SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
อารยธรรม 
กรีก - โรมัน
อารยธรรม 
กรีก
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับ 
การตั้งถิ่นฐาน
1. ภาคเหนือ ได้แก่ แคว้นมาซิโดเนีย 
(Macedonid) เทสซาลี (Thessaly) และอิ 
ไพรัส (Epirus)
2. ภาคกลาง ได้แก่ บริเวณที่เป็นเนินเขาสูง 
เป็นที่ตงั้ของนครทีบส์ (Thebes) นคร 
เดลฟี (Delphi) ช่องเขาเทอร์มอปิเล 
(Thermopylae) และยอดเขาพาร์แนสซัส 
(Parnassus) ซึ่งเป็นที่สถิตของอะพอลโล 
(Apollo) หรือสุริยเทพ ตรงปลายสุดของ 
ด้านตะวันออก คือ แคว้นแอตติกะ 
(Attica) ซึ่งมีเมืองหลวง คือ นครรัฐ 
เอเธนส์ (Athens) แหล่งกำาเนิดของการ 
ปกครองระบอบประชาธิปไตย
ยอดเขาพาร์แนสซัส
3. บริเวณคาบสมุทรเพโลพอนนีซัส 
(Peloponnessus) อยู่ตอนใต้อ่าวคอ 
รินท์ เป็นที่ตั้งของนครรัฐสปาร์ตา 
(Sparta) ที่มีชอื่เสียงทางการรบ และ 
โอลิมเปีย (Olympia) ซึ่งเป็นที่สิงสถิต 
ของบรรดาเทพเจ้ากรีก
โอลิมเปีย
สภาพภูมิประเทศของดินแดนกรีซ 
เต็มไปด้วยภูเขาและเนินเขาซึ่งแบ่งแผ่น 
ดินกรีซออกเป็นที่ราบหุบเขามากมาย 
ภูเขาเป็นอุปสรรคสำาคัญในการติดต่อ 
ระหว่างผู้คนที่อยู่อาศัยตามที่ราบหุบเขา 
ต่างๆ หมู่บ้านตามหุบเขาจึงปกครองเป็น 
อิสระต่อกัน สภาพการเมืองในดินแดน 
กรีซจึงมีลักษณะแตกแยกเป็นรัฐเล็กๆ 
จำานวนมาก
ดินส่วนใหญ่ของกรีซเป็นดินขาด 
ความอุดมสมบูรณ์ แม่นำ้าในกรีซเป็น 
แม่นำ้าสายสนั้ๆในฤดูที่มีนำ้าไหลมาก นำ้า 
จะไหลเชี่ยวและพัดพาเอาดินที่อุดม 
สมบูรณ์ไป พื้นราบตามหุบเขาแม้มี 
ความอุดมสมบูรณ์ แต่มีพื้นที่ขนาดเล็ก 
ไม่สามารถเพาะปลูกได้มากนัก สภาพ 
ภูมิศาสตร์ของกรีซจึงไม่สามารถผลิต 
พืชผลเพียงพอกับจำานวนพลเมือง
แต่ในดินกรีซส่วนใหญ่มีลักษณะคล้าย 
แหลมยื่นไปในทะเล ชายฝงั่ทะเลสามารถ 
ใช้เป็นอ่าวธรรมชาติสำาหรับจอดเรือได้เป็น 
อย่างดี ที่ตงั้และสภาพภูมิประเทศจึงเป็น 
ปัจจัยส่งเสริมให้ชาวกรีกหันมาทำาการ 
ค้าขายทางทะเลกับดินแดนอื่นๆอย่างกว้าง 
ขวาง ทำาให้ชาวกรีกได้เรียนรู้วัฒนธรรม 
อื่นๆ เช่น อารยธรรมของอียิปต์ อารยธรรม 
เมโสโปเตเมีย ส่วนหมู่เกาะในทะเลอีเจียนที่ 
สำาคัญ คือ เกาะครีต(Crete) ซึ่งเป็นเกาะ 
ใหญ่อันดับ 1 และมีความสำาคัญในฐานะ 
เป็นต้นกำาเนิดอารยธรรมกรีก
เกาะครีต
ดินแดนคาบสมุทรกรีซ เป็นดินแดนที่มี 
ทรัพยากรธรรมชาติพอสมควร ได้แก่ เหล็ก 
ทอง เงิน หินอ่อน ดังนนั้ชาวกรีกจึงนิยมนำา 
หินอ่อนมาใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือนและ 
ศาสนสถานต่างๆมากมาย
อารยธรรมกรีกสมัย 
ก่อนประวัติศาสตร์
หลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบได้ใน 
บริเวณที่ราบในแคว้นทางภาคเหนือ ภาค 
กลาง และคาบสมุทรกรีซ แสดงว่ามีการ 
ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในดินแดนกรีซเมื่อ 
ประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช พบ 
เครื่องมือเครื่องใช้ทำาด้วยหิน 
เครื่องปั้นดินเผามีลวดลายประดับและมี 
คุณภาพ ผคู้นในดินแดนนดี้ำารงชีวิตด้วย 
การเกษตรเป็นหลัก ลักษณะสงิ่ก่อสร้าง 
บางแห่งมีลักษณะคล้ายป้อมปราการ 
สันนิษฐานว่าอาจมีการจัดระเบียบการ
ในราว 3,000-2,000 ปีก่อนคริสต์ 
ศักราช บนเกาะครีตในทะเลอีเจียนรู้จัก 
ใช้โลหะ ได้แก่ ทองแดง สำาริด ซึ่งเข้าใจ 
ว่าคงรับมาจากอารยธรรมอียิปต์โบราณ 
เนื่องจากเกาะครีตตั้งอยู่ทางตอนใต้สุด 
ของกรีซ ใต้เกาะครีตลงไปคืออียิปต์ โดย 
มีทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ระหว่างกลาง
อารยธรรมกรีกสมัย 
ประวัติศาสตร์
อารยธรรมกรีกเริ่มต้นขึ้นบริเวณเกาะ 
ต่างๆในทะเลอีเจียนและริมฝงั่ทะเลอีเจียน 
จึงเรียกว่าอารยธรรมในทะเลอีเจียน
1. อารยธรรมไมนวน (Minoan 
Civillization) เกิดขึ้นบนเกาะครีต ชาว 
ครีตหรือชาวครีตัน (Cretan) เป็นชนพื้น 
เมืองของเกาะนี้ กษัตริย์ที่มีอำานาจมาก 
ที่สุด คือ พระเจ้ามินอส (Minos) ความ 
เจริญของชาวครีตันได้ชอื่ว่า อารยธร 
รมไมนวน อารยธรรมไมนวนเจริญสูงสุด 
ในระหว่าง 1,800-1,500 ปีก่อนคริสต์ 
ศักราช เรียกช่วงสมัยนวี้่า สมัยวัง 
(Palace Period) เนื่องจากชาวครีตัน 
สร้างพระราชวังขนาดมโหราฬ 
พระราชวังสำาคัญคือ พระราชวังนอสซัส 
(Knossos)
Knos 
sos
ประมาณ 1,400 ปีก่อนคริสต์ 
ศักราช อารยธรรมไมนวนที่เกาะครีตถึง 
จุดสนิ้สุด เมอื่ถูกพวกไมซีเนียนจากแผ่น 
ดินใหญ่รุกราน
2. อารยธรรมไมซีเน (Mycenae 
Civillization) เป็นอารยธรรมพวกไมซี 
เนียน (Mycenaean) เจริญรุ่งเรืองอยู่ 
เมอื่ประมาณ 1,400-1,100 ปีก่อนคริสต์ 
ศักราช มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองไมซีเนบน 
คาบสมุทรเพโลพอน
บรรพบุรุษของชาวไมซีเนียน คือ 
พวกเอเคียน (Achean) ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่ 
พูดภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน อพยพมา 
จากทางเหนือประมาณ 2,000 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช พวกเอเคียนมีความสามารถ 
ในการรบและการค้า รับและแลกเปลี่ยน 
อารยธรรมกับดินแดนใกล้เคียงที่ติดต่อกัน 
ทางการค้า เช่น เกาะครีต อียิปต์ 
คาบสมุทรอานาโตเลีย
ประมาณ 1,460 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
พวกเอเคียนโจมตีเกาะครีต ทำาลายพระ 
ราชวังนอสซัส และเข้าครอบครองเกาะ 
ครีต ต่อเมอื่ 1,400 ปีก่อนคริสต์ศักราชได้ 
สร้างเมืองไมซีเนที่มีป้อมปราการแข็งแรง 
พวกเอเคียนจึงมีชื่อใหม่ว่าไมซีเนียนตาม 
ชื่อเมือง
อารยธรรมสำาคัญของชาวไมซีเนียน 
คือ ตัวอักษรไมซีเนียน ซึ่งเป็นรากฐาน 
ของตัวอักษรกรีก นอกจากนี้ยังมีการสร้าง 
ถนน สะพาน และรู้จักทำาท่อส่งนำ้าแบบท่อ 
ประปา
ด้านความเชอื่ทางศาสนา ชาวไมซี 
เนียนนับถือเทพเจ้าหลายองค์รวมทั้งเทพ 
เจ้าซูส (Zeus) ซึ่งชาวกรีกในสมัยต่อมา 
นับถือเป็นเทพเจ้าสูงสุด
อารยธรรมไมซีเนสิ้นสุดลงเพราะถูก 
พวกดอเรียน(Dorian) ซึ่งเป็นกรีกอีก 
เผ่าหนึ่งรุกราน 
ทหารดิ 
เรียน
นครรัฐของกรีก
ลักษณะภูมิประเทศของกรีซทำาให้ 
การตั้งถิ่นฐานบ้านเมืองของชาวกรีก แบ่ง 
ออกเป็นนครรัฐ (city-state) ซึ่งชาวกรีก 
นิยมเรียกว่า โพลิส (polis) แต่ละนครรัฐ 
ต่างมีสภาพสังคมและวัฒนธรรมเป็นของ 
ตนเอง
การปกครองกรีกหลัง 800 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช หรือที่เรียกว่า ยุคคลาสสิก 
(Classical Age) ใน 700 ปีก่อนคริสต์ 
ศักราช กษัตริย์ได้สูญเสียอำานาจทั้งหมดให้ 
แก่พวกขุนนาง ซึ่งเข้ามามีบทบาทในการ 
ปกครองและบริหารนครรัฐแก่ราษฎรที่เป็น 
ผู้ชายที่อายุบรรลุนิติภาวะและเป็นพลเมือง 
ของนครรัฐ อุดมการณ์ประชาธิปไตยของ 
กรีกนับว่าเป็นมรดกทางอารยธรรมที่สำาคัญ 
ประการหนงึ่ที่ถ่ายทอดให้แก่โลกตะวันตก 
จนเกิดพัฒนาการกลายเป็นระบอบ 
ประชาธิปไตยในปัจจุบัน
ประมาณ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
ศูนย์กลางความเจริญของกรีกได้ย้ายมาสู่ 
นครรัฐเอเธนส์ (Athens) ในแคว้นแอตติ 
กะ (Attica) สถาปัตยกรรม วรรณคดี 
ประวัติศาสตร์ การแพทย์ และปรัชญา 
เจริญขึ้นในเวลารวดเร็ว
เอเธนส์และนครรัฐกรีกอื่นๆก็ผนึก 
กำาลังกันเพื่อทำาสงครามป้องกันการรุกราน 
จากเปอร์เซียในระหว่าง 470-429 ปีก่อน 
คริสต์ศักราชผลของสงครามเอเธอนเป็น 
ฝ่ายชนะ เอเธนส์ได้จัดตงั้สมาพันธรัฐแห่ง 
หมู่เกาะเดลอส (Delos) ซึ่งใช้เป็นศูนย์และ 
เป็นที่เก็บรักษาทรัพย์สมบัติ ต่อมาสหพันธรัฐ 
ได้ย้ายศูนย์กลางไปอยทูี่่เอเธนส์ ความมงั่คงั่ 
ของเอเธนส์ได้นำาเอเธนส์เข้าสู่สงครามเพโล 
พอนนีเชียน (Peloponnesian War 431- 
404 ปีก่อนคริสต์ศักราช) อันเป็นสงคราม 
ระหว่างเอเธนส์กับสปาร์ตา เนอื่งจากนั้น 
ขณะสปาร์ตาเป็นนครรัฐทหารและเป็นคู่แข่ง 
ที่สำาคัญในการแย่งชิงอำานาจเพื่อเป็นผู้นำา
Delos
สงครามเพโลพอนนีเชียนได้นำา 
ความเสอื่มมาสู่นครรัฐกรีก และเปิดโอกาส 
ให้มาชิโดเนีย (Macedonia) ขยายอำานาจ 
เข้าครอบครองนครรัฐของกรีก ในสมัย 
พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช 
(Alexander the Great 336-323 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช) หรือที่เรียกว่า ยุคเฮลเลนิสติก 
(Hellenistic Age) กรีกสามารถขยายดิน 
แดนครอบคลุมอียิปต์ เอเชียไมเนอร์ 
เปอร์เซีย ไปจนถึงอินเดีย ในยุคแห่งความ 
เจริญรุ่งเรืองนี้ มีการจัดตั้งเมืองอะเล็กซาน 
เดรีย (Alexandria) ในอียิปต์ เพื่อเป็น 
ศูนย์กลางของการค้าและศิลปวัฒนธรรมของ 
กรีก
มรดกทางวัฒนธรรม 
กรีก
เนื่องจากระบอบการ 
สถาปัตยกรรม 
ปกครองของกรีกในยุคคลาสสิกเป็นแบบ 
นครรัฐที่ไม่มีกษัตริย์เป็นประมุข งาน 
ก่อสร้างของกรีกจึงไม่ใช่พระราชวังที่ 
หรูหราเหมือนสมัยไมนวน แต่จะเป็นวิหาร 
สำาหรับเทพเจ้า ซึ่งชาวกรีกให้ความ 
สำาคัญอย่างสูง เทพเจ้าของกรีกกับ 
ธรรมชาติมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด 
ชาวกรีกซึ่งเป็นพวกที่นับถือธรรมชาติเชื่อ 
ว่าพลังลึกลับที่มีอยู่ตามธรรมชาติสามารถ 
ให้คุณและโทษได้ อำานาจลึกลับใน
วิหารที่กรีกสร้างไว้บูชาเทพเจ้า 
ต่างๆนั้น นิยมสร้างบนเนินดินหรือภูเขา 
เล็กๆ ซึ่งมีชอื่เรียกว่า อะครอโพลิส 
(Acropolis) วิหารที่สำาคัญ ได้แก่ วิหา 
รพาร์เธนอน (Parthenon) ที่อะครอโพลิส 
ในนครรัฐเอเธนส์ สร้างในศตวรรษที่ 5 
ก่อนคริสต์ศักราช แสดงให้เห็นถึง 
สถาปัตยกรรมที่งดงามของกรีก ตัวอาคาร 
สร้างด้วยหินอ่อน หลังคาหน้าจั่ว มีเสาหิน 
เรียงราย โครงสร้างได้สัดส่วนและสมดุล 
กัน
ลักษณะของเสากรีก
1. แบบดอริก (Doric order) เน้นความแข็ง 
แรง เสาส่วนล่างใหญ่และเรียวขึ้นเล็ก 
น้อย ตารมลำาเสาแกะเป็นทางยาวตาม 
แนวตั้ง หัวเสาเป็นแผ่นหินเรียบ วิหา 
รพาร์เธนอนเป็นตัวอย่างอาคารที่ใช้เสา
2. แบบไอออนิก (Ionic order) ลักษณะ 
เรียวกว่าเสาแบบดอริก หัวเสาทำาเป็น 
ลวดลายโค้งม้วนย้อยลงมาทั้งสองข้าง 
ทำาให้เสาดูสูงเพรียว ตัวอย่างอาคารที่ใช้ 
เสาแบบนี้ เช่น วิหารอีเรกเธอัม 
(Erectheum) ที่เอเธนส์ สร้างอุทิศแก่ 
อีเรกเธอัส (Erectheus)
3. แบบคอรินเทียน (Corinthian order) 
เน้นความงามหรูหรา มีการประดับยอด 
เสาด้วยลายใบไม้ เสาแบบนปี้รากฏมาก 
ในยุคเฮลเลนิสติก
สถาปัตยกรรมกรีกได้รับการยกย่อง 
อย่างมาก และมีการเลียนแบบต่อไปยัง 
จักรวรรดิโรมันยุโรป และบางแห่งในทวีป 
เอเชีย 
โรงอุปรากร 
พาเลส์การ์ 
นิเยร์ กรุง 
ปารีส 
ประเทศ 
ฝรั่งเศส
ประติมากร 
รม 
งานประติมากรรมของกรีกสะท้อนให้ 
เห็นถึงลักษณะธรรมชาติที่นิยมอย่างแท้จริง 
เทพเจ้าของกรีกจะมีลักษณะเป็นมนุษย์ มี 
อารมณ์ความรู้สึก ท่าทางและการ 
เคลื่อนไหวเหมือนจริง งานประติมากรรม 
ของกรีกในระยะแรกได้รับอิทธิพลจาก 
อียิปต์ซึ่งมีลักษณะหน้าตรงแข็งทื่อ
ต่อมาในสมัยคลาสสิก กรีกก็สร้างงาน 
ประติมากรรมภาพเปลือยที่แสดงกล้ามเนื้อ 
ให้มีความถูกต้องตามหลักกายวิภาคศาสตร์ 
และสามารถแกะสลักหินอ่อนเป็นเสื้อผ้าที่ดู 
พลิ้วอย่างไรก็ดี รสนิยมของชาวกรีกก็จะ 
เริ่มเปลี่ยนไปในสมัยเฮลเลนิสติก (หลัง 
ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช) ศิลปินจะ 
สร้างงานประติมากรรมจากสภาพมนุษย์ที่ 
เป็นจริงและสงิ่ที่ตนเห็น ไม่สวยตามแบบ 
อุดมคติอีกต่อไป งานประติมากรรมในยุค 
หลังของกรีกมักแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ 
ยาก ความทรมาน ความเจ็บปวด และความ
งานจิตรกรรมยุคแรกๆ ของกรีกทหี่ลง 
เหลือมาถึงทุกวันนี้ส่วนใหญ่จะเป็นงาน 
จิตรกรรมบนภาชนะของใช้ต่างๆ ที่ทำาจาก 
เครื่องปั้นดินเผา ชาวกรีกได้พัฒนาลวดลาย 
โบราณที่คล้ายลายเรขาคณิตของเมโสโปเต 
เมีย ภาพทนีิ่ยมวาดในตอนแรกมักเป็นรูป 
สัตว์ใหญ่ แต่ต่อมาได้มีการวาดภาพคนลงไป 
ด้วย ในระยะแรกนิยมใช้สีแดงเป็นพื้นและ 
วาดรูปคนเป็นสีดำา เรียกว่า แจกันลวดลาย 
คนสีดำา (Black Figure Vase) ต่อมาในยุค 
คลาสสิกรูปวาดและสีพื้นจะสลับสีกัน มีชื่อว่า 
แจกันลวดลายคนสีแดง (Red Figure Vase) 
รูปที่วาดเป็นเรื่องราวจากเทพปกรณัม 
และมหากาพย์ของโฮเมอร์ มี 
จิตรกรรม
Black Figure 
Vase 
Red 
Figure 
Vase
ในยุคเฮลเลนิสติก กรีกได้ค้นพบ 
เทคนิคใหม่ในการวาดภาพประดับฝาผนัง 
ขนาดใหญ่โดยใช้หินหรือกระเบื้องสีมา 
ประดับ เรียกว่า โมเสก (mosaic) ซึ่งมีความ 
คงทนถาวร ภาพโมเสกนไี้ด้รับความนิยม 
มาก และได้ถ่ายทอดต่อไปยังจักรวรรดิโรมัน 
จนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบทอดกัน 
มาตราบเท่าทุกวันนี้
ความเชื่อและศรัทธาในเทพเจ้าของ 
ชาวกรีกมีผลกระทบต่องานสร้างสรรค์ 
ศิลปะแขนงนาฏกรรมหรือการละคร การ 
ละครของกรีกมีความเกี่ยวพันใกล้ชิดกับ 
เทศกาลบวงสรวงและเฉลิมฉลองให้แก่ 
เทพเจ้าไดโอนิซัส (Dionysus) ซึ่งเป็น 
เทพเจ้าแห่งความสมบูรณ์พูนสุข การ 
แสดงละครนี้จะแพร่หลายอย่างมากในยุค 
คลาสสิก 
นาฏกรรม
จนในที่สุดก็พัฒนาเป็นละครประเภท 
โศกนาฏกรรม (tragedy) และ 
สุขนาฏกรรม (comedy) การแสดง 
นาฏกรรมของกรีกใช้นักแสดงชาย 
ทั้งหมด โดยทุกคนจะสวมหน้ากากและมีผู้ 
พากย์และหมู่นักร้อง (chorus) ส่งเสียง 
ประกอบ เวที การแสดงเป็นโรงละคร 
กลางแจ้ง การละครของกรีกนนีั้บว่าเป็น 
มรดกลำ้าค่าทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่กรีก 
ได้มอบให้แก่ชาวโลก และยังคงมีอิทธิพล 
สำาคัญต่อวงการละครตะวันตกในปัจจุบัน
นอกจาก มหากาพย์อิเลียด และ โอดิส 
ชีย์ ของมหากวีโฮเมอร์ที่ได้รับการยกย่อง 
ในแง่โครงเรื่อง ความไพเราะ 
จินตนาการ ตลอดจนอารมณ์ที่ถ่ายทอด 
ออกมาได้อย่างงดงามซึ่งถือกันว่าเป็นงาน 
ที่เป็นแม่แบบของงานวรรณกรรมแล้ว 
กรีกก็ยังมีงานประพันธ์อื่นๆ ที่ถือเป็น 
มรดกทางวัฒนธรรมที่สำาคัญ งานประพันธ์ 
ดังกล่าวนี้Ethics ถือว่าเป็ขอนงอาการิสรโตเริ่เติมต้ล น(Aristotle) 
หรือจุด 
กำาเนิดของปวิระชามาปณ รัช384-ญา322 และปีปก่อระนควัริติสศาต์ศักสราตช 
ร์ 
จริยศาสตร์ 
วรรณกร 
รม
คณิตศาสต 
ร์ 
นักคณิตศาสตร์ ได้แก่ ปีทาโกรัสแห่ง 
ซามอส (Pythagoras of Samos 
ประมาณ 580-496 ปีก่อนคริสต์ศักราช) 
เป็นผคูิ้ดทฤษฎีบทปีทาโกรัส ซึ่งเป็นหลัก 
สำาคัญในวิชาเรขาคณิต และยูคลิดแห่งอะ 
เล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria 
ประมาณ 450-380 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ผู้ 
คิดเรขาคณิตแบบยูคลิด เป็นผเู้ขียน 
หนังสือชุด Pythagoras Elements ซึ่งมีจำานวEuclid 
น 13 
เล่ม เนอื้หาส่วนใหญ่กล่าวถึงเรขาคณิต 
ระนาบและเรื่องสัดส่วน
อาร์คิมิดิสแห่งเซียราคิวส์ 
(Archimedes 282-281 ปีก่อนคริสต์ 
ศักราช) เป็นผู้คิดระหัดวิดนำ้าแบบเกลียว 
ลูกรอกชุด ตงั้กฎของคานดีดคานงัด และ 
พบวิธีกาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่ 
นำ้า 
ฟิสิกส์
การแพทย์ 
ฮิปโปคราตีส (Hippocrates ประมาณ 
460-377 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้รับการ 
ยกย่องเป็น “บิดาแห่งการแพทย์” มีความ 
เชอื่ว่าโรคทุกชนิดเกิดจากธรรมชาติ ไม่ใช่ 
พระเจ้าลงโทษ เฮโลฟิลัสแห่งแคลซีดอน 
(Herophilus of Chalcedon ประมาณ 335- 
280 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นคนแรกที่ตัด 
ชนิ้ส่วนของมนุษย์เพื่อศึกษา และพบว่าสมอง 
เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท ได้รับการ 
ยกย่องเป็น “บิดาแห่งกายวิภาคศาสตร์”
ภูมิศาสตร์ 
เอราทอสทินีส (Eratosthenes 
ประมาณ 276-196 ปีก่อนคริสต์ศักราช) 
เป็นนักดาราศาสตร์และนักภูมิศาสตร์ 
สามารถคำานวณเส้นรอบโลกได้
ประวัติศาสตร์ 
เฮโรโดตัส (Herodotus ประมาณ 484- 
425 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้เดินทางไปยัง 
ดินแดนต่างๆ แล้วเขียนหนังสือ 
ประวัติศาสตร์ (History เป็นภาษากรีก 
แปลว่า สอบถาม) กล่าวถึงขนบธรรมเนียม 
ประเพณี ตำานาน และประวัติศาสตร์ของ 
โลกสมัยโบราณ ส่วนท้ายของหนังสือกล่าว 
ถึงความขัดแย้งระหว่างกรีกกับเปอร์เซีย
นอกจากนี้กรีกยังได้รับการยกย่องให้ 
เป็นผู้นำาในการวางรากฐานให้แก่การ 
ปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ให้สิทธิแก่ 
ประชาชนในการปกครอง การศึกษา และ 
อื่นๆ
ศิลปวัฒนธรรมกรีกได้กลายเป็นมรดกที่ 
สำาคัญที่ชาวกรีกมอบให้แก่โลกตะวันตก 
โดยมีชาวโรมันเป็นสื่อกลางในการ 
ถ่ายทอด แม้ในปัจจุบันโลกทัศน์ของชาว 
ตะวันตกจะเปลี่ยนแปลงไปมาก แต่ความคิด 
สร้างสรรค์ต่างๆ ของกรีก โดยเฉพาะอย่าง 
ยิ่งในด้านศิลปะ ก็ยังคงได้รับการยกย่อง 
อย่างสูง และถือเป็นแม่แบบของความเจริญ 
และอารยธรรมตะวันตกอย่างแท้จริง
อารยธรรม 
โรมัน
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 
กับการตั้งถิ่นฐาน
อารยธรรมโรมันกำาเนิดในบริเวณ 
คาบสมุทรอิตาลี ซงึ่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ 
ทวีปยุโรป ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ 
เป็นภูเขาและเนินเขา ได้แก่ เทือกเขาแอลป์ 
ทางทิศเหนือ ซงึ่กั้นคาบสมุทรอิตาลีออก 
จากดินแดนส่วนอื่นของทวีปยุโรป และ 
เทือกเขาแอเพนไนน์ซึ่งเป็นแกนกลางของ 
คาบสมุทร
เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศตอน 
กลางของคาบสมุทรเป็นที่ราบเล็กๆจึง 
ทำาให้การตั้งถิ่นฐานของชุมชนอยู่อย่าง 
กระจัดกระจายเป็นชุมชนเล็กๆ พื้นที่ 
การเกษตรมีไม่มากนัก และเมอื่มี 
ประชากรเพิ่มมากขึ้น บริเวณดังกล่าวไม่ 
สามารถรองรับการเกษตรที่ขยายตัวได้ 
จึงเป็นสาเหตุให้ชาวโรมันขายายดินแดน 
ไปยังดินแดนบริเวณอื่นๆ
โดยทั่วไปคาบสมุทรอิตาลี มีภูมิ 
อากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน สภาพ 
อากาศอบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว และ 
อากาศแห้งในฤดูแล้ง ดินแดนใน 
คาบสมุทรอิตาลีมีทรัพยากรแร่อุดม 
สมบูรณ์ เช่น เหล็ก สังกะสี เงิน หิน 
อ่อน ยิปซัม เกลือ และโพแทช
นอกจากนั้นยังมีทรัพยากรป่าไม้ ส่วน 
ทรัพยากรดินมีจำานวนจำากัดเนื่องจาก 
ลักษณะภูมิประเทศที่ไม่มีพื้นที่เพียงพอต่อ 
การตั้งถิ่นฐาน และต้องแย่งชิงกับกับชน 
อื่นๆที่อยู่ในดินแดนแถบนี้ ในขณะ 
เดียวกันยังสามารถเดินเรือค้าขายในทะเล 
เมดิเตอร์เรเนียนได้อย่างสะดวก
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ส่งผลให้ชาว 
โรมันเป็นคนที่ขยันอดทน มีระเบียบวินัย 
ปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด 
สามารถขยายอาณาเขตยึดครองดินแดน 
ของชนเผ่าอนื่ๆ เช่น ดินแดนของพวกอิ 
ทรัสกัน ดินแดนรอบทะเล 
เมดิเตอร์เรเนียน ทำาให้ชาวโรมันได้รับ 
อารยธรรมจากดินแดนต่างๆที่เข้ายึดครอง 
ผสมผสานกับอารยธรรมโรมันของตนเอง
อารยธรรมโรมันสมัย 
ประวัติศาสตร์
ความเชอื่ตามตำานานว่า กรุงโรม 
สถาปนาขึ้นบนเนินเขา 7 ลูกเมื่อ 753 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช โดยพี่น้องฝาแฝดคู่หนึ่งชอื่ โร 
มูลุส (Romulus) และเรมุส (Remus) แต่ตาม 
หลักฐานทางด้านโบราณคดีและ 
ประวัติศาสตร์ยืนยันว่าบริเวณที่ตั้งของกรุง 
โรมในปัจจุบันมีพวกอิทรัสกัน (Etruscan) 
ซึ่งได้รับอารยธรรมของกรีกและเมื่ออพยพ 
เข้ามา ก็ได้นำาความเชื่อในศาสนาของกรีก 
ศิลปะการแกะสลัก การทำาเครื่องปั้นดินเผา 
อักษรกรีก การปกครองแบบนครรัฐ และ 
อื่นๆเข้ามา
ที่ตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพจากเผ่า 
อื่นๆอีกที่สำาคัญ ได้แก่ พวกละตินซึ่ง 
เป็นบรรพบุรุษของชาวโรมัน เมื่อ 509 
ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกละตินได้ขับไล่ 
กษัตริย์อิทรัสกันออกจากบัลลังก์ และ 
จัดตั้งโรม จัดตั้งสาธารณรัฐ แต่อำานาจ 
การปกครองยังเป็นของชนชั้นสูงที่เรียก 
ว่า พวกพาทริเชียน (patrician) เท่านนั้ 
ส่วนประชาชนส่วนใหญ่ที่เรียกว่า เพล 
เบียน (plebeian) ไม่มีสิทธิใดๆทางด้าน 
การเมืองและสังคม
ความขัดแย้งระหว่างพวกพาทริเชียน 
และเพลเบียนนำาไปสู่การต่อสู้ระหว่างทั้งสอง 
ชนชนั้ใน 494 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวก 
เพลเบียนได้มีสิทธิออกกฎหมายร่วมกับพวก 
พาทริเชียน เป็นการออกประมวลกฎหมาย 
เป็นลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโรมัน 
เรียกว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะ (Law of the 
twelve tables) เพื่อใช้บังคับให้ชาวโรมัน 
ทุกคนปฏิบัติอยู่ในกรอบเดียวกันของ 
กฎหมายและสังคม กฎหมายสิบสองโต๊ะนับ 
เป็นมรดกชิ้นสำาคัญของโรมที่ถือกันว่าเป็น 
แม่บทของกฎหมายโลกตะวันตก
ระหว่าง 264-146 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
โรมันทำาสงครามพิวนิก (Punic Wars) กับ 
พวกคาร์เทจ สาเหตุมาจากการแย่งผล 
ประโยชน์ในเกาะซิซิลี คาร์เทจเป็นฝ่าย 
พ่ายแพ้ตลอดและหมดอำานาจไป เป็นการ 
เปิดโอกาสให้โรมันได้เป็นเจ้าทะเล 
เมดิเตอร์เรเนียน และเป็นรัฐที่มีอำานาจมาก 
ที่สุดในขณะนนั้ โดยผูกขาดการค้าระหว่าง 
ยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกและเอเชีย 
ไมเนอร์ จนมีฐานะมั่งคงั่และมีอำานาจ 
ปกครองดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาล
เมอื่ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช ชาวโรมัน 
ได้ยุติการปกครองในระบอบสาธารณรัฐและ 
หันมาใช้การปกครองแบบจักรวัติอย่างเป็น 
ทางการ ออคเทเวียน (Octavian) ได้รับ 
สมญานามว่า ออกัสตัส (Augustus) และ 
สภาโรมันได้ยกย่องให้เป็นจักรพรรดิองค์ 
แรกของจักรวรรดิโรมัน โรมันเจริญถึงขีด 
สูงสุดและสามารถขยายอำานาจและอิทธิพล 
ไปทั่วทั้งทวีปยุโรป เอเชียตะวันตก และ 
แอฟริกาเหนือ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 คริสต์ศาสนาแผ่ 
ขยายไปทางทิศตะวันตกของปาเลสไตน์ซึ่ง 
ขณะนนั้อยู่ใต้การปกครองของโรม 
จักรวรรดิโรมันต่อต้านคริสต์ศาสนาอย่าง 
รุนแรง จนถึง ค.ศ. 313 จักรพรรดิคอนส 
แตนตินมหาราช ประกาศกฤษฎีกาให้ 
เสรีภาพในการนับถือศาสนาคริสต์ ทำาให้ 
คริสต์ศาสนาได้รับการยอมรับอย่างแพร่ 
หลาย มีผลให้จักรวรรดิโรมันเป็น 
จักรวรรดิของคริสต์ศาสนา
ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึงคริสต์ 
ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันอ่อนแอลงตาม 
ลำาดับ จนในที่สุดกรุงโรมถูกพวก 
อนารยชนเผ่าเยอรมันหรือเผ่ากอท (Goth) 
เข้าปล้นสะดมหลายครั้ง จักรพรรดิของ 
โรมันองค์สุดท้ายถูกอนารยชนขับออกจาก 
บัลลังก์ใน ค.ศ.476 จึงถือกันว่าปีดังกล่าว 
เป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันและ 
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
มรดกของ 
อารยธรรม 
โรมัน
สถาปัตยกรรม 
นิยมสร้างอาคารต่างๆเพื่อสนองความ 
ต้องการของรัฐและประโยชน์ใช้สอยของ 
สาธารณชน เช่น สร้างโรงมหรสพขนาด 
ใหญ่ เรียกว่า โคลอสเซียม (Colosseum) 
สร้างท่อส่งนำ้า ถนนและสะพานขนาดใหญ่ที่ 
แสดงให้เห็นถึงความสามารถเชิงวิศวกรรม 
งานทางด้านสถาปัตยกรรมจะเน้นความใหญ่ 
โต แข็งแรงทนทาน ได้พัฒนาเทคนิคใน 
การออกแบบก่อสร้างของกรีกเป็นประตูทาง 
โค้ง (arch) และเปลยี่นหลังคาแบบจั่วเป็น 
โดม (dome)
ประติมากรรม 
สะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์อย่าง 
สมจริงตามธรรมชาติ มีสัดส่วนงดงาม 
เหมือนกรีก แต่โรมันจะพัฒนาศิลปะด้าน 
การแกะสลักรูปเหมือนของบุคคลสำาคัญๆ 
โดยเฉพาะในท่าครึ่งท่อนบนได้อย่าง 
สมบูรณ์ เพราะสามารถทำาให้หินอ่อนแกะ 
สลักนนั้ดูมีชีวิต อีกทั้งสะท้อนบุคลิกภาพ 
ของบุคคลที่เป็นแบบอย่างสมจริงที่สุด 
นอกจากนี้ชาวโรมันยังได้พัฒนาศิลปะการ 
แกะสลักภาพนูนตำ่า เพื่อบันทึกเรื่องราวหรือ 
เหตุการณ์สำาคัญทางประวัติศาสตร์ และ 
สดุดีวีรกรรมของนักรบ
วรรณกรรม 
งานประพันธ์ของโรมันมีวัตถุประสงค์ที่ 
แตกต่างจากกรีก งานประพันธ์ของกรีกมี 
สีสันและจินตนาการที่กว้างไกล เรื่องเทพ 
ปกรณัม หรือประเภทปรัชญาที่ลึกซึ้ง แต่ 
งานประพันธ์ที่เป็นของโรมันแท้ๆจะมีวัตุ 
ประสงค์ที่จะรับใช้จักรวรรดิของตน งาน 
ประเภทนี้จะงาสนดุเขีดียคนวาขอมง 
ยิ่งใหญ่ของชาวโรมัน 
เวอร์จิล ( Virgil 70-ก่อนคริสต์ศักราช) ได้19 เรื่อแก่ 
ปี 
งอี 
นีอิด (Aeneid) ซงึ่เป็นมหา 
กาพย์ว่าด้วยความเป็นมา 
ของกรุงโรม สอดแทรกคำา 
สอนเกี่ยวกับหน้าที่ และ 
ความจงรักภักดีต่อ
งานประพันธ์ร้อยแก้วของซิเซโร (Cicero 
106-43 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นข้อเขียนทางการเมือง 
และจริยธรรมในรูปแบบของสุนทรพจน์และจดหมาย ซิ 
เซโรใช้ภาษาละตินทสี่ละสลวย มีระเบียบแบบแผนใน 
งานประพันธ์ร้อยแก้วของเขา ซงึ่เป็นแม่แบบของการ 
ใช้ภาษาละตินทุกยุคทุกสมัยต่อมา ดังนั้นซิเซโรจึงได้ 
รับการยกย่องให้เป็นผู้ให้กำาเนิดคำาประพันธ์ประเภท 
ร้อยแก้ว งานประพันธ์ของเขายังมีลักษณะพิเศษทใี่ช้ 
โวหารในการเสียดสีประชดประชัน (Satire) พฤติกรรม
นอกจากนี้ก็มีงานประวัติศาสตร์ที่เน้น 
ความยิ่งใหญ่ของโรม เช่น 
งานเขียนเรอื่ง 
บันทึกสงครามกอล 
(Commentaries on 
the Gallic War) ของจู 
เลียส ซีซาร์ (Julius 
Caesar 100-44 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช) 
ประวัติศาสตร์กรุง 
โรม (History of Rome) 
ของลีวี (Livy 59 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช-ค.ศ.17)
งานเขียนเกยี่วกับอนารยชน เรอื่งชนเผ่า 
เยอรมัน (Germania) ของแทกซิตัส (Tacitus ค.ศ. 
55-117) ซึ่งยังเป็นที่นิยมอ่านและศึกษาจนถึง 
ปัจจุบัน
วิศวกรรม 
โรมันประสบความสำาเร็จในการสร้าง 
ถนนคอนกรีตที่มีความแข็งแรงทนทานสอง 
ข้างถนนมีท่อระบายนำ้าและมีหลักบอกระยะ 
ทาง ถนนที่ยังใช้มาถึงปัจจุบัน ได้แก่ 
ถนนแอปเพียน (Appian Ways) ในประเทศ 
อิตาลี นอกจากนยีั้งสร้างท่อส่งนำ้าหลาย 
แห่งเพื่อนำานำ้าจากภูเขาไปสเู่มืองใกล้เคียง 
ท่อส่งนำ้าที่ปัจจุบันยังใช้อยู่ เช่น ท่อส่งนำ้าที่ 
เมืองนีมส์ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส
ปฏิทิน 
เดิมชาวโรมันใช้ปฏิทินจันทรคติ ปี 
หนงึ่มี 10 เดือน ภายหลังเพิ่มเป็น 12 เดือน 
แต่ก็ยังมีความคลาดเคลื่อนไปจากฤดูกาล 
จนกระทั่งเมื่อ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช จูเลีย 
ส ซีซาร์ ให้ใช้ปฏิทินจูเลียนซึ่งเป็นแบบ 
สุริยคติ ปีหนงึ่มี 12 เดือน แต่ละปีมี 365 
วัน และให้เพิ่มวันในเดือนกุมภาพันธ์ในทุก 
4 ปี ให้เป็นปีที่มี 366 วัน ปฏิทินจูเลียนใช้ 
มานานถึง 1,600 ปี จึงมีการปรับปรุงเป็น 
ปฏิทินเกรกอเรียนใน ค.ศ. 1582
กฎหมาย 
ในระยะแรกกฎหมายโรมันไม่ได้เขียน 
เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นระบบ 
กฎหมายยังมีลักษณะผสมกลมกลืนกับศาสนา 
แต่ต่อมากฎหมายโรมันได้เปลี่ยนแปลงทีละ 
เล็กทีละน้อยจากข้อบัญญัติของพระเจ้ามาเป็น 
กฎหมายบ้านเมือง ในที่สุดก็ได้มีการตรา 
กฎหมายสิบสองโต๊ะ (Law of Twelve 
Tables) เพื่อให้ความยุติธรรมแก่ชาวโรมัน 
อย่างทัดเทียมกันใน 450 ปีก่อนคริสต์ศักราช
จากนั้นกฎหมายของโรมันก็ 
วิวัฒนาการเป็นระบบมากขึ้น และใช้บังคับ 
ประชาชนทั่วไปในจักรวรรดิโดยไม่จำากัด 
เชอื้ชาติ และให้ความยุติธรรมแก่ 
ประชาชนยงิ่ขึ้น แม้แต่ทาสซึ่งโรมันไม่นับ 
เป็นพลเมืองก็มีสิทธิที่จะอุทรณ์เรียกร้อง 
ความยุติธรรมจากบ้านเมืองได้ในกรณีที่ 
ถูกเจ้านายทำาทารุณกรรม ประมวล 
กฎหมายของโรมันนี้เป็นรากฐานของ 
ประมวลกฎหมายของประเทศต่างๆ เช่น 
อิตาลี ฝรั่งเศส สเปน สกอตแลนด์ ญี่ปนุ่
แม้แต่กฎหมายของวัด (Cannon Law) 
ในสมัยกลาง (Middle Ages) ก็ยังแสดงให้ 
เห็นถึงอิทธิพลของกฎหมายโรมันในสมัย 
จักรวรรดิจัสติเนียน (Justinian ค.ศ. 
527-565) แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ 
(Byzantine Empire) หรือจักรวรรดิโรมัน 
ตะวันออก ซึ่งได้รวบรวมและจัดประมวล 
กฎหมายโรมันเป็นหมวดหมู่ เรียกว่า
THANK 
YOU

More Related Content

What's hot

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
Onpa Akaradech
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
Anchalee BuddhaBucha
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

What's hot (20)

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 

Similar to อารยธรรมกรีก-โรมัน

เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
Kwandjit Boonmak
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
Natee Tasanakulwat
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
hmiw
 

Similar to อารยธรรมกรีก-โรมัน (16)

อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์
โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์
โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์
 
โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์
โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์
โครงงานปริศนาแห่งอียิปต์
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 

อารยธรรมกรีก-โรมัน

  • 4. 1. ภาคเหนือ ได้แก่ แคว้นมาซิโดเนีย (Macedonid) เทสซาลี (Thessaly) และอิ ไพรัส (Epirus)
  • 5. 2. ภาคกลาง ได้แก่ บริเวณที่เป็นเนินเขาสูง เป็นที่ตงั้ของนครทีบส์ (Thebes) นคร เดลฟี (Delphi) ช่องเขาเทอร์มอปิเล (Thermopylae) และยอดเขาพาร์แนสซัส (Parnassus) ซึ่งเป็นที่สถิตของอะพอลโล (Apollo) หรือสุริยเทพ ตรงปลายสุดของ ด้านตะวันออก คือ แคว้นแอตติกะ (Attica) ซึ่งมีเมืองหลวง คือ นครรัฐ เอเธนส์ (Athens) แหล่งกำาเนิดของการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย
  • 7. 3. บริเวณคาบสมุทรเพโลพอนนีซัส (Peloponnessus) อยู่ตอนใต้อ่าวคอ รินท์ เป็นที่ตั้งของนครรัฐสปาร์ตา (Sparta) ที่มีชอื่เสียงทางการรบ และ โอลิมเปีย (Olympia) ซึ่งเป็นที่สิงสถิต ของบรรดาเทพเจ้ากรีก
  • 9. สภาพภูมิประเทศของดินแดนกรีซ เต็มไปด้วยภูเขาและเนินเขาซึ่งแบ่งแผ่น ดินกรีซออกเป็นที่ราบหุบเขามากมาย ภูเขาเป็นอุปสรรคสำาคัญในการติดต่อ ระหว่างผู้คนที่อยู่อาศัยตามที่ราบหุบเขา ต่างๆ หมู่บ้านตามหุบเขาจึงปกครองเป็น อิสระต่อกัน สภาพการเมืองในดินแดน กรีซจึงมีลักษณะแตกแยกเป็นรัฐเล็กๆ จำานวนมาก
  • 10.
  • 11. ดินส่วนใหญ่ของกรีซเป็นดินขาด ความอุดมสมบูรณ์ แม่นำ้าในกรีซเป็น แม่นำ้าสายสนั้ๆในฤดูที่มีนำ้าไหลมาก นำ้า จะไหลเชี่ยวและพัดพาเอาดินที่อุดม สมบูรณ์ไป พื้นราบตามหุบเขาแม้มี ความอุดมสมบูรณ์ แต่มีพื้นที่ขนาดเล็ก ไม่สามารถเพาะปลูกได้มากนัก สภาพ ภูมิศาสตร์ของกรีซจึงไม่สามารถผลิต พืชผลเพียงพอกับจำานวนพลเมือง
  • 12. แต่ในดินกรีซส่วนใหญ่มีลักษณะคล้าย แหลมยื่นไปในทะเล ชายฝงั่ทะเลสามารถ ใช้เป็นอ่าวธรรมชาติสำาหรับจอดเรือได้เป็น อย่างดี ที่ตงั้และสภาพภูมิประเทศจึงเป็น ปัจจัยส่งเสริมให้ชาวกรีกหันมาทำาการ ค้าขายทางทะเลกับดินแดนอื่นๆอย่างกว้าง ขวาง ทำาให้ชาวกรีกได้เรียนรู้วัฒนธรรม อื่นๆ เช่น อารยธรรมของอียิปต์ อารยธรรม เมโสโปเตเมีย ส่วนหมู่เกาะในทะเลอีเจียนที่ สำาคัญ คือ เกาะครีต(Crete) ซึ่งเป็นเกาะ ใหญ่อันดับ 1 และมีความสำาคัญในฐานะ เป็นต้นกำาเนิดอารยธรรมกรีก
  • 14. ดินแดนคาบสมุทรกรีซ เป็นดินแดนที่มี ทรัพยากรธรรมชาติพอสมควร ได้แก่ เหล็ก ทอง เงิน หินอ่อน ดังนนั้ชาวกรีกจึงนิยมนำา หินอ่อนมาใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือนและ ศาสนสถานต่างๆมากมาย
  • 16. หลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบได้ใน บริเวณที่ราบในแคว้นทางภาคเหนือ ภาค กลาง และคาบสมุทรกรีซ แสดงว่ามีการ ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในดินแดนกรีซเมื่อ ประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช พบ เครื่องมือเครื่องใช้ทำาด้วยหิน เครื่องปั้นดินเผามีลวดลายประดับและมี คุณภาพ ผคู้นในดินแดนนดี้ำารงชีวิตด้วย การเกษตรเป็นหลัก ลักษณะสงิ่ก่อสร้าง บางแห่งมีลักษณะคล้ายป้อมปราการ สันนิษฐานว่าอาจมีการจัดระเบียบการ
  • 17. ในราว 3,000-2,000 ปีก่อนคริสต์ ศักราช บนเกาะครีตในทะเลอีเจียนรู้จัก ใช้โลหะ ได้แก่ ทองแดง สำาริด ซึ่งเข้าใจ ว่าคงรับมาจากอารยธรรมอียิปต์โบราณ เนื่องจากเกาะครีตตั้งอยู่ทางตอนใต้สุด ของกรีซ ใต้เกาะครีตลงไปคืออียิปต์ โดย มีทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ระหว่างกลาง
  • 20. 1. อารยธรรมไมนวน (Minoan Civillization) เกิดขึ้นบนเกาะครีต ชาว ครีตหรือชาวครีตัน (Cretan) เป็นชนพื้น เมืองของเกาะนี้ กษัตริย์ที่มีอำานาจมาก ที่สุด คือ พระเจ้ามินอส (Minos) ความ เจริญของชาวครีตันได้ชอื่ว่า อารยธร รมไมนวน อารยธรรมไมนวนเจริญสูงสุด ในระหว่าง 1,800-1,500 ปีก่อนคริสต์ ศักราช เรียกช่วงสมัยนวี้่า สมัยวัง (Palace Period) เนื่องจากชาวครีตัน สร้างพระราชวังขนาดมโหราฬ พระราชวังสำาคัญคือ พระราชวังนอสซัส (Knossos)
  • 22. ประมาณ 1,400 ปีก่อนคริสต์ ศักราช อารยธรรมไมนวนที่เกาะครีตถึง จุดสนิ้สุด เมอื่ถูกพวกไมซีเนียนจากแผ่น ดินใหญ่รุกราน
  • 23. 2. อารยธรรมไมซีเน (Mycenae Civillization) เป็นอารยธรรมพวกไมซี เนียน (Mycenaean) เจริญรุ่งเรืองอยู่ เมอื่ประมาณ 1,400-1,100 ปีก่อนคริสต์ ศักราช มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองไมซีเนบน คาบสมุทรเพโลพอน
  • 24. บรรพบุรุษของชาวไมซีเนียน คือ พวกเอเคียน (Achean) ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่ พูดภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน อพยพมา จากทางเหนือประมาณ 2,000 ปีก่อน คริสต์ศักราช พวกเอเคียนมีความสามารถ ในการรบและการค้า รับและแลกเปลี่ยน อารยธรรมกับดินแดนใกล้เคียงที่ติดต่อกัน ทางการค้า เช่น เกาะครีต อียิปต์ คาบสมุทรอานาโตเลีย
  • 25. ประมาณ 1,460 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกเอเคียนโจมตีเกาะครีต ทำาลายพระ ราชวังนอสซัส และเข้าครอบครองเกาะ ครีต ต่อเมอื่ 1,400 ปีก่อนคริสต์ศักราชได้ สร้างเมืองไมซีเนที่มีป้อมปราการแข็งแรง พวกเอเคียนจึงมีชื่อใหม่ว่าไมซีเนียนตาม ชื่อเมือง
  • 26. อารยธรรมสำาคัญของชาวไมซีเนียน คือ ตัวอักษรไมซีเนียน ซึ่งเป็นรากฐาน ของตัวอักษรกรีก นอกจากนี้ยังมีการสร้าง ถนน สะพาน และรู้จักทำาท่อส่งนำ้าแบบท่อ ประปา
  • 27. ด้านความเชอื่ทางศาสนา ชาวไมซี เนียนนับถือเทพเจ้าหลายองค์รวมทั้งเทพ เจ้าซูส (Zeus) ซึ่งชาวกรีกในสมัยต่อมา นับถือเป็นเทพเจ้าสูงสุด
  • 30. ลักษณะภูมิประเทศของกรีซทำาให้ การตั้งถิ่นฐานบ้านเมืองของชาวกรีก แบ่ง ออกเป็นนครรัฐ (city-state) ซึ่งชาวกรีก นิยมเรียกว่า โพลิส (polis) แต่ละนครรัฐ ต่างมีสภาพสังคมและวัฒนธรรมเป็นของ ตนเอง
  • 31. การปกครองกรีกหลัง 800 ปีก่อน คริสต์ศักราช หรือที่เรียกว่า ยุคคลาสสิก (Classical Age) ใน 700 ปีก่อนคริสต์ ศักราช กษัตริย์ได้สูญเสียอำานาจทั้งหมดให้ แก่พวกขุนนาง ซึ่งเข้ามามีบทบาทในการ ปกครองและบริหารนครรัฐแก่ราษฎรที่เป็น ผู้ชายที่อายุบรรลุนิติภาวะและเป็นพลเมือง ของนครรัฐ อุดมการณ์ประชาธิปไตยของ กรีกนับว่าเป็นมรดกทางอารยธรรมที่สำาคัญ ประการหนงึ่ที่ถ่ายทอดให้แก่โลกตะวันตก จนเกิดพัฒนาการกลายเป็นระบอบ ประชาธิปไตยในปัจจุบัน
  • 32. ประมาณ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ศูนย์กลางความเจริญของกรีกได้ย้ายมาสู่ นครรัฐเอเธนส์ (Athens) ในแคว้นแอตติ กะ (Attica) สถาปัตยกรรม วรรณคดี ประวัติศาสตร์ การแพทย์ และปรัชญา เจริญขึ้นในเวลารวดเร็ว
  • 33. เอเธนส์และนครรัฐกรีกอื่นๆก็ผนึก กำาลังกันเพื่อทำาสงครามป้องกันการรุกราน จากเปอร์เซียในระหว่าง 470-429 ปีก่อน คริสต์ศักราชผลของสงครามเอเธอนเป็น ฝ่ายชนะ เอเธนส์ได้จัดตงั้สมาพันธรัฐแห่ง หมู่เกาะเดลอส (Delos) ซึ่งใช้เป็นศูนย์และ เป็นที่เก็บรักษาทรัพย์สมบัติ ต่อมาสหพันธรัฐ ได้ย้ายศูนย์กลางไปอยทูี่่เอเธนส์ ความมงั่คงั่ ของเอเธนส์ได้นำาเอเธนส์เข้าสู่สงครามเพโล พอนนีเชียน (Peloponnesian War 431- 404 ปีก่อนคริสต์ศักราช) อันเป็นสงคราม ระหว่างเอเธนส์กับสปาร์ตา เนอื่งจากนั้น ขณะสปาร์ตาเป็นนครรัฐทหารและเป็นคู่แข่ง ที่สำาคัญในการแย่งชิงอำานาจเพื่อเป็นผู้นำา
  • 34. Delos
  • 35. สงครามเพโลพอนนีเชียนได้นำา ความเสอื่มมาสู่นครรัฐกรีก และเปิดโอกาส ให้มาชิโดเนีย (Macedonia) ขยายอำานาจ เข้าครอบครองนครรัฐของกรีก ในสมัย พระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช (Alexander the Great 336-323 ปีก่อน คริสต์ศักราช) หรือที่เรียกว่า ยุคเฮลเลนิสติก (Hellenistic Age) กรีกสามารถขยายดิน แดนครอบคลุมอียิปต์ เอเชียไมเนอร์ เปอร์เซีย ไปจนถึงอินเดีย ในยุคแห่งความ เจริญรุ่งเรืองนี้ มีการจัดตั้งเมืองอะเล็กซาน เดรีย (Alexandria) ในอียิปต์ เพื่อเป็น ศูนย์กลางของการค้าและศิลปวัฒนธรรมของ กรีก
  • 37. เนื่องจากระบอบการ สถาปัตยกรรม ปกครองของกรีกในยุคคลาสสิกเป็นแบบ นครรัฐที่ไม่มีกษัตริย์เป็นประมุข งาน ก่อสร้างของกรีกจึงไม่ใช่พระราชวังที่ หรูหราเหมือนสมัยไมนวน แต่จะเป็นวิหาร สำาหรับเทพเจ้า ซึ่งชาวกรีกให้ความ สำาคัญอย่างสูง เทพเจ้าของกรีกกับ ธรรมชาติมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ชาวกรีกซึ่งเป็นพวกที่นับถือธรรมชาติเชื่อ ว่าพลังลึกลับที่มีอยู่ตามธรรมชาติสามารถ ให้คุณและโทษได้ อำานาจลึกลับใน
  • 38. วิหารที่กรีกสร้างไว้บูชาเทพเจ้า ต่างๆนั้น นิยมสร้างบนเนินดินหรือภูเขา เล็กๆ ซึ่งมีชอื่เรียกว่า อะครอโพลิส (Acropolis) วิหารที่สำาคัญ ได้แก่ วิหา รพาร์เธนอน (Parthenon) ที่อะครอโพลิส ในนครรัฐเอเธนส์ สร้างในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช แสดงให้เห็นถึง สถาปัตยกรรมที่งดงามของกรีก ตัวอาคาร สร้างด้วยหินอ่อน หลังคาหน้าจั่ว มีเสาหิน เรียงราย โครงสร้างได้สัดส่วนและสมดุล กัน
  • 40. 1. แบบดอริก (Doric order) เน้นความแข็ง แรง เสาส่วนล่างใหญ่และเรียวขึ้นเล็ก น้อย ตารมลำาเสาแกะเป็นทางยาวตาม แนวตั้ง หัวเสาเป็นแผ่นหินเรียบ วิหา รพาร์เธนอนเป็นตัวอย่างอาคารที่ใช้เสา
  • 41. 2. แบบไอออนิก (Ionic order) ลักษณะ เรียวกว่าเสาแบบดอริก หัวเสาทำาเป็น ลวดลายโค้งม้วนย้อยลงมาทั้งสองข้าง ทำาให้เสาดูสูงเพรียว ตัวอย่างอาคารที่ใช้ เสาแบบนี้ เช่น วิหารอีเรกเธอัม (Erectheum) ที่เอเธนส์ สร้างอุทิศแก่ อีเรกเธอัส (Erectheus)
  • 42. 3. แบบคอรินเทียน (Corinthian order) เน้นความงามหรูหรา มีการประดับยอด เสาด้วยลายใบไม้ เสาแบบนปี้รากฏมาก ในยุคเฮลเลนิสติก
  • 43. สถาปัตยกรรมกรีกได้รับการยกย่อง อย่างมาก และมีการเลียนแบบต่อไปยัง จักรวรรดิโรมันยุโรป และบางแห่งในทวีป เอเชีย โรงอุปรากร พาเลส์การ์ นิเยร์ กรุง ปารีส ประเทศ ฝรั่งเศส
  • 44. ประติมากร รม งานประติมากรรมของกรีกสะท้อนให้ เห็นถึงลักษณะธรรมชาติที่นิยมอย่างแท้จริง เทพเจ้าของกรีกจะมีลักษณะเป็นมนุษย์ มี อารมณ์ความรู้สึก ท่าทางและการ เคลื่อนไหวเหมือนจริง งานประติมากรรม ของกรีกในระยะแรกได้รับอิทธิพลจาก อียิปต์ซึ่งมีลักษณะหน้าตรงแข็งทื่อ
  • 45. ต่อมาในสมัยคลาสสิก กรีกก็สร้างงาน ประติมากรรมภาพเปลือยที่แสดงกล้ามเนื้อ ให้มีความถูกต้องตามหลักกายวิภาคศาสตร์ และสามารถแกะสลักหินอ่อนเป็นเสื้อผ้าที่ดู พลิ้วอย่างไรก็ดี รสนิยมของชาวกรีกก็จะ เริ่มเปลี่ยนไปในสมัยเฮลเลนิสติก (หลัง ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช) ศิลปินจะ สร้างงานประติมากรรมจากสภาพมนุษย์ที่ เป็นจริงและสงิ่ที่ตนเห็น ไม่สวยตามแบบ อุดมคติอีกต่อไป งานประติมากรรมในยุค หลังของกรีกมักแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ ยาก ความทรมาน ความเจ็บปวด และความ
  • 46. งานจิตรกรรมยุคแรกๆ ของกรีกทหี่ลง เหลือมาถึงทุกวันนี้ส่วนใหญ่จะเป็นงาน จิตรกรรมบนภาชนะของใช้ต่างๆ ที่ทำาจาก เครื่องปั้นดินเผา ชาวกรีกได้พัฒนาลวดลาย โบราณที่คล้ายลายเรขาคณิตของเมโสโปเต เมีย ภาพทนีิ่ยมวาดในตอนแรกมักเป็นรูป สัตว์ใหญ่ แต่ต่อมาได้มีการวาดภาพคนลงไป ด้วย ในระยะแรกนิยมใช้สีแดงเป็นพื้นและ วาดรูปคนเป็นสีดำา เรียกว่า แจกันลวดลาย คนสีดำา (Black Figure Vase) ต่อมาในยุค คลาสสิกรูปวาดและสีพื้นจะสลับสีกัน มีชื่อว่า แจกันลวดลายคนสีแดง (Red Figure Vase) รูปที่วาดเป็นเรื่องราวจากเทพปกรณัม และมหากาพย์ของโฮเมอร์ มี จิตรกรรม
  • 47. Black Figure Vase Red Figure Vase
  • 48. ในยุคเฮลเลนิสติก กรีกได้ค้นพบ เทคนิคใหม่ในการวาดภาพประดับฝาผนัง ขนาดใหญ่โดยใช้หินหรือกระเบื้องสีมา ประดับ เรียกว่า โมเสก (mosaic) ซึ่งมีความ คงทนถาวร ภาพโมเสกนไี้ด้รับความนิยม มาก และได้ถ่ายทอดต่อไปยังจักรวรรดิโรมัน จนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบทอดกัน มาตราบเท่าทุกวันนี้
  • 49. ความเชื่อและศรัทธาในเทพเจ้าของ ชาวกรีกมีผลกระทบต่องานสร้างสรรค์ ศิลปะแขนงนาฏกรรมหรือการละคร การ ละครของกรีกมีความเกี่ยวพันใกล้ชิดกับ เทศกาลบวงสรวงและเฉลิมฉลองให้แก่ เทพเจ้าไดโอนิซัส (Dionysus) ซึ่งเป็น เทพเจ้าแห่งความสมบูรณ์พูนสุข การ แสดงละครนี้จะแพร่หลายอย่างมากในยุค คลาสสิก นาฏกรรม
  • 50.
  • 51. จนในที่สุดก็พัฒนาเป็นละครประเภท โศกนาฏกรรม (tragedy) และ สุขนาฏกรรม (comedy) การแสดง นาฏกรรมของกรีกใช้นักแสดงชาย ทั้งหมด โดยทุกคนจะสวมหน้ากากและมีผู้ พากย์และหมู่นักร้อง (chorus) ส่งเสียง ประกอบ เวที การแสดงเป็นโรงละคร กลางแจ้ง การละครของกรีกนนีั้บว่าเป็น มรดกลำ้าค่าทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่กรีก ได้มอบให้แก่ชาวโลก และยังคงมีอิทธิพล สำาคัญต่อวงการละครตะวันตกในปัจจุบัน
  • 52. นอกจาก มหากาพย์อิเลียด และ โอดิส ชีย์ ของมหากวีโฮเมอร์ที่ได้รับการยกย่อง ในแง่โครงเรื่อง ความไพเราะ จินตนาการ ตลอดจนอารมณ์ที่ถ่ายทอด ออกมาได้อย่างงดงามซึ่งถือกันว่าเป็นงาน ที่เป็นแม่แบบของงานวรรณกรรมแล้ว กรีกก็ยังมีงานประพันธ์อื่นๆ ที่ถือเป็น มรดกทางวัฒนธรรมที่สำาคัญ งานประพันธ์ ดังกล่าวนี้Ethics ถือว่าเป็ขอนงอาการิสรโตเริ่เติมต้ล น(Aristotle) หรือจุด กำาเนิดของปวิระชามาปณ รัช384-ญา322 และปีปก่อระนควัริติสศาต์ศักสราตช ร์ จริยศาสตร์ วรรณกร รม
  • 53. คณิตศาสต ร์ นักคณิตศาสตร์ ได้แก่ ปีทาโกรัสแห่ง ซามอส (Pythagoras of Samos ประมาณ 580-496 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นผคูิ้ดทฤษฎีบทปีทาโกรัส ซึ่งเป็นหลัก สำาคัญในวิชาเรขาคณิต และยูคลิดแห่งอะ เล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria ประมาณ 450-380 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ผู้ คิดเรขาคณิตแบบยูคลิด เป็นผเู้ขียน หนังสือชุด Pythagoras Elements ซึ่งมีจำานวEuclid น 13 เล่ม เนอื้หาส่วนใหญ่กล่าวถึงเรขาคณิต ระนาบและเรื่องสัดส่วน
  • 54. อาร์คิมิดิสแห่งเซียราคิวส์ (Archimedes 282-281 ปีก่อนคริสต์ ศักราช) เป็นผู้คิดระหัดวิดนำ้าแบบเกลียว ลูกรอกชุด ตงั้กฎของคานดีดคานงัด และ พบวิธีกาปริมาตรของวัตถุโดยการแทนที่ นำ้า ฟิสิกส์
  • 55. การแพทย์ ฮิปโปคราตีส (Hippocrates ประมาณ 460-377 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้รับการ ยกย่องเป็น “บิดาแห่งการแพทย์” มีความ เชอื่ว่าโรคทุกชนิดเกิดจากธรรมชาติ ไม่ใช่ พระเจ้าลงโทษ เฮโลฟิลัสแห่งแคลซีดอน (Herophilus of Chalcedon ประมาณ 335- 280 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นคนแรกที่ตัด ชนิ้ส่วนของมนุษย์เพื่อศึกษา และพบว่าสมอง เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท ได้รับการ ยกย่องเป็น “บิดาแห่งกายวิภาคศาสตร์”
  • 56. ภูมิศาสตร์ เอราทอสทินีส (Eratosthenes ประมาณ 276-196 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักดาราศาสตร์และนักภูมิศาสตร์ สามารถคำานวณเส้นรอบโลกได้
  • 57. ประวัติศาสตร์ เฮโรโดตัส (Herodotus ประมาณ 484- 425 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้เดินทางไปยัง ดินแดนต่างๆ แล้วเขียนหนังสือ ประวัติศาสตร์ (History เป็นภาษากรีก แปลว่า สอบถาม) กล่าวถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี ตำานาน และประวัติศาสตร์ของ โลกสมัยโบราณ ส่วนท้ายของหนังสือกล่าว ถึงความขัดแย้งระหว่างกรีกกับเปอร์เซีย
  • 59. ศิลปวัฒนธรรมกรีกได้กลายเป็นมรดกที่ สำาคัญที่ชาวกรีกมอบให้แก่โลกตะวันตก โดยมีชาวโรมันเป็นสื่อกลางในการ ถ่ายทอด แม้ในปัจจุบันโลกทัศน์ของชาว ตะวันตกจะเปลี่ยนแปลงไปมาก แต่ความคิด สร้างสรรค์ต่างๆ ของกรีก โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในด้านศิลปะ ก็ยังคงได้รับการยกย่อง อย่างสูง และถือเป็นแม่แบบของความเจริญ และอารยธรรมตะวันตกอย่างแท้จริง
  • 62. อารยธรรมโรมันกำาเนิดในบริเวณ คาบสมุทรอิตาลี ซงึ่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ ทวีปยุโรป ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่ เป็นภูเขาและเนินเขา ได้แก่ เทือกเขาแอลป์ ทางทิศเหนือ ซงึ่กั้นคาบสมุทรอิตาลีออก จากดินแดนส่วนอื่นของทวีปยุโรป และ เทือกเขาแอเพนไนน์ซึ่งเป็นแกนกลางของ คาบสมุทร
  • 63. เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศตอน กลางของคาบสมุทรเป็นที่ราบเล็กๆจึง ทำาให้การตั้งถิ่นฐานของชุมชนอยู่อย่าง กระจัดกระจายเป็นชุมชนเล็กๆ พื้นที่ การเกษตรมีไม่มากนัก และเมอื่มี ประชากรเพิ่มมากขึ้น บริเวณดังกล่าวไม่ สามารถรองรับการเกษตรที่ขยายตัวได้ จึงเป็นสาเหตุให้ชาวโรมันขายายดินแดน ไปยังดินแดนบริเวณอื่นๆ
  • 64. โดยทั่วไปคาบสมุทรอิตาลี มีภูมิ อากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน สภาพ อากาศอบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว และ อากาศแห้งในฤดูแล้ง ดินแดนใน คาบสมุทรอิตาลีมีทรัพยากรแร่อุดม สมบูรณ์ เช่น เหล็ก สังกะสี เงิน หิน อ่อน ยิปซัม เกลือ และโพแทช
  • 65. นอกจากนั้นยังมีทรัพยากรป่าไม้ ส่วน ทรัพยากรดินมีจำานวนจำากัดเนื่องจาก ลักษณะภูมิประเทศที่ไม่มีพื้นที่เพียงพอต่อ การตั้งถิ่นฐาน และต้องแย่งชิงกับกับชน อื่นๆที่อยู่ในดินแดนแถบนี้ ในขณะ เดียวกันยังสามารถเดินเรือค้าขายในทะเล เมดิเตอร์เรเนียนได้อย่างสะดวก
  • 66. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ส่งผลให้ชาว โรมันเป็นคนที่ขยันอดทน มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด สามารถขยายอาณาเขตยึดครองดินแดน ของชนเผ่าอนื่ๆ เช่น ดินแดนของพวกอิ ทรัสกัน ดินแดนรอบทะเล เมดิเตอร์เรเนียน ทำาให้ชาวโรมันได้รับ อารยธรรมจากดินแดนต่างๆที่เข้ายึดครอง ผสมผสานกับอารยธรรมโรมันของตนเอง
  • 68. ความเชอื่ตามตำานานว่า กรุงโรม สถาปนาขึ้นบนเนินเขา 7 ลูกเมื่อ 753 ปีก่อน คริสต์ศักราช โดยพี่น้องฝาแฝดคู่หนึ่งชอื่ โร มูลุส (Romulus) และเรมุส (Remus) แต่ตาม หลักฐานทางด้านโบราณคดีและ ประวัติศาสตร์ยืนยันว่าบริเวณที่ตั้งของกรุง โรมในปัจจุบันมีพวกอิทรัสกัน (Etruscan) ซึ่งได้รับอารยธรรมของกรีกและเมื่ออพยพ เข้ามา ก็ได้นำาความเชื่อในศาสนาของกรีก ศิลปะการแกะสลัก การทำาเครื่องปั้นดินเผา อักษรกรีก การปกครองแบบนครรัฐ และ อื่นๆเข้ามา
  • 69. ที่ตั้งถิ่นฐานของผู้อพยพจากเผ่า อื่นๆอีกที่สำาคัญ ได้แก่ พวกละตินซึ่ง เป็นบรรพบุรุษของชาวโรมัน เมื่อ 509 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกละตินได้ขับไล่ กษัตริย์อิทรัสกันออกจากบัลลังก์ และ จัดตั้งโรม จัดตั้งสาธารณรัฐ แต่อำานาจ การปกครองยังเป็นของชนชั้นสูงที่เรียก ว่า พวกพาทริเชียน (patrician) เท่านนั้ ส่วนประชาชนส่วนใหญ่ที่เรียกว่า เพล เบียน (plebeian) ไม่มีสิทธิใดๆทางด้าน การเมืองและสังคม
  • 70. ความขัดแย้งระหว่างพวกพาทริเชียน และเพลเบียนนำาไปสู่การต่อสู้ระหว่างทั้งสอง ชนชนั้ใน 494 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวก เพลเบียนได้มีสิทธิออกกฎหมายร่วมกับพวก พาทริเชียน เป็นการออกประมวลกฎหมาย เป็นลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโรมัน เรียกว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะ (Law of the twelve tables) เพื่อใช้บังคับให้ชาวโรมัน ทุกคนปฏิบัติอยู่ในกรอบเดียวกันของ กฎหมายและสังคม กฎหมายสิบสองโต๊ะนับ เป็นมรดกชิ้นสำาคัญของโรมที่ถือกันว่าเป็น แม่บทของกฎหมายโลกตะวันตก
  • 71. ระหว่าง 264-146 ปีก่อนคริสต์ศักราช โรมันทำาสงครามพิวนิก (Punic Wars) กับ พวกคาร์เทจ สาเหตุมาจากการแย่งผล ประโยชน์ในเกาะซิซิลี คาร์เทจเป็นฝ่าย พ่ายแพ้ตลอดและหมดอำานาจไป เป็นการ เปิดโอกาสให้โรมันได้เป็นเจ้าทะเล เมดิเตอร์เรเนียน และเป็นรัฐที่มีอำานาจมาก ที่สุดในขณะนนั้ โดยผูกขาดการค้าระหว่าง ยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกและเอเชีย ไมเนอร์ จนมีฐานะมั่งคงั่และมีอำานาจ ปกครองดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาล
  • 72. เมอื่ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช ชาวโรมัน ได้ยุติการปกครองในระบอบสาธารณรัฐและ หันมาใช้การปกครองแบบจักรวัติอย่างเป็น ทางการ ออคเทเวียน (Octavian) ได้รับ สมญานามว่า ออกัสตัส (Augustus) และ สภาโรมันได้ยกย่องให้เป็นจักรพรรดิองค์ แรกของจักรวรรดิโรมัน โรมันเจริญถึงขีด สูงสุดและสามารถขยายอำานาจและอิทธิพล ไปทั่วทั้งทวีปยุโรป เอเชียตะวันตก และ แอฟริกาเหนือ
  • 73. ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 คริสต์ศาสนาแผ่ ขยายไปทางทิศตะวันตกของปาเลสไตน์ซึ่ง ขณะนนั้อยู่ใต้การปกครองของโรม จักรวรรดิโรมันต่อต้านคริสต์ศาสนาอย่าง รุนแรง จนถึง ค.ศ. 313 จักรพรรดิคอนส แตนตินมหาราช ประกาศกฤษฎีกาให้ เสรีภาพในการนับถือศาสนาคริสต์ ทำาให้ คริสต์ศาสนาได้รับการยอมรับอย่างแพร่ หลาย มีผลให้จักรวรรดิโรมันเป็น จักรวรรดิของคริสต์ศาสนา
  • 74. ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึงคริสต์ ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันอ่อนแอลงตาม ลำาดับ จนในที่สุดกรุงโรมถูกพวก อนารยชนเผ่าเยอรมันหรือเผ่ากอท (Goth) เข้าปล้นสะดมหลายครั้ง จักรพรรดิของ โรมันองค์สุดท้ายถูกอนารยชนขับออกจาก บัลลังก์ใน ค.ศ.476 จึงถือกันว่าปีดังกล่าว เป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันและ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
  • 76. สถาปัตยกรรม นิยมสร้างอาคารต่างๆเพื่อสนองความ ต้องการของรัฐและประโยชน์ใช้สอยของ สาธารณชน เช่น สร้างโรงมหรสพขนาด ใหญ่ เรียกว่า โคลอสเซียม (Colosseum) สร้างท่อส่งนำ้า ถนนและสะพานขนาดใหญ่ที่ แสดงให้เห็นถึงความสามารถเชิงวิศวกรรม งานทางด้านสถาปัตยกรรมจะเน้นความใหญ่ โต แข็งแรงทนทาน ได้พัฒนาเทคนิคใน การออกแบบก่อสร้างของกรีกเป็นประตูทาง โค้ง (arch) และเปลยี่นหลังคาแบบจั่วเป็น โดม (dome)
  • 77. ประติมากรรม สะท้อนบุคลิกภาพของมนุษย์อย่าง สมจริงตามธรรมชาติ มีสัดส่วนงดงาม เหมือนกรีก แต่โรมันจะพัฒนาศิลปะด้าน การแกะสลักรูปเหมือนของบุคคลสำาคัญๆ โดยเฉพาะในท่าครึ่งท่อนบนได้อย่าง สมบูรณ์ เพราะสามารถทำาให้หินอ่อนแกะ สลักนนั้ดูมีชีวิต อีกทั้งสะท้อนบุคลิกภาพ ของบุคคลที่เป็นแบบอย่างสมจริงที่สุด นอกจากนี้ชาวโรมันยังได้พัฒนาศิลปะการ แกะสลักภาพนูนตำ่า เพื่อบันทึกเรื่องราวหรือ เหตุการณ์สำาคัญทางประวัติศาสตร์ และ สดุดีวีรกรรมของนักรบ
  • 78. วรรณกรรม งานประพันธ์ของโรมันมีวัตถุประสงค์ที่ แตกต่างจากกรีก งานประพันธ์ของกรีกมี สีสันและจินตนาการที่กว้างไกล เรื่องเทพ ปกรณัม หรือประเภทปรัชญาที่ลึกซึ้ง แต่ งานประพันธ์ที่เป็นของโรมันแท้ๆจะมีวัตุ ประสงค์ที่จะรับใช้จักรวรรดิของตน งาน ประเภทนี้จะงาสนดุเขีดียคนวาขอมง ยิ่งใหญ่ของชาวโรมัน เวอร์จิล ( Virgil 70-ก่อนคริสต์ศักราช) ได้19 เรื่อแก่ ปี งอี นีอิด (Aeneid) ซงึ่เป็นมหา กาพย์ว่าด้วยความเป็นมา ของกรุงโรม สอดแทรกคำา สอนเกี่ยวกับหน้าที่ และ ความจงรักภักดีต่อ
  • 79. งานประพันธ์ร้อยแก้วของซิเซโร (Cicero 106-43 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นข้อเขียนทางการเมือง และจริยธรรมในรูปแบบของสุนทรพจน์และจดหมาย ซิ เซโรใช้ภาษาละตินทสี่ละสลวย มีระเบียบแบบแผนใน งานประพันธ์ร้อยแก้วของเขา ซงึ่เป็นแม่แบบของการ ใช้ภาษาละตินทุกยุคทุกสมัยต่อมา ดังนั้นซิเซโรจึงได้ รับการยกย่องให้เป็นผู้ให้กำาเนิดคำาประพันธ์ประเภท ร้อยแก้ว งานประพันธ์ของเขายังมีลักษณะพิเศษทใี่ช้ โวหารในการเสียดสีประชดประชัน (Satire) พฤติกรรม
  • 80. นอกจากนี้ก็มีงานประวัติศาสตร์ที่เน้น ความยิ่งใหญ่ของโรม เช่น งานเขียนเรอื่ง บันทึกสงครามกอล (Commentaries on the Gallic War) ของจู เลียส ซีซาร์ (Julius Caesar 100-44 ปีก่อน คริสต์ศักราช) ประวัติศาสตร์กรุง โรม (History of Rome) ของลีวี (Livy 59 ปีก่อน คริสต์ศักราช-ค.ศ.17)
  • 81. งานเขียนเกยี่วกับอนารยชน เรอื่งชนเผ่า เยอรมัน (Germania) ของแทกซิตัส (Tacitus ค.ศ. 55-117) ซึ่งยังเป็นที่นิยมอ่านและศึกษาจนถึง ปัจจุบัน
  • 82. วิศวกรรม โรมันประสบความสำาเร็จในการสร้าง ถนนคอนกรีตที่มีความแข็งแรงทนทานสอง ข้างถนนมีท่อระบายนำ้าและมีหลักบอกระยะ ทาง ถนนที่ยังใช้มาถึงปัจจุบัน ได้แก่ ถนนแอปเพียน (Appian Ways) ในประเทศ อิตาลี นอกจากนยีั้งสร้างท่อส่งนำ้าหลาย แห่งเพื่อนำานำ้าจากภูเขาไปสเู่มืองใกล้เคียง ท่อส่งนำ้าที่ปัจจุบันยังใช้อยู่ เช่น ท่อส่งนำ้าที่ เมืองนีมส์ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส
  • 83. ปฏิทิน เดิมชาวโรมันใช้ปฏิทินจันทรคติ ปี หนงึ่มี 10 เดือน ภายหลังเพิ่มเป็น 12 เดือน แต่ก็ยังมีความคลาดเคลื่อนไปจากฤดูกาล จนกระทั่งเมื่อ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช จูเลีย ส ซีซาร์ ให้ใช้ปฏิทินจูเลียนซึ่งเป็นแบบ สุริยคติ ปีหนงึ่มี 12 เดือน แต่ละปีมี 365 วัน และให้เพิ่มวันในเดือนกุมภาพันธ์ในทุก 4 ปี ให้เป็นปีที่มี 366 วัน ปฏิทินจูเลียนใช้ มานานถึง 1,600 ปี จึงมีการปรับปรุงเป็น ปฏิทินเกรกอเรียนใน ค.ศ. 1582
  • 84. กฎหมาย ในระยะแรกกฎหมายโรมันไม่ได้เขียน เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นระบบ กฎหมายยังมีลักษณะผสมกลมกลืนกับศาสนา แต่ต่อมากฎหมายโรมันได้เปลี่ยนแปลงทีละ เล็กทีละน้อยจากข้อบัญญัติของพระเจ้ามาเป็น กฎหมายบ้านเมือง ในที่สุดก็ได้มีการตรา กฎหมายสิบสองโต๊ะ (Law of Twelve Tables) เพื่อให้ความยุติธรรมแก่ชาวโรมัน อย่างทัดเทียมกันใน 450 ปีก่อนคริสต์ศักราช
  • 85. จากนั้นกฎหมายของโรมันก็ วิวัฒนาการเป็นระบบมากขึ้น และใช้บังคับ ประชาชนทั่วไปในจักรวรรดิโดยไม่จำากัด เชอื้ชาติ และให้ความยุติธรรมแก่ ประชาชนยงิ่ขึ้น แม้แต่ทาสซึ่งโรมันไม่นับ เป็นพลเมืองก็มีสิทธิที่จะอุทรณ์เรียกร้อง ความยุติธรรมจากบ้านเมืองได้ในกรณีที่ ถูกเจ้านายทำาทารุณกรรม ประมวล กฎหมายของโรมันนี้เป็นรากฐานของ ประมวลกฎหมายของประเทศต่างๆ เช่น อิตาลี ฝรั่งเศส สเปน สกอตแลนด์ ญี่ปนุ่
  • 86. แม้แต่กฎหมายของวัด (Cannon Law) ในสมัยกลาง (Middle Ages) ก็ยังแสดงให้ เห็นถึงอิทธิพลของกฎหมายโรมันในสมัย จักรวรรดิจัสติเนียน (Justinian ค.ศ. 527-565) แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือจักรวรรดิโรมัน ตะวันออก ซึ่งได้รวบรวมและจัดประมวล กฎหมายโรมันเป็นหมวดหมู่ เรียกว่า