส่งเสริมความเจริญในด้านการก่อสร้าง และสถาปัตยกรรม เป็นต้น เช่น  ความร้ทู างคณิตศาสตร์  เรขาคณิต  ฟิสิกส์
  • 9. สมัยก่อนราชวงศ์ เผ่าชนที่มาอาศัย รวมกันตามริมฝั่งแม่น้้าไนล์ แบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เรียกว่า โนมส์ ในแต่ละโนมส์จะปกครองโดยกลุ่มนักบวชซึ่งพัฒนามาจากหมอผีในสมัย หินใหม่ ต่อมาความจ้าเป็นในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ท้าให้ต้องมีการจัดระบบ ชลประทานขึ้น หัวหน้ากรรมกรผู้ควบคุมการ ชลประทานเหล่านี้ได้ถูกยกย่องให้ เป็นหัวหน้านักรบของโนมส์ เมื่อขนาดของชุมชนใหญ่ขึ้นเรื่อยๆก็มีการพัฒนาเป็น นครรัฐขนาดเล็กกระจัดกระจายตาม ริมฝั่งแม่น้้าดินแดนของแม่น้้าไนล์ถูกแบ่ง ตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง ในราวสี่พันปีก่อนคริสตกาลชาวอียิปต์เริ่มพัฒนารูปแบบอักษรจากรูปภาพ และกลายเป็นอักษรเฮียโรกลิฟฟิคในเวลาต่อมา
  • 10. กำเนิดแห่งอำณำจักร • ในราว 3200ปีก่อนคริสตกาล ราชาแมงป่อง (Scorpion king) ผู้ครอง นครธีส (This) ได้เข้ายึดครองนครรัฐต่างๆในอียิปต์บนและตั้งตนเป็นฟาโรห์ แห่งอาณาจักรบน ปรารถนาจะรวมอียิปต์เข้าด้วยกันแต่พระองค์สิ้นพระชนม์ เสียก่อน • สมัยของ ฟาโรห์เมเนส(Menese)พระองค์สามารถผนวกทั้งสองอาณาจักรเข้า ด้วยกันได้ส้าเร็จและสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นฟาโรห์พระองค์แรกของอียิปต์ โดยตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟิส (Memphis) ซึ่งอยู่ตอนกลางของลุ่มน้้าไนล์ ฟาโรห์เมเนสเป็นฟาโรห์องค์แรกแห่งราชวงศ์ที่หนึ่งของอียิปต์โบราณ
  • 11. สมัยราชวงศ์ต้น (Early Dynasty or Archaic Period) ราชวงศ์ที่ 1-2 (3100-2686 B.C.)  เมเนส ประมุขแห่งอียิปต์บนได้รวมดินแดนทั้งสองเข้าด้วยกัน และ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์ที่ 1 และตั้งเมืองหลวงอยู่ที่ เมืองเมมฟิส(Memphis)  ได้มีการจัดตั้งระบบชลประทาน  อียิปต์ได้พัฒนาระบบตัวเขียนที่ เรียกว่า อักษรฮีโรกลิฟิก (Hieroglypjic) หรือสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีลักษณะเป็นอักษรภาพที่จารึก บนแผ่นศิลาหรือฝาผนังขนาดใหญ่ ต่อมาได้พัฒนาให้เขียนง่ายขึ้นแต่ก็ยังคง เป็นอักษรภาพอยู่ เรียกว่า อักษรเฮียราติก (hieratic) โดยเขียนลงบน กระดาษปาปิรุส (papyrus )
  • 12. สมัยราชอาณาจักรเก่า (The Old Kingdom) ราชวงศ์ที่ 3-6 (2686-2155 B.C.)  สมัยนี้บางครั้งก็ถูกเรียกว่า สมัยพีระมิด (The Pyramid Age) ความ เชื่อว่าฟาโรห์คือเทวะหรือพระเจ้า จึงท้าให้เกิดวัฒนธรรมการเชิดชูฟาโรห์และ พระราชวงศ์ โดยการสร้างพีระมิด เพื่อเก็บพระศพ หรือ มัมมี่ และเกิดการ สร้างพีระมิดขึ้นเป็นครั้งแรก  พีระมิดแห่งแรกสร้างขึ้นในสมัยกษัตริย์โจเซอร์แห่งราชวงศ์ที่ 3  มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ใน ราชวงศ์ที่ 4 ประจวบกับกษัตริย์มีอ้านาจในการปกครองเป็นผลให้เกิดพีระมิด ใหญ่ที่สุดขึ้น พีระมิดนี้เป็นของพีระมิดกษัตริย์คูฟุ (Khufu) หรือ คีออปส์ (Cheops) อยู่ที่เมือง กีซา (Giza)
  • 13. สมัยอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom 2052-1786 B.C.)  หลังจากอาณาจักรเก่าสิ้นสุดลงเกิดความระส่้าระสาย  กษัตริย์ราชวงศ์ที่ 12 รวมอียิปต์เป็นปึกแผ่นย้ายราชธานีมาอยู่ที่เมือง ธิบส์ ทางอียิปต์บน  ในสมัยราชวงศ์ที่ 12 อียิปต์เริ่มกลายเป็นชาติมหาอ้านาจ และสามารถตี อาณาจักรนูเบียได้  มีความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมและท้าค้าขายกับเมืองอาบิ ดอส (Abydos) เกาะครีต (Crete) นูเบีย (Nubia) อาระเบีย (Arabia) และ บาบิโลเนีย(Babylonia) วรรณคดีและศิลปกรรมก็เจริญขึ้นมาก  มีการท้าเหมืองแร่และอู่ต่อเรือ นอกจากนี้มีการสร้างพีระมิดขนาดใหญ่ ขึ้นหลายแห่งการเพาะปลูกอุดมสมบูรณ์ อ้านาจของฟาโรห์กลับมายิ่งใหญ่และ มั่งคั่งอีกครั้งหนึ่ง
  • 14. สมัยอาณาจักรใหม่หรือสมัยจักรวรรดิ (The New Kingdom or the Empire Age 1554-1090 B.C.)  ยุคนี้เป็นยุคที่อียิปต์รุ่งเรืองที่สุด  ยุคของฟาโรห์ทุตโมซิสที่ 1 (Thutmosis) แห่งราชวงศ์ที่ 18 ในยุคนี้ เมืองหลวงของอียิปต์คือนครธีบส์(Thebes) และฝั่งตรงข้ามของเมือง หลวงคือ หุบเขาแห่งกษัตริย์อันเป็นสถานที่ฝังพระศพฟาโรห์  ชาวอียิปต์ได้ยกเลิกประเพณีการสร้างพีระมิดไปตั้งแต่ตอนปลาย ของ อาณาจักรเก่าเนื่องจากสิ้น เปลืองวัตถุดิบและหันมาใช้วิธีเจาะหน้าผาเป็น สุสานแทน
  • 15.  ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของรามซีสที่ 2 แห่งราชวงศ์ที่ 21 ปรากฎว่า จักรวรรดิโบราณก็เริ่มเสื่อมลงเป็นล้าดับเพราะกษัตริย์ไร้ความสามารถในการ ปกครองและการรบ ขุนนางก่อความวุ่นวายแย่งชิงอ้านาจกันพระขึ้นปกครอง อียิปต์
  • 16. สมัยเสื่อมอานาจ (The Decline)  จักรวรรดิอียิปต์เสื่อมอ้านาจตั้งแต่ประมาณปี 1100 ก่อนคริสต์ศักราช ในสมัยนี้ชาวต่างชาติ  พวกแอลซีเรียน เปอร์เซียจากเอเชียรวมทั้งชนชาติในแอฟริกาได้เข้า รุกรานอียิปต์และปกครองบางส่วนของอียิปต์  ฟาโรห์ของอียิปต์ก็ยังคงปกครองดินแดนของตนต่อมาจนถึงประมาณปี 300 ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อาณาจักรอียิปต์เสื่อมสลายและถูก ชาวต่างชาติยึดครอง  กลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 อียิปต์หันไปนับถือ ศาสนาอิสลาม
  • 20. • คณิตศาสตร์ ค้นพบ ¶ ( Pie) มีค่ำเท่ำกับ 3.14 กระดาษปาปิรุส
  • 21. ด้านวรรณกรรม • 1. วรรณกรรมเกี่ยวเนื่องกับศาสนา ได้แก่คัมภีร์ผู้ตาย คมัภีร์นีมุ้่ง แสดงต่อเทพเจ้ำโอซิริส เพื่อกำรเข้ำสู่โลกหน้ำที่อุดมสมบูรณ์และสุข สบำยเช่นอียิปต์โบรำณ นอกจำกนียั้งมีบทสรรเสริญของพระเจ้ำอเนโฮ เต็ปที่ 4 ต่อเทพเจ้ำอะตัน เป็นต้น
  • 22. • 2. วรรณกรรมไม่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา ได้แก่งำนสลักบันทึก เหตุกำรณ์ตำมเสำหินหรือผนังปิรำมิด เป็นต้น
  • 23. ด้านศิลปกรรม Step Pyramid of Djoser พีระมิดโจเซอร์ (Djoser's Pyramid) หรือ พีระมิด แห่งซักการา (The Pyramid of Saqqara) * พีระมิดขั้นบันได
  • 24. The Red Pyramid พีระมิดแดง (Red Pyramid) สร้างโดยฟาโรห์สนอฟรู
  • 25. The Bent Pyramid พีระมิดหักงอ (Bent Pyramid) หรือบำงครัง้เรียกกัน สัน้ๆ ว่ำ พีระมิดเบีย้ว สร้ำงขึน้โดย ฟำโรห์สนอฟรู (Snofru)
  • 27. สฟิงส์( Sphinx) or ( The Great sphinx of Giza )
  • 28. ด้านความเชื่อ และศาสนา • คัมภีร์มรณะ (Book of the Dead) หรือ The Chapters of Coming - Forth - By - Day
  • 30.
  • 32. ขั้นตอนการทา มัมมี่ • ขัน้ตอนที่1 ขัน้ตอนที่ 2
  • 33. • ขัน้ตอนที่ 3 • ขัน้ตอนที่ 4
  • 34. • ขัน้ตอนที่ 5 • ขัน้ตอนที่ 6
  • 35. • ขัน้ตอนที่7 • ขัน้ตอนที่ 8
  • 36. • ขัน้ตอนที่ 9 ขัน้ตอนที่ 10
  • 37. • ขัน้ตอนที่ 11 ขัน้ตอนที่ 12 ขัน้ตอนที่ 13