SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์
ิ
การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ เราจะอาศัยหลักฐานที่
ิ
เป็ นลายลักษณ์ อักษรเป็ นเกณฑ์ ได้ แก่ สมัยก่ อนประวัตศาสตร์
ิ
(Prehistorical Period) เป็ นสมัยที่มนุษย์ ยังไม่ มีตวอักษรสําหรับ
ั
บันทึกเรื่องราว และ สมัยประวัตศาสตร์ (Historical Period)
ิ
เป็ นช่ วงที่มีตวอักษรใช้ บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ ต่างๆ แล้ ว
ั
สมัยก่ อนประวัตศาสตร์
ิ
เราจะอาศัยการศึกษาร่ องรอยการตังถิ่นฐานของมนุษย์
้
ในช่ วงนีจงจําเป็ นต้ องอาศัยการวิเคราะห์ ตความจาก
้ึ
ี
หลักฐานชันต้ นที่ได้ จากการสํารวจทางโบราณคดี เช่ น
้
เครื่องมือเครื่องใช้ ท่ ทาด้ วยหิน โลหะ เครื่อง ประดับ
ี ํ
เครื่องปั ้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนสีตาม
ฝาผนังถํา
้
ยุคหิ น (Stone Age)

ยุคหินเก่า

ยุคหินกลาง

ยุคหินใหม่
ยุคหิ นเก่า (Paleolitic Period)
ลักษณะสังคมเป็ นสังคมล่ าสัตว์ และหาพืชผักผลไม้ ป่าเป็ น
อาหาร และอาศัยอยู่ตามถํา บริเวณที่อุดมสมบรู ณ์ และยังพบว่ า
้
มนุษย์ มีความสามารถด้ านศิลปะ ซึ่งพบภาพวาดตามผนังถําที่ใช้
้
ฝุ่ นสีต่างๆ
เราสามารถแบ่งยุคหินเก่าได้ เป็ น 3 ช่วง

ยุคหินเก่า
ตอนต้ น
ยุคหินเก่า
ตอนกลาง
ยุคหินเก่าตอน
ปลาย

• ประมาณ 2500000-180000 ปี มาแล้ ว
• เครื่ องมือทําด้ วยหินลักษณะเป็ นขวานกะเทาะแบบ
กําปั ้น
• ประมาณ 180000-49000 ปี มาแล้ ว
• เครื่ องมือทําด้ วยหินมีลักษณะแหลมคม ด้ ามยาวขึน มี
้
ประโยชน์ ใช้ สอยมากกว่ าเดิม
• ประมาณ 49000-10500 ปี มาแล้ ว
• เครื่ องมือทําจากหินและกระดูกสัตว์ เช่ น ฉมวก หัวลูกศร
และทําเครื่ องประดับจากเปลือกหอย
ยุคหิ นกลาง (Mesolithic Period)
ประมาณ 10500-10000 ปี ล่ วงมาแล้ ว มนุษย์ ในช่ วงเวลานี ้
เริ่มมีการนําวัสดุธรรมชาติมาใช้ ประโยชน์ เช่ น ทําตะกร้ าสาน ทํารถ
ลาก และเครื่องมือเครื่องใช้ ท่ ทาด้ วยหินก็มีความประณีตมากขึน
ี ํ
้
ตลอดจนรู้ จักนําสุนัขมาเลียงเป็ นสัตว์ เลียง โดยมักตังหลักแหล่ งอยู่
้
้
้
ตามแหล่ งนํา ชายฝั่ งทะเล ประกอบอาชีพประมง ล่ าสัตว์ และ
้
บริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์
ยุคหิ นใหม่(Neolithic Period)
มนุษย์ ในยุคนีอาศัยรวมกันอยู่เป็ นหมู่บ้าน ดํารงชีวิตด้ วย
้
การเพาะปลูกและเลียงสัตว์ การเพาะปลูกได้ เปลี่ยนวิถีชีวิตของ
้
มนุษย์ จากสังคมล่ าสัตว์ มาเป็ นสังคมเกษตรกรรม ที่ตงถิ่นฐาน
ั้
เป็ นหลักแหล่ ง มีการสร้ างที่พักอาศัยถาวรเป็ นกระท่ อมดิน
เหนียวและตังหลักแหล่ งตามบริเวณลุ่มนํา ยุคหินใหม่ เป็ นยุค
้
้
เกษตรกรรม มีการทอผ้ า ทําเครื่องปั ้นดินเผา
มนุษย์ หนใหม่ ยังคงมีความเชื่อและประกอบพิธีกรรม เพื่อ
ิ
บูชาสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยเฉพาะการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้
พืชที่เพาะปลูกเจริญงอกงาม มีฝนตกตามฤดูกาล เช่ น สโตน
เฮนจ์
ยุคโลหะ (Metal Age)
โลหะชนิดแรกที่มนุษย์ ร้ ูจักนํามาหลอมเป็ นเครื่องมือ
เครื่องใช้ คือ ทองแดง ปรากฏหลักฐานในบริเวณลุ่มแม่ นําไทกริส
้
และยูเฟรทิส ซึ่งนําทองแดงมาใช้ ประโยชน์ ในด้ านต่ างๆ
ยุคสําริ ด(Bronze Age)
สําริดเป็ นโลหะผสม
ระหว่ างทองแดงกับดีบุก นํามา
ขึนรูปทําเป็ นเครื่องมือด้ วยการ
้
ตีหรื อหล่ อในแม่ พมพ์ เช่ น
ิ
ขวาน หอก ภาชนะ กําไล
ลูกปั ด ฯลฯ
ในยุคนีความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เปลี่ยนไปมากทังด้ าน
้
้
การเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็ นชุมชน
เมือง นําไปสู่พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็ นรั ฐในเวลาต่ อมา
แหล่ งอารยธรรมที่สาคัญๆ ของโลกล้ วนมีการพัฒนาการสังคม
ํ
จากช่ วงเวลาสมัยหินใหม่ และสมัยสําริด แหล่ งอารยธรรมของโลกที่
สําคัญและแหล่ งวัฒนธรรมบางแห่ ง เช่ น แหล่ งอารยธรรมเมโสโปเต
เมียในภูมิภาคเอเชียตะวันตก แหล่ งอารยธรรมลุ่มแม่ นําไนล์ ใน
้
อียปต์ แหล่ งอารยธรรมลุ่มแม่ นําสินธุในอินเดีย แหล่ งอารยธรรมลุ่ม
ิ
้
แม่ นําฮวงโหของจีน
้
ยุคโลหะ(Iron Age)
ช่ วงเวลานีมีการพัฒนาทางด้ าน
้
เทคโนโลยีการผลิตโลหะ ซึ่งการผลิตเหล็ก
ต้ องใช้ อุณหภูมิสูงมีกรรมวิธีท่ ย่ ุงยาก แต่ ถง
ี
ึ
อย่ างไรเหล็กก็มีความแข็งแกร่ งคงทนกว่ า
โลหะสําริดมาก จึงนําไปสู่พัฒนาการทาง
สังคม เป็ นรัฐที่กาลังทหารเข้ มแข็ง ขยาย
ํ
เป็ นอาณาจักรได้ ต่อไป โดยอารยธรรมแห่ ง
แรกที่ผลิตเหล็กได้ คือ แหล่ งอารยธรรม
เมโสโปเตเมีย
สมัยประวัติศาสตร์
สมัยประวัตศาสตร์ เป็ นช่ วงเวลาที่มีตัวอักษรใช้ จดบันทึกเรื่ องราว
ิ
เหตุการณ์ ต่างๆ โดย ใช้ หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร เช่ น จารึก
จดหมายเหตุ พงศาวดาร ตํานาน และหลักฐานที่ไม่ เป็ นลายลักษณ์
อักษร เช่ น เจดีย์ พระพุทธรู ป เทวรู ป เครื่ องใช้ เครื่ องประดับ เงิน
เหรี ยญ เป็ นต้ น
การศึกษาประวัตศาสตร์ สากลมีความ
ิ
แตกต่ างกันโดยประวัตศาสตร์ ตะวันออกแบ่ งยุค
ิ
สมัยทางประวัตศาสตร์ ตามช่ วงเวลาของแต่ ละ
ิ
ราชวงศ์ หรื อศูนย์ กลางอํานาจเป็ นเกณฑ์ ส่ วน
ตะวันตกใช้ เหตุการณ์ สาคัญทางประวัตศาสตร์
ํ
ิ
เป็ นเกณฑ์ ในการแบ่ งยุค
การแบ่ งยุคสมัยประวัตศาสตร์ ตะวันออก
ิ
1.การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ จีน สามารถ
ิ
แบ่ งออกได้ เป็ น
• ประวัตศาสตร์ จีนสมัยโบราณ
ิ
• ประวัตศาสตร์ จีนสมัยกลาง
ิ
• ประวัตศาสตร์ จีนสมัยใหม่
ิ
• ประวัตศาสตร์ จีนสมัยปั จจุบัน
ิ
ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ
ช่ วงเวลาการเริ่มต้ นจากรากฐานอารยธรรมจีน ตังแต่ สมัย
้
ประวัตศาสตร์ ท่ มีการสร้ างสรรค์ วัฒนธรรมหยางเซา วัฒนธรรม
ิ
ี
หลงซาน อันเป็ นวัฒนธรรมเครื่ องปั ้นดินเผาและโลหะสําริด
ต่ อมาเข้ าสู่สมัยประวัตศาสตร์ ราชวงศ์ ต่าง ๆ ได้ ปกครอง
ิ
ประเทศ ได้ แก่ ราชวงศ์ เซียะ และราชวงศ์ ชาง ช่ วงเวลาที่จีนเริ่ม
ก่ อตัวเป็ นรัฐที่มีรากฐานการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม
ราชวงศ์ โจว ซึ่งแบ่ งออกเป็ นราชวงศ์ โจวตะวันตก และราชวงศ์ โจ
วตะวันออก เมื่อราชวงศ์ โจวตะวันออกเสื่อมลง เกิดสงคราม
ระหว่ างเจ้ าผู้ครองรัฐต่ าง ๆ ในที่สุดราชวงศ์ ฉิน รวบรวมก่ อตัง
้
ราชวงศ์ และสมัยราชวงศ์ ฮ่ ัน เป็ นสมัยที่รวมศูนย์ อานาจจนเป็ น
ํ
จักรพรรดิ
ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง
อารยธรรมมีการปรั บตัวเพื่อรั บอิทธิพล ต่ างชาติเข้ ามา
ผสมผสานในสังคมจีน ที่สาคัญคือพระพุทธศาสนา ประวัตศาสตร์
ํ
ิ
จีนสมัยกลางเริ่มสมัยด้ วยความวุ่นวายจากการล่ มสลายของ
ราชวงศ์ ฮ่ ัน เรียกว่ าสมัยความแตกแยกทางการเมือง เป็ นช่ วงเวลา
การยึดครอบของชาวต่ างชาติ การแบ่ งแยกดินแดน ก่ อนที่จะมีการ
รวมประเทศในสมัยราชวงศ์ สุย สมัยราชวงศ์ ถัง ช่ วงเวลานีประเทศ
้
จีนเจริญรุ่ งเรืองสูงสุดก่ อนที่จะแตกแยกอีกครั ง ในสมัยห้ าราชวงศ์
้
กับสิบรัฐ ต่ อมาสมัยราชวงศ์ ซ่ง สามารถรวบรวมประเทศจีนได้ อีก
ครั ง และมีความเจริญรุ่ งเรื องทางศิลปวัฒนธรรม จนกระทั่งชาว
้
มองโกลสามารถยึดครองประเทศจีนและสถาปนาราชวงศ์ หยวน
ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่
ประวัตศาสตร์ จีนสมัยใหม่ เริ่มใน ค.ศ. 1368 เมื่อชาวจีนขับ
ิ
ไล่ พวกมองโกลออกไป แล้ วสถาปนาราชวงศ์ หมิง ขึนปกครอง
้
ประเทศจีน และถูกโค่ นล้ มอีกครั งโดยราชวงศ์ ซง ในช่ วงปลาย
้
ิ
สมัยราชวงศ์ ชิงเป็ นเวลาที่ประเทศจีนถูกคุกคามจากชาติ
ตะวันตก และจีนพ่ ายแพ้ แก่ อังกฤษในสงครามฝิ่ น จนสินสุด
้
ราชวงศ์ ใน ค.ศ. 1911
สงครามฝิ่ น
ประวัติศาสตร์จีนสมัยปั จจุบน
ั
ประวัตศาสตร์ จีนสมัยปั จจุบันเริ่มต้ นใน ค.ศ. 1911 เมื่อจีน
ิ
ปฏิวัตเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ิ
มาเป็ น ระบอบสาธารณรั ฐโดย ดร.ซุน ยัตเซน ต่ อมาพรรค
คอมมิวนิสต์ ได้ ปฏิวัตและได้ ปกครองจีน จึงเปลี่ยนแปลงการ
ิ
ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ตังแต่ ค.ศ. 1949 จนถึงปั จจุบัน
้

ดร.ซุน ยัตเซน
2.การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่น
ิ
การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่น ใช้ พัฒนาการของ
ิ
อารยธรรมและช่ วงเวลาตามศูนย์ กลางอํานาจการปกครองเป็ น
เกณฑ์ ใน การแบ่ งยุคสมัย สาเหตุท่ ใช้ เกณฑ์ การแบ่ งยุคสมัย
ี
เนื่องจากจักรพรรดิท่ เป็ นประมุขของญี่ปุ่น มีเพียงราชวงศ์ เดียว
ี
ตังแต่ อดีตมาจนถึงปั จจุบัน โดยอํานาจการปกครองในช่ วงเวลา
้
ส่ วนใหญ่ อยู่ในตระกูลนักรบต่ าง ๆ สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น
• ประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่นสมัยโบราณ
ิ
• ประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่นสมัยกลาง
ิ
• ประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่นสมัยใหม่
ิ
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโบราณ
เมื่อมนุษย์ เข้ ามาตังถิ่นฐานในหมู่เกาะญี่ปุ่นจนถึงช่ วงที่ญ่ ปุ่น
้
ี
รบเอาอารยธรรมจากจีน แบ่ งออกเป็ นสมัยต่ าง ๆ เช่ น สมัย
โจมอน เป็ นวัฒนธรรมสมัยหินและเครื่องปั ้นดินเผา สมัยยะโยอิ
เป็ นสมัยโลหะและสังคมกสิกรรม และสมัยโคะฟุง เป็ นสมัยของ
การก่ อตังรัฐและจัดระเบียบทางสังคม
้

กระจกสัมฤทธิ์ หนึ่งในวัตถุโบราณของยุคยะโยอิ
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยกลาง
ญี่ปุ่นรับเอาอารยธรรมจีนและพุทธศาสนาเข้ ามาในประเทศ
ประวัตศาสตร์ สมัยกลางแบ่ งได้ เป็ นสมัยอาสุกะ สมัยนารา เมือง
ิ
หลวงอยู่ท่ เมืองนารา สมัยเฮอัน เมืองหลวงอยู่ท่ เมืองเฮอัน(ปั จจุบัน
ี
ี
คือเมืองเกียวโต) ซึ่งจักรพรรดิมีอานาจปกครอง สมัยคามากุระ เป็ น
ํ
สมัยที่โชกุนตระกูลมินาโมโตมีอานาจปกครองประเทศ มีเมืองหลวง
ํ
อยู่ท่ เมืองคามากุระ ต่ อมาตระกูลอาชิกางะได้ โค่ นล้ มตระกูลมินาโม
ี
โตและเป็ นโชกุนแทนที่
ในค.ศ. 1333 โชกุนตระกูลาชิกางะมีศูนย์ กลางการปกครองที่
เมืองมูโรมาจิเขตเมืองเกียวโต สมัยของมูโรมาจิสินสุดเมื่อเกิด
้
สงครามระหว่ างตระกูลต่ าง ๆเป็ นสงครามกลางเมืองใน ค.ศ. 1573
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยใหม่
สมัยใหม่ ของญี่ปุ่นเริ่มในสมัยสงคราม กลางเมืองหรือสมัยโม
โมยามะ จนกระทั่งโตกุกาวา อิเอยาสุได้ ยุตสงครามกลางเมือง
ิ
และสถาปนาระบอบโชกุนตระกูลโตกุกาวา ศูนย์ กลาง การ
ปกครองที่เมืองเอโดะ ดังนันสมัยเอโดะ เป็ นช่ วงที่ระบบศักดินา
้
เจริญสูงสุด ค.ศ. 1868 โชกุนถวายอํานาจการปกครองคืนแก่
จักรพรรดิ จากนันญี่ปุ่นได้ เข้ าสู่สมัยเมจิ ซึ่งเป็ นสมัยของการ
้
ปฏิรูปญี่ปุ่นให้ ทนสมัยแบบตะวันตก
ั
3.การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ อนเดีย
ิ
ิ
การแบ่ งยุคสมัยทาง
ประวัตศาสตร์ อนเดีย แบ่ ง
ิ
ิ
ออกเป็ น สมัยโบราณ สมัยกลาง
และสมัยใหม่ แต่ ละยุคสมัยจํามี
การแบ่ งเป็ นยุคสมัยย่ อยตาม
ช่ วงเวลาของแต่ ละราชวงศ์ ท่ มี
ี
อิทธิพลเหนืออินเดียขณะนัน
้
ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ
ประวัตศาสตร์ อนเดียโบราณตังแต่ สมัยอารยธรรมลุ่ม
ิ
ิ
้
แม่ นําสินธุ โดยมีพวกดราวิ-เดียน จนกระทั่งอารยธรรมแห่ งนี ้
้
ล่ มสลายลงเมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ ามาตังถิ่นฐานและก่ อตัง
้
้
อาณาจักรหลายอาณาจักรในภาคเหนือของอินเดีย นับว่ าเป็ น
ช่ วงเวลาที่การเริ่มสร้ างสรรค์ อารยธรรมอินเดียที่แท้ จริง มีการ
ก่ อตังศาสนาต่ าง ๆ เรี ยกว่ า สมัยพระเวท สมัยมหากาพย์
้

อักษร บรามิ ลิปิ
ต่ อมาอินเดียรวมตัวกันในสมัยราชวงศ์ มคธ และมีการรวมตัวอย่ าง
แท้ จริงในสมัยราชวงศ์ เมารยะ ระยะเวลานีเ้ ป็ นเวลาทีอนเดียเปิ ดเผยแผ่
่ิ
พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่ าง ๆ ต่ อมาราชวงศ์ เมารยะล่ มสลายอินเดียก็เข้ า
สู่ สมัยแห่ งการแตกแยกและการรุ กราน จากภายนอก จากพวกกรีกระยะเวลานี้
เป็ นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรมก่ อนทีจะรวมเป็ นจักรวรรดิได้ อกครั้ง
่
ี
โดยราชวงศ์ คุปตะ
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง
อินเดียเข้ าสู่สมัยกลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1525 สมัยนีเ้ ป็ น
ช่ วงเวลาของความวุ่นวายทางการเมือง และการรุ กรานจาก
ต่ างชาติ โดยพาชาวมุสลิม สมัยกลางจึงเป็ นสมัยที่อารยธรรม
มุสลิมเข้ ามามีอทธิพลในอินเดีย สมัยกลางแบ่ งได้ เป็ นสมัยความ
ิ
แตกแยกทางการเมือง และสมัยสุลต่ านแห่ งเดลลี
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่

ประวัตศาสตร์ อินเดียสมัยใหม่
ิ
เป็ นช่ วงเวลาที่วัฒนธรรมเปอร์ เซียและ
พวกโมกุลได้ ตงราชวงศ์ วัฒนธรรมตะวันตกเข้ ามาในสังคมอินเดีย
ั้
โมกุลถือว่ าสมัยโมกุล เป็ น
ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้
ยึดมั่นในศาสนาของตนเองมากขึน และ
้
การเริ่มต้ นสมัยใหม่
เกิดความแตกแยกในสังคมอินเดีย ดังนัน
้
จนกระทั่งอังกฤษเข้ า
ประวัตศาสตร์ อินเดียสมัยใหม่ สามารถ
ิ
ปกครองอินเดียโดยตรง
แบ่ งได้ เป็ นสมัยราชวงศ์ โมกุล สมัยอังกฤษ
จนถึง ค.ศ. 1947 อินเดียจึง
ได้ รับเอกราช ภายหลังได้ รับ ปกครองอินเดีย อย่ างไรก็ตาม สมัยที่
วัฒนธรรมมุสลิมเข้ ามามีอิทธิพลในอารย
เอกราชและถูกแบ่ งออกเป็ น
ธรรมอินเดียเรี ยก รวมว่ า สมัยมุสลิม
ประเทศต่ าง ๆ ได้ แก่ อินเดีย
หมายถึง รวมสมัยสุลต่ านแห่ งเดลฮีกับ
ปากีสถาน และบังคลาเทศ
สมัยราชวงศ์ โมกุล
การแบ่ งยุคสมัยประวัตศาสตร์ ตะวันตก
ิ
1.ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
เริ่มเกิดขึนเป็ นครั งแรกบริเวณ
้
้
ดินแดนเมโสโปเตเมียแถบลุ่มแม่ นํา
้
ไทกริส-ยูเฟรทีส และดินแดนอียปต์
ิ
แถบลุ่มแม่ นําไนล์ ท่ ชาวเมโสโปเต
้
ี
เมียและชาวอียปต์ ร้ ูจัก ประดิษฐ์
ิ
ตัวอักษรได้ เมื่อ 3,500 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช จากนันอิทธิพลของความ
้
เจริญของสองอารยธรรมก็ได้
แพร่ หลายไปยังทางใต้ ของยุโรป สู่
เกาะครี ต

ต่ อมาชาวกรี กได้ รับ
เอาความเจริญจากเกาะครี ต
และของอียปต์ มาสร้ างสม
ิ
เป็ นอารยธรรมกรี กขึน และ
้
เมื่อชาวโรมันในแหลมอิตาลี
ยึดครองกรี กได้ ชาวโรมันก็
นําอารยธรรมกรีกกลับไปยัง
โรมและสร้ างสมอารยธรรม
โรมันขึน
้
ต่ อมาเมื่อชาวโรมันสถาปนาจักรวรรดิโรมัน
พร้ อมกับขยายอาณาเขตของตนไป อารยธรรม
โรมันจึงแพร่ ขยายออกไป จนกระทั่งจักรวรรดิโรมัน
ล่ มสลายลงเมื่อพวกอนารยชนเผ่ าเยอรมันเข้ ายึด
กรุ งโรมได้ ใน ค.ศ. 476 ประวัตศาสตร์ สมัยโบราณ
ิ
ของชาติตะวันตกจึงสินสุดลง
้
2..ประวัติศาสตร์ สมัยกลาง
เริ่มตังแต่ การสินสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476
้
้
เมื่อถูกพวกอนารยชนเยอรมันเผ่ าวิสิกอธโจมตี ถือเป็ นจุดสินสุด
้
ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่ ม
สลายลง สภาพทั่วไปของกรุ งโรมเต็มไปด้ วยความวุ่นวาย
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอ่ อนแอ ประชาชนอดอยาก มี
ปั ญหาเรื่องโจรผู้ร้าย เนื่องจากช่ วงเวลานียุโรปตะวันตกไม่ มี
้
จักรวรรดิท่ ย่ งใหญ่ ปกครองดังเช่ น จักรวรรดิโรมัน
ี ิ
นอกจากนียังถูกพวกอนารยชนเผ่ าต่ างๆเข้ ามารุ กรานจึง
้
ส่ งผลให้ อารยธรรมกรี กและ โรมันอันเจริญรุ่ งเรื องในยุโรป
ตะวันตกได้ หยุดชะงักลง นักประวัตศาสตร์ สมัยก่ อนจึงเรียกช่ วง
ิ
สมัยนีอีกชื่อหนึ่งว่ า ยุคมืด (Dark Ages) หลังจากนันศูนย์ กลางของ
้
้
อํานาจยุโรปได้ ย้ายไปอยู่ท่ เมืองไบแซนไทน์ ซึ่งอยู่ในประเทศตุรกี
ี
ปั จจุบัน โดยจักรพรรดิคอนสแตนตินเป็ นผู้สถาปนาจักรวรรดิแห่ ง
ใหม่ ท่ มีความเจริญรุ่ งเรื อง ซึ่งต่ อมาเป็ นที่ร้ ู จักกันในชื่อ คอนสแตน
ี
ติโนเปิ ล
Dark Ages

ประวัตศาสตร์ สมัยกลางมีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรม
ิ
ตะวันตกจากอารยธรรมโรมันไปสู่คริสต์ ศาสนา ได้ รับอิทธิพลอย่ าง
มากจากคริสต์ ศาสนา ทังทางด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ
้
ศิลปวัฒนธรรม นอกจากนีสังคมสมัยกลางยังมีลักษณะเป็ นสังคม
้
ในระบบฟิ วดัล หรือสังคมระบบศักดินาสวามิภกดิ์ ที่ขุนนางมี
ั
อํานาจครอบครองพืนที่ โดยประชาชนส่ วนใหญ่ มีฐานะเป็ นข้ าติด
้
ที่ดน และดํารงชีวิตอยู่ในเขตแมเนอร์ ของขุนนาง ซึ่งเป็ นลักษณะ
ิ
พิเศษของสังคมสมัยกลาง
นอกจากนีในสมัยกลางนีได้
้
้
เกิดเหตุการณ์ สาคัญ คือ สงคราม
ํ
ครู เสด ซึ่งเป็ นสงครามความ
ขัดแย้ งระหว่ างคริสต์ ศาสนากับ
ศาสนาอิสลาม ที่กินเวลาเกือบ
200 ปี เป็ นผลให้ เกิดการค้ นหา
เส้ นทางการค้ าทางทะเลและ
วิทยาการด้ านอื่นๆ ตามมา สมัย
กลางสินสุดใน ค.ศ. 1453 เมื่อ
้
พวกออตโตมันเติร์กสามารถยึด
กรุ งคอนสแตนติโนเปิ ลของ
จักรวรรดิโรมันตะวันตกได้

สงครามครู เสด
3.ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัตศาสตร์ ตะวันตกสมัยใหม่ ถือว่ าเริ่มต้ นใน ค.ศ.
ิ
1453 เป็ นปี ที่ชนเผ่ าเติร์กโจมตีและสามารถยึดกรุ งคอนสแตน
ติโนเปิ ลได้ ทําให้ ศูนย์ กลางความเจริญกลับมาอยู่ในยุโรป
ตะวันตกอีกครัง ในระหว่ างนีในยุโรปตะวันตกเองกําลังมี
้
้
ความเจริญก้ าวหน้ าทางด้ านความคิดและ ศิลปวิทยาการ
ต่ างๆ จากพัฒนาการของการฟื ้ นฟูศิลปวิทยาการที่ดาเนินมา
ํ
ยุโรปจึงกลับมารุ่ งเรื องอีกครัง ในครั งนีได้ มีการสํารวจและ
้
้ ้
ขยายดินแดนออกไปกว้ างไกลจนเกิดเป็ นยุคล่ าอาณานิคม
ต่ อมานําไปสู่ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ กลายเป็ นสงครามใหญ่
ที่เรี ยกกันว่ าสงครามโลกถึงสองครั งภายในเวลาห่ างกันเพียง 20 ปี
้
ในช่ วงเวลาเกือบห้ าร้ อยปี ของประวัตศาสตร์ สมัยใหม่ มีเหตุการณ์
ิ
สําคัญเกิดขึนมากมายที่โดดเด่ นและมีผลกระทบยาวไกลต่ อเนื่องมา
้
จนถึงโลกปั จจุบันได้ แก่ การสํารวจทางทะเล การปฏิวัตทาง
ิ
วิทยาศาสตร์ การปฏิวัตอุตสาหกรรม การกําเนิดแนวคิดทางการเมือง
ิ
ใหม่ (เสรี นิยม ชาตินิยม และประชาธิปไตย) การขยายดินแดนหรือการ
ล่ าอาณานิคม(จักรวรรดินิยม) และสงครามโลกสองครั ง
้

World
War
4.ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบน หรื อ ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย
ั
เริ่มตังแต่ สงครามโลกครั งที่ 2 สินสุดลง ซึ่งมีผลกระทบอย่ าง
้
้
้
รุ นแรงทั่วโลกและก่ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทังทางด้ าน
้
เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครองของสังคมโลกในปั จจุบัน
โดยช่ วงประวัตศาสตร์ สมัยปั จจุบันมีเหตุการณ์ ดังนี ้
ิ
สมัยสงครามเย็น
เมื่อสงครามโลกครั งที่ 2 สินสุดลงได้ เกิดการขัดแย้ ง
้
้
ทางด้ านอุดมการณ์ ทางการเมืองของสองอภิมหาอํานาจ คือ
สหรั ฐอเมริกาผู้นําค่ ายประชาธิปไตย และสหภาพโซเวียตผู้นําค่ าย
คอมมิวนิสต์
โดยแข่ งขันเกี่ยวกับลัทธิความเชื่อทางการเมืองและผลประโยชน์
ทางเศรษฐกิจ โดยปราศจากอาวุธ แต่ ใช้ วธีการโฆษณาชวนเชื่อเป็ นหลัก
ิ
ในการหาพันธมิตร สงครามเย็นสินสุดลงเมื่อผู้นําประเทศสหภาพโซ
้
เวียตได้ ปรั บนโยบายการเมืองทังภายในและภายนอกประเทศ ที่เน้ นการ
้
ร่ วมมือกับนานาประเทศในการแก้ ปัญหาต่ างๆ และปฏิรูปให้ เป็ น
ประชาธิปไตยมากขึน
้
รวมถึงมีการแข่ งขันกันทางด้ านอวกาศ สหภาพโซเวียตได้ ส่ง
ดาวเทียมดวงแรกสู่อวกาศ นั่นก็คือ สปุตนิก 1 ต่ อมาสหรั ฐอเมริกาจึงตัง
้
้
องค์ กร NASA และส่ งมนุษย์ ไปเหยียบดวงจันทร์ เป็ นครั งแรก
สมัยโลกาภิวัตน์
ตังแต่ ช่วงครั งหลังของคริสต์ ศตวรรษที่ 20 เป็ น
้
้
ช่ วงเวลาที่โลกมีความเจริญก้ าวหน้ าทางด้ าน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทังวิทยาการแขนง
้
ต่ างๆ ทําให้ ความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เจริญขึน รู้ จัก
้
ประดิษฐ์ คิดค้ นเครื่ องมือที่ทาให้ สะดวกสบาย ความ
ํ
เจริญทางด้ านการแพทย์ ทําให้ มนุษย์ มีชีวตยืนยาว
ิ
และมีคุณภาพ การคมนาคมขนส่ งข้ ามทวีปเป็ นไป
อย่ างรวดเร็ว หรื อการสื่อสารข้ อมูลแพร่ หลายที่ส่ ือ
ภาพและเสียงโดยผ่ านทางดาวเทียม อินเทอร์ เน็ต
โทรศัพท์ มือถือ เป็ นต้ น
บรรณานุกรม
•
•
•
•
•
•

http://jakkrit-history.blogspot.com/2010/08/blog-post_17.html
http://historyevidence.wordpress.com/การแบ่งยุคประวัตศ-4/
ิ
http://th.wikipedia.org/wiki/
http://zeeprae.wordpress.com/category/
http://www.baanjomyut.com/library/era_thailand.html
http://yosocial.wordpress.com/category
จัดทําโดย
นส.ธันยพร เดชเร
นส.วริศรา โสมทัต

ม.6.7 เลขที่ 22
ม.6.7 เลขที่ 28

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาJika Umachi
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลKamonchanok VrTen Poppy
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 

What's hot (20)

งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 

Viewers also liked (8)

7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
Nato
NatoNato
Nato
 
The marshall plan
The marshall planThe marshall plan
The marshall plan
 
โคมินทอร์
โคมินทอร์โคมินทอร์
โคมินทอร์
 
Berlin601
Berlin601Berlin601
Berlin601
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 

Similar to 1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.

Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1cgame002
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxNualmorakot Taweethong
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 

Similar to 1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ. (20)

Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
Pawat
PawatPawat
Pawat
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya

5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้งJitjaree Lertwilaiwittaya
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟูJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya (13)

5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
 

1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.

  • 2. การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ เราจะอาศัยหลักฐานที่ ิ เป็ นลายลักษณ์ อักษรเป็ นเกณฑ์ ได้ แก่ สมัยก่ อนประวัตศาสตร์ ิ (Prehistorical Period) เป็ นสมัยที่มนุษย์ ยังไม่ มีตวอักษรสําหรับ ั บันทึกเรื่องราว และ สมัยประวัตศาสตร์ (Historical Period) ิ เป็ นช่ วงที่มีตวอักษรใช้ บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ ต่างๆ แล้ ว ั
  • 3. สมัยก่ อนประวัตศาสตร์ ิ เราจะอาศัยการศึกษาร่ องรอยการตังถิ่นฐานของมนุษย์ ้ ในช่ วงนีจงจําเป็ นต้ องอาศัยการวิเคราะห์ ตความจาก ้ึ ี หลักฐานชันต้ นที่ได้ จากการสํารวจทางโบราณคดี เช่ น ้ เครื่องมือเครื่องใช้ ท่ ทาด้ วยหิน โลหะ เครื่อง ประดับ ี ํ เครื่องปั ้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนสีตาม ฝาผนังถํา ้
  • 4. ยุคหิ น (Stone Age) ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง ยุคหินใหม่
  • 5. ยุคหิ นเก่า (Paleolitic Period) ลักษณะสังคมเป็ นสังคมล่ าสัตว์ และหาพืชผักผลไม้ ป่าเป็ น อาหาร และอาศัยอยู่ตามถํา บริเวณที่อุดมสมบรู ณ์ และยังพบว่ า ้ มนุษย์ มีความสามารถด้ านศิลปะ ซึ่งพบภาพวาดตามผนังถําที่ใช้ ้ ฝุ่ นสีต่างๆ
  • 6. เราสามารถแบ่งยุคหินเก่าได้ เป็ น 3 ช่วง ยุคหินเก่า ตอนต้ น ยุคหินเก่า ตอนกลาง ยุคหินเก่าตอน ปลาย • ประมาณ 2500000-180000 ปี มาแล้ ว • เครื่ องมือทําด้ วยหินลักษณะเป็ นขวานกะเทาะแบบ กําปั ้น • ประมาณ 180000-49000 ปี มาแล้ ว • เครื่ องมือทําด้ วยหินมีลักษณะแหลมคม ด้ ามยาวขึน มี ้ ประโยชน์ ใช้ สอยมากกว่ าเดิม • ประมาณ 49000-10500 ปี มาแล้ ว • เครื่ องมือทําจากหินและกระดูกสัตว์ เช่ น ฉมวก หัวลูกศร และทําเครื่ องประดับจากเปลือกหอย
  • 7. ยุคหิ นกลาง (Mesolithic Period) ประมาณ 10500-10000 ปี ล่ วงมาแล้ ว มนุษย์ ในช่ วงเวลานี ้ เริ่มมีการนําวัสดุธรรมชาติมาใช้ ประโยชน์ เช่ น ทําตะกร้ าสาน ทํารถ ลาก และเครื่องมือเครื่องใช้ ท่ ทาด้ วยหินก็มีความประณีตมากขึน ี ํ ้ ตลอดจนรู้ จักนําสุนัขมาเลียงเป็ นสัตว์ เลียง โดยมักตังหลักแหล่ งอยู่ ้ ้ ้ ตามแหล่ งนํา ชายฝั่ งทะเล ประกอบอาชีพประมง ล่ าสัตว์ และ ้ บริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์
  • 8. ยุคหิ นใหม่(Neolithic Period) มนุษย์ ในยุคนีอาศัยรวมกันอยู่เป็ นหมู่บ้าน ดํารงชีวิตด้ วย ้ การเพาะปลูกและเลียงสัตว์ การเพาะปลูกได้ เปลี่ยนวิถีชีวิตของ ้ มนุษย์ จากสังคมล่ าสัตว์ มาเป็ นสังคมเกษตรกรรม ที่ตงถิ่นฐาน ั้ เป็ นหลักแหล่ ง มีการสร้ างที่พักอาศัยถาวรเป็ นกระท่ อมดิน เหนียวและตังหลักแหล่ งตามบริเวณลุ่มนํา ยุคหินใหม่ เป็ นยุค ้ ้ เกษตรกรรม มีการทอผ้ า ทําเครื่องปั ้นดินเผา
  • 9. มนุษย์ หนใหม่ ยังคงมีความเชื่อและประกอบพิธีกรรม เพื่อ ิ บูชาสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยเฉพาะการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อให้ พืชที่เพาะปลูกเจริญงอกงาม มีฝนตกตามฤดูกาล เช่ น สโตน เฮนจ์
  • 10. ยุคโลหะ (Metal Age) โลหะชนิดแรกที่มนุษย์ ร้ ูจักนํามาหลอมเป็ นเครื่องมือ เครื่องใช้ คือ ทองแดง ปรากฏหลักฐานในบริเวณลุ่มแม่ นําไทกริส ้ และยูเฟรทิส ซึ่งนําทองแดงมาใช้ ประโยชน์ ในด้ านต่ างๆ
  • 11. ยุคสําริ ด(Bronze Age) สําริดเป็ นโลหะผสม ระหว่ างทองแดงกับดีบุก นํามา ขึนรูปทําเป็ นเครื่องมือด้ วยการ ้ ตีหรื อหล่ อในแม่ พมพ์ เช่ น ิ ขวาน หอก ภาชนะ กําไล ลูกปั ด ฯลฯ ในยุคนีความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เปลี่ยนไปมากทังด้ าน ้ ้ การเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็ นชุมชน เมือง นําไปสู่พัฒนาการทางสังคมสู่ความเป็ นรั ฐในเวลาต่ อมา
  • 12. แหล่ งอารยธรรมที่สาคัญๆ ของโลกล้ วนมีการพัฒนาการสังคม ํ จากช่ วงเวลาสมัยหินใหม่ และสมัยสําริด แหล่ งอารยธรรมของโลกที่ สําคัญและแหล่ งวัฒนธรรมบางแห่ ง เช่ น แหล่ งอารยธรรมเมโสโปเต เมียในภูมิภาคเอเชียตะวันตก แหล่ งอารยธรรมลุ่มแม่ นําไนล์ ใน ้ อียปต์ แหล่ งอารยธรรมลุ่มแม่ นําสินธุในอินเดีย แหล่ งอารยธรรมลุ่ม ิ ้ แม่ นําฮวงโหของจีน ้
  • 13. ยุคโลหะ(Iron Age) ช่ วงเวลานีมีการพัฒนาทางด้ าน ้ เทคโนโลยีการผลิตโลหะ ซึ่งการผลิตเหล็ก ต้ องใช้ อุณหภูมิสูงมีกรรมวิธีท่ ย่ ุงยาก แต่ ถง ี ึ อย่ างไรเหล็กก็มีความแข็งแกร่ งคงทนกว่ า โลหะสําริดมาก จึงนําไปสู่พัฒนาการทาง สังคม เป็ นรัฐที่กาลังทหารเข้ มแข็ง ขยาย ํ เป็ นอาณาจักรได้ ต่อไป โดยอารยธรรมแห่ ง แรกที่ผลิตเหล็กได้ คือ แหล่ งอารยธรรม เมโสโปเตเมีย
  • 14. สมัยประวัติศาสตร์ สมัยประวัตศาสตร์ เป็ นช่ วงเวลาที่มีตัวอักษรใช้ จดบันทึกเรื่ องราว ิ เหตุการณ์ ต่างๆ โดย ใช้ หลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร เช่ น จารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร ตํานาน และหลักฐานที่ไม่ เป็ นลายลักษณ์ อักษร เช่ น เจดีย์ พระพุทธรู ป เทวรู ป เครื่ องใช้ เครื่ องประดับ เงิน เหรี ยญ เป็ นต้ น การศึกษาประวัตศาสตร์ สากลมีความ ิ แตกต่ างกันโดยประวัตศาสตร์ ตะวันออกแบ่ งยุค ิ สมัยทางประวัตศาสตร์ ตามช่ วงเวลาของแต่ ละ ิ ราชวงศ์ หรื อศูนย์ กลางอํานาจเป็ นเกณฑ์ ส่ วน ตะวันตกใช้ เหตุการณ์ สาคัญทางประวัตศาสตร์ ํ ิ เป็ นเกณฑ์ ในการแบ่ งยุค
  • 15. การแบ่ งยุคสมัยประวัตศาสตร์ ตะวันออก ิ 1.การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ จีน สามารถ ิ แบ่ งออกได้ เป็ น • ประวัตศาสตร์ จีนสมัยโบราณ ิ • ประวัตศาสตร์ จีนสมัยกลาง ิ • ประวัตศาสตร์ จีนสมัยใหม่ ิ • ประวัตศาสตร์ จีนสมัยปั จจุบัน ิ
  • 16. ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ ช่ วงเวลาการเริ่มต้ นจากรากฐานอารยธรรมจีน ตังแต่ สมัย ้ ประวัตศาสตร์ ท่ มีการสร้ างสรรค์ วัฒนธรรมหยางเซา วัฒนธรรม ิ ี หลงซาน อันเป็ นวัฒนธรรมเครื่ องปั ้นดินเผาและโลหะสําริด ต่ อมาเข้ าสู่สมัยประวัตศาสตร์ ราชวงศ์ ต่าง ๆ ได้ ปกครอง ิ ประเทศ ได้ แก่ ราชวงศ์ เซียะ และราชวงศ์ ชาง ช่ วงเวลาที่จีนเริ่ม ก่ อตัวเป็ นรัฐที่มีรากฐานการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม ราชวงศ์ โจว ซึ่งแบ่ งออกเป็ นราชวงศ์ โจวตะวันตก และราชวงศ์ โจ วตะวันออก เมื่อราชวงศ์ โจวตะวันออกเสื่อมลง เกิดสงคราม ระหว่ างเจ้ าผู้ครองรัฐต่ าง ๆ ในที่สุดราชวงศ์ ฉิน รวบรวมก่ อตัง ้ ราชวงศ์ และสมัยราชวงศ์ ฮ่ ัน เป็ นสมัยที่รวมศูนย์ อานาจจนเป็ น ํ จักรพรรดิ
  • 17. ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง อารยธรรมมีการปรั บตัวเพื่อรั บอิทธิพล ต่ างชาติเข้ ามา ผสมผสานในสังคมจีน ที่สาคัญคือพระพุทธศาสนา ประวัตศาสตร์ ํ ิ จีนสมัยกลางเริ่มสมัยด้ วยความวุ่นวายจากการล่ มสลายของ ราชวงศ์ ฮ่ ัน เรียกว่ าสมัยความแตกแยกทางการเมือง เป็ นช่ วงเวลา การยึดครอบของชาวต่ างชาติ การแบ่ งแยกดินแดน ก่ อนที่จะมีการ รวมประเทศในสมัยราชวงศ์ สุย สมัยราชวงศ์ ถัง ช่ วงเวลานีประเทศ ้ จีนเจริญรุ่ งเรืองสูงสุดก่ อนที่จะแตกแยกอีกครั ง ในสมัยห้ าราชวงศ์ ้ กับสิบรัฐ ต่ อมาสมัยราชวงศ์ ซ่ง สามารถรวบรวมประเทศจีนได้ อีก ครั ง และมีความเจริญรุ่ งเรื องทางศิลปวัฒนธรรม จนกระทั่งชาว ้ มองโกลสามารถยึดครองประเทศจีนและสถาปนาราชวงศ์ หยวน
  • 18. ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ ประวัตศาสตร์ จีนสมัยใหม่ เริ่มใน ค.ศ. 1368 เมื่อชาวจีนขับ ิ ไล่ พวกมองโกลออกไป แล้ วสถาปนาราชวงศ์ หมิง ขึนปกครอง ้ ประเทศจีน และถูกโค่ นล้ มอีกครั งโดยราชวงศ์ ซง ในช่ วงปลาย ้ ิ สมัยราชวงศ์ ชิงเป็ นเวลาที่ประเทศจีนถูกคุกคามจากชาติ ตะวันตก และจีนพ่ ายแพ้ แก่ อังกฤษในสงครามฝิ่ น จนสินสุด ้ ราชวงศ์ ใน ค.ศ. 1911 สงครามฝิ่ น
  • 19. ประวัติศาสตร์จีนสมัยปั จจุบน ั ประวัตศาสตร์ จีนสมัยปั จจุบันเริ่มต้ นใน ค.ศ. 1911 เมื่อจีน ิ ปฏิวัตเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ิ มาเป็ น ระบอบสาธารณรั ฐโดย ดร.ซุน ยัตเซน ต่ อมาพรรค คอมมิวนิสต์ ได้ ปฏิวัตและได้ ปกครองจีน จึงเปลี่ยนแปลงการ ิ ปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ตังแต่ ค.ศ. 1949 จนถึงปั จจุบัน ้ ดร.ซุน ยัตเซน
  • 20. 2.การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่น ิ การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่น ใช้ พัฒนาการของ ิ อารยธรรมและช่ วงเวลาตามศูนย์ กลางอํานาจการปกครองเป็ น เกณฑ์ ใน การแบ่ งยุคสมัย สาเหตุท่ ใช้ เกณฑ์ การแบ่ งยุคสมัย ี เนื่องจากจักรพรรดิท่ เป็ นประมุขของญี่ปุ่น มีเพียงราชวงศ์ เดียว ี ตังแต่ อดีตมาจนถึงปั จจุบัน โดยอํานาจการปกครองในช่ วงเวลา ้ ส่ วนใหญ่ อยู่ในตระกูลนักรบต่ าง ๆ สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น • ประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่นสมัยโบราณ ิ • ประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่นสมัยกลาง ิ • ประวัตศาสตร์ ญ่ ีปุ่นสมัยใหม่ ิ
  • 21. ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโบราณ เมื่อมนุษย์ เข้ ามาตังถิ่นฐานในหมู่เกาะญี่ปุ่นจนถึงช่ วงที่ญ่ ปุ่น ้ ี รบเอาอารยธรรมจากจีน แบ่ งออกเป็ นสมัยต่ าง ๆ เช่ น สมัย โจมอน เป็ นวัฒนธรรมสมัยหินและเครื่องปั ้นดินเผา สมัยยะโยอิ เป็ นสมัยโลหะและสังคมกสิกรรม และสมัยโคะฟุง เป็ นสมัยของ การก่ อตังรัฐและจัดระเบียบทางสังคม ้ กระจกสัมฤทธิ์ หนึ่งในวัตถุโบราณของยุคยะโยอิ
  • 22. ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยกลาง ญี่ปุ่นรับเอาอารยธรรมจีนและพุทธศาสนาเข้ ามาในประเทศ ประวัตศาสตร์ สมัยกลางแบ่ งได้ เป็ นสมัยอาสุกะ สมัยนารา เมือง ิ หลวงอยู่ท่ เมืองนารา สมัยเฮอัน เมืองหลวงอยู่ท่ เมืองเฮอัน(ปั จจุบัน ี ี คือเมืองเกียวโต) ซึ่งจักรพรรดิมีอานาจปกครอง สมัยคามากุระ เป็ น ํ สมัยที่โชกุนตระกูลมินาโมโตมีอานาจปกครองประเทศ มีเมืองหลวง ํ อยู่ท่ เมืองคามากุระ ต่ อมาตระกูลอาชิกางะได้ โค่ นล้ มตระกูลมินาโม ี โตและเป็ นโชกุนแทนที่ ในค.ศ. 1333 โชกุนตระกูลาชิกางะมีศูนย์ กลางการปกครองที่ เมืองมูโรมาจิเขตเมืองเกียวโต สมัยของมูโรมาจิสินสุดเมื่อเกิด ้ สงครามระหว่ างตระกูลต่ าง ๆเป็ นสงครามกลางเมืองใน ค.ศ. 1573
  • 23. ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยใหม่ สมัยใหม่ ของญี่ปุ่นเริ่มในสมัยสงคราม กลางเมืองหรือสมัยโม โมยามะ จนกระทั่งโตกุกาวา อิเอยาสุได้ ยุตสงครามกลางเมือง ิ และสถาปนาระบอบโชกุนตระกูลโตกุกาวา ศูนย์ กลาง การ ปกครองที่เมืองเอโดะ ดังนันสมัยเอโดะ เป็ นช่ วงที่ระบบศักดินา ้ เจริญสูงสุด ค.ศ. 1868 โชกุนถวายอํานาจการปกครองคืนแก่ จักรพรรดิ จากนันญี่ปุ่นได้ เข้ าสู่สมัยเมจิ ซึ่งเป็ นสมัยของการ ้ ปฏิรูปญี่ปุ่นให้ ทนสมัยแบบตะวันตก ั
  • 24. 3.การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศาสตร์ อนเดีย ิ ิ การแบ่ งยุคสมัยทาง ประวัตศาสตร์ อนเดีย แบ่ ง ิ ิ ออกเป็ น สมัยโบราณ สมัยกลาง และสมัยใหม่ แต่ ละยุคสมัยจํามี การแบ่ งเป็ นยุคสมัยย่ อยตาม ช่ วงเวลาของแต่ ละราชวงศ์ ท่ มี ี อิทธิพลเหนืออินเดียขณะนัน ้
  • 25. ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ ประวัตศาสตร์ อนเดียโบราณตังแต่ สมัยอารยธรรมลุ่ม ิ ิ ้ แม่ นําสินธุ โดยมีพวกดราวิ-เดียน จนกระทั่งอารยธรรมแห่ งนี ้ ้ ล่ มสลายลงเมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ ามาตังถิ่นฐานและก่ อตัง ้ ้ อาณาจักรหลายอาณาจักรในภาคเหนือของอินเดีย นับว่ าเป็ น ช่ วงเวลาที่การเริ่มสร้ างสรรค์ อารยธรรมอินเดียที่แท้ จริง มีการ ก่ อตังศาสนาต่ าง ๆ เรี ยกว่ า สมัยพระเวท สมัยมหากาพย์ ้ อักษร บรามิ ลิปิ
  • 26. ต่ อมาอินเดียรวมตัวกันในสมัยราชวงศ์ มคธ และมีการรวมตัวอย่ าง แท้ จริงในสมัยราชวงศ์ เมารยะ ระยะเวลานีเ้ ป็ นเวลาทีอนเดียเปิ ดเผยแผ่ ่ิ พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่ าง ๆ ต่ อมาราชวงศ์ เมารยะล่ มสลายอินเดียก็เข้ า สู่ สมัยแห่ งการแตกแยกและการรุ กราน จากภายนอก จากพวกกรีกระยะเวลานี้ เป็ นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรมก่ อนทีจะรวมเป็ นจักรวรรดิได้ อกครั้ง ่ ี โดยราชวงศ์ คุปตะ
  • 27. ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง อินเดียเข้ าสู่สมัยกลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1525 สมัยนีเ้ ป็ น ช่ วงเวลาของความวุ่นวายทางการเมือง และการรุ กรานจาก ต่ างชาติ โดยพาชาวมุสลิม สมัยกลางจึงเป็ นสมัยที่อารยธรรม มุสลิมเข้ ามามีอทธิพลในอินเดีย สมัยกลางแบ่ งได้ เป็ นสมัยความ ิ แตกแยกทางการเมือง และสมัยสุลต่ านแห่ งเดลลี
  • 28. ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ ประวัตศาสตร์ อินเดียสมัยใหม่ ิ เป็ นช่ วงเวลาที่วัฒนธรรมเปอร์ เซียและ พวกโมกุลได้ ตงราชวงศ์ วัฒนธรรมตะวันตกเข้ ามาในสังคมอินเดีย ั้ โมกุลถือว่ าสมัยโมกุล เป็ น ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ ยึดมั่นในศาสนาของตนเองมากขึน และ ้ การเริ่มต้ นสมัยใหม่ เกิดความแตกแยกในสังคมอินเดีย ดังนัน ้ จนกระทั่งอังกฤษเข้ า ประวัตศาสตร์ อินเดียสมัยใหม่ สามารถ ิ ปกครองอินเดียโดยตรง แบ่ งได้ เป็ นสมัยราชวงศ์ โมกุล สมัยอังกฤษ จนถึง ค.ศ. 1947 อินเดียจึง ได้ รับเอกราช ภายหลังได้ รับ ปกครองอินเดีย อย่ างไรก็ตาม สมัยที่ วัฒนธรรมมุสลิมเข้ ามามีอิทธิพลในอารย เอกราชและถูกแบ่ งออกเป็ น ธรรมอินเดียเรี ยก รวมว่ า สมัยมุสลิม ประเทศต่ าง ๆ ได้ แก่ อินเดีย หมายถึง รวมสมัยสุลต่ านแห่ งเดลฮีกับ ปากีสถาน และบังคลาเทศ สมัยราชวงศ์ โมกุล
  • 29. การแบ่ งยุคสมัยประวัตศาสตร์ ตะวันตก ิ 1.ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มเกิดขึนเป็ นครั งแรกบริเวณ ้ ้ ดินแดนเมโสโปเตเมียแถบลุ่มแม่ นํา ้ ไทกริส-ยูเฟรทีส และดินแดนอียปต์ ิ แถบลุ่มแม่ นําไนล์ ท่ ชาวเมโสโปเต ้ ี เมียและชาวอียปต์ ร้ ูจัก ประดิษฐ์ ิ ตัวอักษรได้ เมื่อ 3,500 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช จากนันอิทธิพลของความ ้ เจริญของสองอารยธรรมก็ได้ แพร่ หลายไปยังทางใต้ ของยุโรป สู่ เกาะครี ต ต่ อมาชาวกรี กได้ รับ เอาความเจริญจากเกาะครี ต และของอียปต์ มาสร้ างสม ิ เป็ นอารยธรรมกรี กขึน และ ้ เมื่อชาวโรมันในแหลมอิตาลี ยึดครองกรี กได้ ชาวโรมันก็ นําอารยธรรมกรีกกลับไปยัง โรมและสร้ างสมอารยธรรม โรมันขึน ้
  • 30. ต่ อมาเมื่อชาวโรมันสถาปนาจักรวรรดิโรมัน พร้ อมกับขยายอาณาเขตของตนไป อารยธรรม โรมันจึงแพร่ ขยายออกไป จนกระทั่งจักรวรรดิโรมัน ล่ มสลายลงเมื่อพวกอนารยชนเผ่ าเยอรมันเข้ ายึด กรุ งโรมได้ ใน ค.ศ. 476 ประวัตศาสตร์ สมัยโบราณ ิ ของชาติตะวันตกจึงสินสุดลง ้
  • 31. 2..ประวัติศาสตร์ สมัยกลาง เริ่มตังแต่ การสินสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 ้ ้ เมื่อถูกพวกอนารยชนเยอรมันเผ่ าวิสิกอธโจมตี ถือเป็ นจุดสินสุด ้ ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่ ม สลายลง สภาพทั่วไปของกรุ งโรมเต็มไปด้ วยความวุ่นวาย การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอ่ อนแอ ประชาชนอดอยาก มี ปั ญหาเรื่องโจรผู้ร้าย เนื่องจากช่ วงเวลานียุโรปตะวันตกไม่ มี ้ จักรวรรดิท่ ย่ งใหญ่ ปกครองดังเช่ น จักรวรรดิโรมัน ี ิ
  • 32. นอกจากนียังถูกพวกอนารยชนเผ่ าต่ างๆเข้ ามารุ กรานจึง ้ ส่ งผลให้ อารยธรรมกรี กและ โรมันอันเจริญรุ่ งเรื องในยุโรป ตะวันตกได้ หยุดชะงักลง นักประวัตศาสตร์ สมัยก่ อนจึงเรียกช่ วง ิ สมัยนีอีกชื่อหนึ่งว่ า ยุคมืด (Dark Ages) หลังจากนันศูนย์ กลางของ ้ ้ อํานาจยุโรปได้ ย้ายไปอยู่ท่ เมืองไบแซนไทน์ ซึ่งอยู่ในประเทศตุรกี ี ปั จจุบัน โดยจักรพรรดิคอนสแตนตินเป็ นผู้สถาปนาจักรวรรดิแห่ ง ใหม่ ท่ มีความเจริญรุ่ งเรื อง ซึ่งต่ อมาเป็ นที่ร้ ู จักกันในชื่อ คอนสแตน ี ติโนเปิ ล
  • 33. Dark Ages ประวัตศาสตร์ สมัยกลางมีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรม ิ ตะวันตกจากอารยธรรมโรมันไปสู่คริสต์ ศาสนา ได้ รับอิทธิพลอย่ าง มากจากคริสต์ ศาสนา ทังทางด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ ้ ศิลปวัฒนธรรม นอกจากนีสังคมสมัยกลางยังมีลักษณะเป็ นสังคม ้ ในระบบฟิ วดัล หรือสังคมระบบศักดินาสวามิภกดิ์ ที่ขุนนางมี ั อํานาจครอบครองพืนที่ โดยประชาชนส่ วนใหญ่ มีฐานะเป็ นข้ าติด ้ ที่ดน และดํารงชีวิตอยู่ในเขตแมเนอร์ ของขุนนาง ซึ่งเป็ นลักษณะ ิ พิเศษของสังคมสมัยกลาง
  • 34. นอกจากนีในสมัยกลางนีได้ ้ ้ เกิดเหตุการณ์ สาคัญ คือ สงคราม ํ ครู เสด ซึ่งเป็ นสงครามความ ขัดแย้ งระหว่ างคริสต์ ศาสนากับ ศาสนาอิสลาม ที่กินเวลาเกือบ 200 ปี เป็ นผลให้ เกิดการค้ นหา เส้ นทางการค้ าทางทะเลและ วิทยาการด้ านอื่นๆ ตามมา สมัย กลางสินสุดใน ค.ศ. 1453 เมื่อ ้ พวกออตโตมันเติร์กสามารถยึด กรุ งคอนสแตนติโนเปิ ลของ จักรวรรดิโรมันตะวันตกได้ สงครามครู เสด
  • 35. 3.ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ประวัตศาสตร์ ตะวันตกสมัยใหม่ ถือว่ าเริ่มต้ นใน ค.ศ. ิ 1453 เป็ นปี ที่ชนเผ่ าเติร์กโจมตีและสามารถยึดกรุ งคอนสแตน ติโนเปิ ลได้ ทําให้ ศูนย์ กลางความเจริญกลับมาอยู่ในยุโรป ตะวันตกอีกครัง ในระหว่ างนีในยุโรปตะวันตกเองกําลังมี ้ ้ ความเจริญก้ าวหน้ าทางด้ านความคิดและ ศิลปวิทยาการ ต่ างๆ จากพัฒนาการของการฟื ้ นฟูศิลปวิทยาการที่ดาเนินมา ํ ยุโรปจึงกลับมารุ่ งเรื องอีกครัง ในครั งนีได้ มีการสํารวจและ ้ ้ ้ ขยายดินแดนออกไปกว้ างไกลจนเกิดเป็ นยุคล่ าอาณานิคม
  • 36. ต่ อมานําไปสู่ความขัดแย้ งระหว่ างประเทศ กลายเป็ นสงครามใหญ่ ที่เรี ยกกันว่ าสงครามโลกถึงสองครั งภายในเวลาห่ างกันเพียง 20 ปี ้ ในช่ วงเวลาเกือบห้ าร้ อยปี ของประวัตศาสตร์ สมัยใหม่ มีเหตุการณ์ ิ สําคัญเกิดขึนมากมายที่โดดเด่ นและมีผลกระทบยาวไกลต่ อเนื่องมา ้ จนถึงโลกปั จจุบันได้ แก่ การสํารวจทางทะเล การปฏิวัตทาง ิ วิทยาศาสตร์ การปฏิวัตอุตสาหกรรม การกําเนิดแนวคิดทางการเมือง ิ ใหม่ (เสรี นิยม ชาตินิยม และประชาธิปไตย) การขยายดินแดนหรือการ ล่ าอาณานิคม(จักรวรรดินิยม) และสงครามโลกสองครั ง ้ World War
  • 37. 4.ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบน หรื อ ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ั เริ่มตังแต่ สงครามโลกครั งที่ 2 สินสุดลง ซึ่งมีผลกระทบอย่ าง ้ ้ ้ รุ นแรงทั่วโลกและก่ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทังทางด้ าน ้ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครองของสังคมโลกในปั จจุบัน โดยช่ วงประวัตศาสตร์ สมัยปั จจุบันมีเหตุการณ์ ดังนี ้ ิ สมัยสงครามเย็น เมื่อสงครามโลกครั งที่ 2 สินสุดลงได้ เกิดการขัดแย้ ง ้ ้ ทางด้ านอุดมการณ์ ทางการเมืองของสองอภิมหาอํานาจ คือ สหรั ฐอเมริกาผู้นําค่ ายประชาธิปไตย และสหภาพโซเวียตผู้นําค่ าย คอมมิวนิสต์
  • 38. โดยแข่ งขันเกี่ยวกับลัทธิความเชื่อทางการเมืองและผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ โดยปราศจากอาวุธ แต่ ใช้ วธีการโฆษณาชวนเชื่อเป็ นหลัก ิ ในการหาพันธมิตร สงครามเย็นสินสุดลงเมื่อผู้นําประเทศสหภาพโซ ้ เวียตได้ ปรั บนโยบายการเมืองทังภายในและภายนอกประเทศ ที่เน้ นการ ้ ร่ วมมือกับนานาประเทศในการแก้ ปัญหาต่ างๆ และปฏิรูปให้ เป็ น ประชาธิปไตยมากขึน ้ รวมถึงมีการแข่ งขันกันทางด้ านอวกาศ สหภาพโซเวียตได้ ส่ง ดาวเทียมดวงแรกสู่อวกาศ นั่นก็คือ สปุตนิก 1 ต่ อมาสหรั ฐอเมริกาจึงตัง ้ ้ องค์ กร NASA และส่ งมนุษย์ ไปเหยียบดวงจันทร์ เป็ นครั งแรก
  • 39. สมัยโลกาภิวัตน์ ตังแต่ ช่วงครั งหลังของคริสต์ ศตวรรษที่ 20 เป็ น ้ ้ ช่ วงเวลาที่โลกมีความเจริญก้ าวหน้ าทางด้ าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทังวิทยาการแขนง ้ ต่ างๆ ทําให้ ความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เจริญขึน รู้ จัก ้ ประดิษฐ์ คิดค้ นเครื่ องมือที่ทาให้ สะดวกสบาย ความ ํ เจริญทางด้ านการแพทย์ ทําให้ มนุษย์ มีชีวตยืนยาว ิ และมีคุณภาพ การคมนาคมขนส่ งข้ ามทวีปเป็ นไป อย่ างรวดเร็ว หรื อการสื่อสารข้ อมูลแพร่ หลายที่ส่ ือ ภาพและเสียงโดยผ่ านทางดาวเทียม อินเทอร์ เน็ต โทรศัพท์ มือถือ เป็ นต้ น