SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
รายงาน
การใชสื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร
รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน3 ชั้นมัธยมศึกษาป(ที่ 2
นางสาวพรเพ็ญ อินต,ะ
ครู คศ. 1
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนฟากกว,านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2
บทที่ 1
บทนํา
วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคตเพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวข%อง
กับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดํารงชีวิตประจําวัน และในงานอาชีพต)าง ๆ เครื่องมือเครื่องใช% ตลอดจน
ผลผลิตต)าง ๆ ใช%เพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและในการทํางาน ล%วนเป-นผลของ ความรู%
วิทยาศาสตรผสมผสานกับความคิดสร%างสรรคและศาสตรอื่น ๆ ความรู%วิทยาศาสตรช)วยให%เกิดการ
พัฒนาเทคโนโลยีอย)างมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็ส)วนสําคัญมากที่จะให%มีการศึกษาค%นคว%า
ความรู%ทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นอย)างไม)หยุดยั้ง วิทยาศาสตรทําให%คนได%พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป-น
เหตุเป-นผล คิดสร%างสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะที่สําคัญในการค%นคว%าหาความรู% มี
ความสามารถ ในการแก%ปญหาอย)างเป-นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช%ข%อมูลหลากหลายและ
ประจักษพยานที่ตรวจสอบได%วิทยาศาสตรเป-นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม) ซึ่งเป-นสังคมแห)งความรู%
(knowledge based society) ทุกคนจึงจําเป-นต%องได%รับการพัฒนา ให%รู%วิทยาศาสตร (scientific
literacy for all) เพื่อที่จะมีความรู% ความเข%าใจ โลกธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยสร%างสรรคขึ้น
และนําความรู%ไปใช%อย)าง มีเหตุผล สร%างสรรค มีคุณธรรมความรู%วิทยาศาสตรไม)เพียงแต)นํามาใช%ใน
การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแต)ยังช)วยให%คนมีความรู%ความเข%าใจที่ถูกต%องเกี่ยวกับ การใช%ประโยชนการ
ดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล%อมและทรัพยากร ธรรมชาติ อย)างสมดุลและยั่งยืนและที่
สําคัญอย)างยิ่งคือ ความรู%วิทยาศาสตรช)วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถ
แข)งขันกับนานา ประเทศและดําเนินชีวิตอยู)ร)วมกันในสังคมโลกได%อย)างมีความสุข
ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต เข%ามามีบทบาทต)อการดําเนินชีวิตของเรา
มากขึ้นนับตั้งแต)ตื่นขึ้นมาเราอาจไม)รู%สึกตัวว)าอินเทอรเน็ตกลายเป-นปจจัยสําคัญต)อการดํารงชีวิต ใน
ยุคที่ข%อมูลข)าวสารมีความสําคัญ คนหันมาบริโภคข%อมูลข)าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยี
อินเทอรเน็ตที่เปรียบเสมือนถนนสําหรับการเข%าถึงข%อมูลที่ต%องการ เรายังต%องการเครื่องสําหรับที่จะ
สร%างเนื้อหาและข%อมูลต)างๆไว%รองรับการเข%าถึง ซึ่งนั่นก็คือเทคโนโลยีเว็บไซด ที่เป-นตัวกลางคอยให%
ข%อมูลต)างๆแก)ผู%ใช%โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเว็บไซดได%ถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
มาก Wikipedia (www,2011) ได%แบ)งลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีได%เป-น 3 ยุค คือ
1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เน%นการนําเสนอเนื้อหาให%กับผู%ใช%งานเพียงทางเดียว ไม)เปYด
โอกาสให%ผู%ใช%งานมีส)วนร)วมกับเนื้อหา ผู%พัฒนาเว็บไซดจะเป-นผู%กําหนดเนื้อหาเพียงผู%เดียว และ
ความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุค 1.0 คือ 50 Kbps
2. ยุคเว็บ 2.0 (2547 – 2552) มีลักษณะการทํางานของเว็บไซตที่เป-นเครือข)ายทางสังคม
(social network) เน%นการมีปฏิสัมพันธระหว)างผู%ใช%งานที่อยู)ในเครือข)ายหรือกลุ)มบุคคลที่มีความ
สนใจในเรื่องเดียวกัน โดยเปYดโอกาสให%ผู%ใช%งานทุกคนมีส)วนร)วมในการจัดการเนื้อหา มีการ
แลกเปลี่ยนข%อมูลระหว)างกัน จึงก)อให%เกิดสังคมออนไลนทางความรู%ที่ประกอบไปด%วยองคความรู%
ใหม)ๆมากมาย มีคุณสมบัติที่เรียกว)า Rich Internet Application (RIA) ซึ่งเป-นเทคโนโลยีที่ทําให%เว็บ
ไซดมีประสิทธิภาพการทํางานเทียบเท)ากับแอพลิเคชั่นทั่วๆไป (Desktop Application) โดยมี
ลักษณะหน%าตา (User Interface) ที่สวยงามมากขึ้น ตัวอย)างเว็บไซตในยุค 2.0 ก็คือเว็บบล็อก
3
(Weblog) สารานุกรมออนไลน (Wiki) เป-นต%น โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 1
Mbps
3. ยุคเว็บ 3.0 ( 2553 เป-นต%นไป) เป-นการพัฒนาเว็บไซดให%เหมือนมีความฉลาดเทียม
(Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู%พฤติกรรมของผู%ใช%งานเว็บไซดได% ใช%ข%อมูลบางส)วนเพื่อ
อธิบายความหมายของข%อมูลในส)วนใหญ) (Tag) เว็บไซดในยุค 3.0 นั้นกล)าวไว%ว)าเป-นการพัฒนาต)อมา
จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซดกลายเป-นเครือข)ายสังคมออนไลนขนาดใหญ) ดังนั้นเนื้อหาและข%อมูล
ต)างๆจึงมากขึ้นตามมาด%วย ก)อให%เกิดการพัฒนาเว็บไซดที่สามารถตอบสนองความต%องการในการ
บริโภคข%อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเรามีข%อมูลมากมายในเว็บไซดจึงต%องเกิดการวิเคราะห
และคัดแยกข%อมูลให%ตรงกับผู%ใช%งานต%องการมากที่สุด โดยตัวอย)างของลักษณะเว็บไซดในยุค 3.0 นั้นก็
คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 2.0 Mbps
สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก%าวหน%าทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได%เข%ามามีบทบาท
สําคัญต)อการดําเนินงาน ทั้งการบริหารและการจัดการของหน)วยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอย)างยิ่ง
เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเป-นสิ่งจําเป-นที่ทุกหน)วยงานต%องจัดหามาใช%ในการดําเนินงาน
เพราะจะช)วยให%การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป-นไปอย)างสะดวกรวดเร็ว มี
ประสิทธิภาพและทันต)อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต%องมีความรู% ความสามารถ
มีทักษะและมีความเข%าใจในกรวนการทํางานการใช%งานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต สามารถนําไป
ประยุกตใช%ในการบริหารการจัดการศึกษา และที่สําคัญคือการนําไปใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%
อย)างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้คอมพิวเตอรได%เข%ามีบทบาทในการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆนับแต)เริ่มใช%เพื่อการศึกษา เช)น
การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อีกทั้งยังได%
พัฒนาให%มีความสามารถในการสื่อสารผ)านระบบเครือข)าย ระบบคอมพิวเตอรช)วยสอน (Computer
Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) แต)ปญหาของการใช%เครื่องมือดัง
กล)าวคือการไม)ได%ตอบรับจากนักเรียน ไม)ส)งเสริมให%นักเรียนเกิดความสนใจใฝoเรียนรู% อีกทั้งนักเรียน
สามารถเข%าถึงสื่อเหล)านั้นได%ยาก เพราะเป-นสื่อที่ไม)สามารถใช%งานได%บนระบบเครือข)ายอินเทอรเน็ต
ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส)งเสริมการเรียนรู%ของนักเรียนในปจจุบันจึงควรเป-นสื่อออนไลนที่นักเรียน
สามารถเข%าถึงและเรียนรู%ได%จากทุกหนทุกแห)งหรือทุกสถานที่ ซึ่งสื่อที่ได%รับความนิยมและนักเรียน
สามารถเข%าถึงได%ง)ายในปจจุบันก็เป-นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด แต)การที่จะนําสื่อ
Social Media และสื่อออนไลนต)างๆมาใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%นั้น สิ่งสําคัญคือครูผู%สอน
จะต%องรู%และเข%าใจ และสามารถใช%สื่อเหล)านั้นได%เป-นอย)างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อ
เผยแพร)ให%กับนักเรียนได%เรียนรู% และต%องมีปฏิสัมพันธกับนักเรียนอยู)เสมอๆ เช)นการตั้งประเด็นคําถาม
การตอบคําถามข%อสงสัย การติดตามผลงาน การให%คําแนะนําที่เหมาะสม นั่นคือจะต%องมีการพัฒนา
ครูให%มีความรู%ความสามารถในการใช% Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได%นั่นเอง
จากความสําคัญของ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนที่จะช)วยให%นักเรียนเกิดการ
เรียนรู%ได%อย)างมีประสิทธิภาพและปลูกฝงให%นักเรียนรู%จักการใช%เทคโนโลยีเพื่อช)วยให%เกิดการเรียนรู%
ผู%วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน (Online) โดยใช%เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร)เพื่อส)งเสริมการใช%
4
เทคโนโลยีในเชิงสร%างสรรค และเกิดประโยชนต)อการเรียนรู%ของตนเอง อีกทั้งยังช)วยพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิดวิเคราะห และสังเคราะหของนักเรียนให%มีประสิทธิภาพอีกด%วย
โดยเฉพาะอย)างยิ่งในสาระการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เรื่อง ดิน หิน แร) มีความ
จําเป-นอย)างยิ่งที่ต%องนําเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช%ในกิจกรรมการเรียนรู% เนื่องจาก
การเรียนรู% เรื่อง ดิน หิน แร) มีเนื้อหาจํานวนมากและต%องมีรูปภาพสีหรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่ง
ทรัพยากรบางอย)างไม)มีให%เห็นจริงชีวิตประจําวัน เพื่อให%เกิดเข%าใจมากขึ้น และเพื่อสนองความ
ต%องการของนักเรียน ได%ด%วยตนเองทุกเวลา การใช%สื่อออนไลนจะช)วยการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อให%
นักเรียนเกิดการเรียนรู%ได%มากยิ่งขึ้น
ดังนั้น ผู%สอนจึงเลือกใช%สื่อบทเรียนออนไลนมาจัดกิจกรรมการสอน สาระการเรียนรู%
วิทยาศาสตร เรื่อง ดิน หิน แร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 เพื่อให%นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงขึ้น
2.วัตถุประสงคของการจัดทําสื่อ
1. เพื่อความก%าวหน%าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อการจัดการเรียนรู%
วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 22101 เรื่อง ดิน หิน แร) โดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน
2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต)อสื่อการจัดการเรียนรู%วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน
ว 22101 เรื่อง ดิน หิน แร) โดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน
3. สมมติฐาน
1. บทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่องดิน หิน แร) มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
2. นักเรียนที่เรียนโดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงขึ้น
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต)อกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรียนรู%วิทยาศาสตร
โดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 อยู)
ในระดับดีหรือดีมาก
4. ขอบเขตของการพัฒนา
1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
1.1 ประชากร ได%แก) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 โรงเรียนฟากกวwานวิทยาคม
ปqการศึกษา 2558 จํานวน 4 ห%อง
1.2 กลุ)มตัวอย)าง ได%แก) นักเรียนช)วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2/1 โรงเรียนฟากกวwาน
วิทยาคม ได%มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
2. เนื้อหา
สาระการเรียนรู%วิทยาศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 ภาคเรียนที่1 เรื่อง ดิน หิน แร)
5
5. ตัวแปรที่ศึกษา
1.ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101)
เรื่อง ดิน หิน แร)
2. ตัวแปรตาม คือ
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด%วยบทเรียนออนไลน (Onlineสาระ
วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร)
2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด%วยบทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชา
วิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร)
6. นิยามศัพทเฉพาะ
บทเรียนออนไลน (Online) หมายถึงบทเรียนเรื่อง ดิน หิน แร) โดยใช%เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media)ซึ่งจะประกอบไปด%วยเนื้อหาของ ดิน หิน แร) ทั้งหมด รวมถึงสื่อการเรียนการสอนใน
รูปแบบวีดีโอที่เกี่ยวข%องกับเนื้อหาการเรียนรู%
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได%จากการทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
ความคิดเห็นต)อสื่อ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต)อข%อความที่
กําหนด แบบมาตรประมาณค)า 5 ระดับ
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. มีแหล)งเรียนรู% http://pronpen.wordpress.com
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) รายวิชา
วิทยาศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 สูงขึ้น
3. นักเรียนที่มีเจตคติที่ดีต)อสื่อการจัดการเรียนรู%วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน โดยใช%สื่อบทเรียน
ออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2
6
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวของ
การวิจัยเรื่อง บทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง
ดิน หิน แร) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 โรงเรียนฟากกวwานวิทยาคม จังหวัดพะเยา ผู%วิจัยได%
ศึกษาค%นคว%าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข%องต)าง ๆ โดยมีสาระสําคัญตามลําดับหัวข%อดังนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร%างบทเรียนออนไลน (Online)
2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
3. การเรียนการสอนผ)านออนไลน
4. ประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บ
5. การออกแบบการเรียนการสอนผ)านเว็บ
6. ประโยชนของการเรียนการสอนผ)านเว็บ
7. การประเมินผลการเรียนการสอนผ)านเว็บ
8. งานวิจัยที่เกี่ยวข%อง
1. แนวคิดเกี่ยวกับการสรางบทเรียนออนไลน (Online)
ปจจุบันความเจริญก%าวหน%าทางด%านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงไปอย)างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต)างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช)วยอํานวยความสะดวก รวมทั้ง
ให%ความบันเทิง หรือแม%กระทั่งการเชื่อมต)อกันเป-นเครือข)าย โดยที่ทุกคนทั่วโลกสามารถเป-นเพื่อกัน
พบปะพูดคุยกันได%ตลอดเวลา เพียงแค)มีอินเตอรเน็ต กับอุปกรณสําหรับเชื่อมต)อ เช)น คอมพิวเตอร
หรือโทรศัพทมือถือ ทําให%การติดต)อสื่อสารเป-นไปได%อย)างสะดวก รวดเร็ว ไม)จําเป-นที่จะต%องเดินทาง
ไปพบปะกันโดยตรง
ถ%าพูดถึงคําว)า Social Media หรือ Social Network ในปจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยว)า
สิ่งเหล)านี้คืออะไร แต)ถ%าพูดถึง Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ เชื่อว)าหลายคนคง
จะปฏิเสธไม)ได%ที่จะไม)รู%จัก ยิ่งโดยเฉพาะในวัยรุ)นหรือเยาวชนที่อยู)ในระหว)างการศึกษาเล)าเรียน คงจะ
คุ%นเคยกันเป-นอย)างดี ซึ่งสิ่งเหล)านี้ ( Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ ) ที่ถูก
เรียกว)า Social Media หรือ Social Network ดังนั้นถ%าจะให%ความหมายของคําว)า Social
Media หรือ Social Network นั้น จะได%ว)า
Social Media หมายถึง สังคมออนไลนที่มีผู%ใช%เป-นผู%สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว
ประสบการณ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู%ใช%เขียนขึ้นเอง ทําขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล%ว
นํามาแบ)งปนให%กับผู%อื่นที่อยู)ในเครือข)ายของตน ผ)านทางเว็บไซต Social Network ที่ให%บริการบน
โลกออนไลน ปจจุบันการสื่อสารแบบนี้จะทําผ)านทาง Internet และโทรศัพทมือถือเท)านั้น
Social Networkคือ การที่ผู%คนสามารถทําความรู%จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทาง
หนึ่ง หากเป-นเว็บไซตที่เรียกว)าเป-นเว็บ Social Network ก็คือเว็บไซตที่เชื่อมโยงผู%คนไว%ด%วยกัน
นั่นเอง ( สถาบันคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2552 )
7
กอบวิทย พิริยะวัฒน ( 2553 ) ได%กล)าวว)า ปจจุบัน Social Media ได%กลายเป-นเครื่องมือ
ที่สําคัญในการสร%างให%เกิดเป-นเครือข)ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน ที่เปYดโอกาสให%ทุกคนสามารถใช%
เป-นช)องทางในการเข%าถึงกลุ)มเป€าหมายได%ง)ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทําให%เกิดประโยชนอย)างมาก
โดยไม)เสียค)าใช%จ)ายในการซื้อลิขสิทธิ์แต)อย)างใด ดังนั้น การนําเทคโนโลยี Social Media มาใช%เป-น
เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนจะเป-นการผลักดันบุคลากรครูให%ก%าวทันเทคโนโลยีในยุคปจจุบัน
และสามารถเข%าถึงเยาวชนยุคใหม)ได%อย)างทันท)วงที ซึ่งจะทําให%เกิดระบบ Community แห)งการ
เรียนรู%บนเครือข)ายอินเตอรเน็ต ที่มีการปฏิสัมพันธกันระหว)างผู%สอนกับผู%สอน ผู%สอนกับผู%เรียน และ
ผู%เรียนกับผู%เรียน ที่มีการแบ)งปนความรู%แลกเปลี่ยนเรียนรู%ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส)งเสริมให%มีการศึกษา
ตามอัธยาศัย ซึ่งสอดคล%องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห)งชาติ พ.ศ. 2542 แก%ไขเพิ่มเติม 2545 ที่
จัดการศึกษาต%องยึดหลักว)าผู%เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู%และพัฒนาตนเองได% และถือว)าผู%เรียนมี
ความสําคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต%องส)งเสริมให%ผู%เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ( พ.ร.บ. การศึกษาแห)งชาติ, 2545 ) และสอดคล%องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551 ที่มุ)งพัฒนาการเรียนให%มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู% โดย
ให%เกิดสมรรถนะสําคัญข%อที่ 5 คือ ความสามารถในการใช%เทคโนโลยี ซึ่งเป-นความสามารถในการ
เลือกใช%เทคโนโลยีต)างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน
ด%านการเรียนรู% การสื่อสาร การทํางานและการแก%ปญหาอย)างสร%างสรรค ถูกต%องเหมาะสมและมี
คุณธรรม ( กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการผู%เรียนจะสามารถก%าวสั่งคมการเรียนรู%ได%นั้น จําเป-น
อย)างยิ่งที่จะต%องทีพื้นฐานที่เหมาะสม และผู%ที่เกี่ยวข%องทั้งหลายจะต%องช)วยกันสร)างพื้นฐาน ตลอดจน
ปจจัยต)าง ๆ ให%พร%อมที่จะสร%างสังคมแหล)งความรู%ขึ้นได% พื้นฐานและปจจัยสําคัญอย)างหนึ่งที่จะช)วย
ก%าวไปสู)สังคมแห)งการเรียนรู%ได% คือ ครู อาจารย และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต%อง
ปรับปรุงการเรียนรู%ของครู อาจารย และส)งเสริมการเรียนการสอนโดยใช%เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
สร%างนิสัยในด%านการใฝoรู%และรักความรู%ให%เกิดขึ้นกับเยาวชน ( ครรชิต มาลัยวงศและคณะ, 2544 )
จากสภาพสังคมในปจจุบันที่อินเตอรเข%าถึงเกือบทุกพื้นที่ ทําให%เยาวชนไทยส)วนใหญ)สามารถ
เข%าสู)ระบบเครือข)ายสารสนเทศได% สามารถสืบค%นข%อมูลผ)านทางระบบอินเตอรเน็ตได%เป-นอย)างดี
ประกอบกับมีเครื่องมือจําพวก Social Media ออกมามากมาย ยิ่งเป-นการทําให%เยาวชนเข%าสู)ระบบ
ของโลกอินเตอรเน็ตมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได%จากปญหาที่ปรากฏทางหน%าจอโทรทัศนเกี่ยวกับการใช%
งาน Social Media ที่ไม)ถูกต%องและไม)เหมาะสม ซึ่งการจะแก%ปญหาเหล)านี้ไม)ใช)การแก%โดยการปYด
กั้นไม)ให%เยาวชนเข%าสู)โลกอินเตอรเน็ตไม)ให%เข%าถึงตัวเยาวชนได%นั่นเอง แต)ทางแก%ที่ดีและตรงกับปญหา
มากที่สุดก็คือ การปลูกฝงและแนะนําให%เยาวชนใช%เครื่องมือ Social Media เหล)านี้ในทางที่
เหมาะสม เช)น ใช%ในเชิงการศึกษา ได%แก) การสอบถามปญหาการเรียนกับเพื่อนหรือครูผู%สอน การสรุป
ความรู%เก็บไว%บนเว็บส)วนตัว หรือเผยแพร)ความรู%ต)างๆ ตามความเข%าใจบนสื่อทางอินเตอรเน็ต รวมทั้ง
การสืบค%นข%อมูลบนอินเตอรเน็ต เป-นต%น สิ่งเหล)านี้สามารถปลูกฝงได%โยผู%ปกครอง ครู/อาจารย
รวมทั้งเพื่อนหรือคนรอบข%าง ยิ่งถ%าสังคมมีแนวโน%มที่ใช% Social Media ในเชิงการศึกษามากขึ้น
เท)าใด เยาวชนทุกคนก็จะมีแนวโน%นที่จะคล%อยตามและปฏิบัติตามเป-นนิสัยและกิจวัตรมากขึ้น
8
2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
Wordpressหมายถึง โปรแกรมสําเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว%สําหรับสร%างบล็อก หรือ เว็บไซต
สามารถใช%งานได%ฟรี ถูกจัดอยู)ในประเภท CMS (Contents Management System)
เฟชบุwก ( Facebook ) เป-นเว็บไซตเครือข)ายสังคมสําหรับติดต)อแลกข%อมูลข)าวสาร เปYดใช%
งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ พ.ศ. 2547 โดย มารก ซักเคอรเบิรก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮารเวิรด
ในช)วงแรกนั้นเฟชบุwกเป-นให%ใช%งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮารเวิรด ซึ่งต)อมาได%ขยายตัวออกไป
สําหรับมหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต) 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได%ขยายมาสําหรับผู%ใช%
ทั่วไปทุกคนเหมือนในปจจุบัน ( www, 2010 )
หลายท)านอาจจะสงสัยว)าเฟชบุwกนํามาใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%อย)างไร ซึ่งจะขอ
อธิบายว)าการจัดการเรียนการสอนโดยใช% Social Media นั้น ไม)ได%หมายความว)าจะต%องใช%
Facebook เป-นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียนการสอน แต)จากสภาพสังคมในปจจุบันที่เยาวชน
หรือนักเรียนส)วนใหญ) สามารถเข%าถึงอินเตอรเน็ตได%นั้น ทําให%หลายคนมีการใช%เฟชบุwกอยู)เป-นประจํา
อยู)แล%ว ซึ่งจากปญหาที่พบก็คือนักเรียนให%ความสนใจกับเฟชบุwกมากเกินไป เช)น ใช%ในการพูดคุยกับ
เพื่อน เล)มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรูป และวีดีโอของตนเอง เป-นต%น ซึ่งกิจกรรมต)างๆ
เหล)านี้เป-นกิจกรรมที่ไม)ก)อให%เกิดประโยชนหากใช%เวลามากเกินไป หรืออาจเรียกได%ว)านักเรียนมีความ
หมกมุ)นกับสิ่งเหล)านี้มากเกินไป ความสนใจที่จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึงมีน%อยลงตามไปด%วย
ดังนั้น ถ%าครูผู%สอนสามารถใช%เครื่องมือเหล)านี้ เพื่อชักจูงให%นักเรียนใช%เฟชบุwกในเชิงที่สร%างสรรค เกิด
ประโยชนต)อตนเอง ในด%านการสร%างความรู% พัฒนาสติปญญา ก็จะเป-นสิ่งที่เกิดประโยชนอย)างยิ่ง
การใช% Facebook ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไม)ได%ใช%โดยตรง แต)จะใช%ในลักษณะของ
การติดตามดูแลช)วยเหลือนักเรียน การส)งงาน การบ%าน หรือการตอบปญหาข%อสงสัยต)างๆ ให%
นักเรียน อีกทั้งครูยังสามารถติดตามดูแลนักเรียนได% เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม)ส)งงานตาม
กําหนดเวลา ซึ่งเป-นการกระตุ%นนักเรียนให%เกิดการเรียนรู%และป€องกันปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได%อีก
วิธีการหนึ่ง ซึ่งสามารถสรุปข%อดีและข%อจํากัดของเฟชบุwกได%ดังนี้
ขอดี
• สามารถติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนได%ตลอดเวลา
• ช)วยให%ครูและนักเรียนสามารถพบปะ พูดคุย สอบถามปญหาได%สะดวกมากขึ้น
• ใช%ในการส)งงาน หรือส)งการบ%าน แสดงความคิดเห็น หรือทําแบบทดสอบได%
ขอจํากัด
• นักเรียนและครูจําเป-นที่จะต%องมีอินเตอรเน็ต
• เปYดกว%างในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งต%องระมัดระวังในบางเรื่องหรือบางกรณี
• การใช%เวลากับเฟชบุwกมากเกินไปอาจจะเกิดปญหาอื่น ๆ ตามมาได%
กติกา สายเสนีย ( 2552 ) ได%กล)าวว)าทวิตเตอร ( Twitter ) คือ เว็บไซตที่ให%บริการ blog
9
สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว)า Micro-Blog ซึ่งสามาระให%ผู%ใช%ส)งข%อความของตนเอง ให%เพื่อนๆ ที่
ติดตาม twitter ของเราอยู)อ)านได% และเราเองก็สามารถอ)านข%อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตาม
เค%าอยู)ได% ซึ่ง twitter ก็ถือได%ว)าเป-นเว็บไซตประเภท Social Mediaด%วยเช)นกัน
Slideshareและ Youtube
Slideshareและ Youtubeเป-นสื่อSocial Media อีกประเภทหนึ่งที่สามารถนําไปใช%
ประกอบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได% โดยการใช%งานร)วมกัน Blog นั่นก็คือ การนําเอกสาร
ต)างๆ ได%แก) ใบงาน ใบความรู% สไลดที่ใช%ในการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ จาก Slideshare
มาแสดงเป-นบทเรียนไว%ใน Blog หรือการนําวีดีโอที่น)าสนใจต)างๆ จาก Youtube มาแสดงไว%ใน Blog
เพื่อให%นักเรียนได%เข%ามาศึกษา แสดงความคิดเห็น หรือวิพากษวิจารณ จนเกิดเป-นข%อสรุปที่เป-นองค
ความรู% ความเข%าใจ ที่สร%างขึ้นด%วยตนเอง
3. การเรียนการสอนผานออนไลน
การใช%เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป-นการนําเอาคุณสมบัติของอินเทอรเน็ตมาออกแบบเพื่อใช%
ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ)านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ
เช)นการจัดการเรียนการสอนผ)านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based
Learning) เว็บฝ„กอบรม (Web-Based Training) อินเทอรเน็ตฝ„กอบรม (Internet-Based Training)
อินเทอรเน็ตช)วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลดไวดเว็บฝ„กอบรม (WWW-Based
Training) และเวิลดไวดเว็บช)วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต ห)อไพศาล. 2545) ทั้งนี้
มีผู%นิยามและให%ความหมายของการเรียนการสอนผ)านเว็บเอาไว%หลายนิยามได%แก)
คาน (Khan, 1997) ได%ให%คําจํากัดความของการเรียนการสอนผ)านเว็บ (Web-Based
Instruction)ไว%ว)าเป-นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอรมีเดียที่ช)วยในการสอน โดยการใช%
ประโยชนจากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอรเน็ตมาสร%างให%เกิดการเรียนรู%อย)างมีความหมาย
โดยส)งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู%อย)างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู%ในทุกทาง
ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได%ให%ความหมายของการเรียนการสอนผ)านเว็บว)าเป-นการใช%ทักษะ
หรือความรู%ต)างๆถ)ายโยงไปสู)ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช%เวิลดไวดเว็บเป-นช)องทางในการเผยแพร)สิ่งเหล)านั้น
คารลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล)าวว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นภาพที่
ชัดเจนของการผสมผสานระหว)างเทคโนโลยีในยุคปจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน
(Instructional Design) ซึ่งก)อให%เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนําการศึกษาไปสู)ที่ด%อยโอกาสเป-นการ
จัดหาเครื่องมือใหม)ๆสําหรับส)งเสริมการเรียนรู%และเพิ่มเครื่องมืออํานวยความสะดวกที่ช)วยขจัดปญหา
เรื่องสถานที่และเวลา
สําหรับประโยชนทางการศึกษาแก)ผู%เรียนภายในประเทศไทยการเรียนการสอนผ)านเว็บถือเป-น
รูปแบบใหม)ของการเรียนการสอนที่เริ่มนําเข%ามาใช%ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท)านให%ความหมายของการ
เรียนการสอนผ)านเว็บไว%ดังนี้
กิดานันท มลิทอง (2543) ให%ความหมายว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการใช%เว็บในการ
เรียนการสอนโดยอาจใช%เว็บเพื่อนําเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร
หรือใช%เพียงการเสนอข%อมูลบางอย)างเพื่อประกอบการสอนก็ได%รวมทั้งใช%ประโยชนจากคุณลักษณะ
10
ต)างๆของการสื่อสารที่มีอยู)ในระบบอินเทอรเน็ต เช)นการเขียนโต%ตอบกันทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
และการพูดคุยสดด%วยข%อความและเสียงมาใช%ประกอบด%วยเพื่อให%เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให%ความหมายว)า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction)
เป-นการผสมผสานกันระหว)างเทคโนโลยีปจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพทางการเรียนรู%และแก%ปญหาในเรื่องข%อจํากัดทางด%านสถานที่และเวลา โดยการสอนบน
เว็บจะประยุกตใช%คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลดไวด เว็บ ในการจัดสภาพแวดล%อมที่ส)งเสริมและ
สนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ)านเว็บนี้อาจเป-นบางส)วนหรือทั้งหมดของ
กระบวนการเรียนการสอนก็ได%
ใจทิพย ณ สงขลา (2542) ได%ให%ความหมายการเรียนการสอนผ)านเว็บว)าหมายถึง การผนวก
คุณสมบัติไฮเปอรมีเดียเข%ากับคุณสมบัติของเครือข)ายเวิลดไวดเว็บเพื่อสร%างสิ่งแวดล%อมแห)งการเรียน
ในมิติที่ไม)มีขอบเขตจํากัดด%วยระยะทางและเวลาที่แตกต)างกันของผู%เรียน (Learning without
Boundary)
วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล)าวว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการนําเสนอโปรแกรมบทเรียน
บนเว็บเพจโดยนําเสนอผ)านบริการเวิลดไวดเว็บในเครือข)ายอินเทอรเน็ตซึ่งผู%ออกแบบและสร%าง
โปรแกรมการสอนผ)านเว็บจะต%องคํานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอรเน็ตและ
นําคุณสมบัติต)างๆเหล)านั้นมาใช%เพื่อประโยชนในการเรียนการสอนให%มากที่สุด
จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในต)างประเทศและภายใน
ประเทศไทยดังที่กล)าวมาแล%วนั้นสามารถสรุปได%ว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการจัดสภาพการ
เรียนการสอนที่ได%รับการออกแบบอย)างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลดไวดเว็บ
มาเป-นสื่อกลางในการถ)ายทอดเพื่อส)งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให%มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด
เป-นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือนํามาใช%เป-นเพียงส)วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช)วย
ขจัดปญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด%านสถานที่และเวลาอีกด%วย
4. ประเภทของการเรียนการสอนผานเว็บ
การเรียนการสอนผ)านเว็บสามารถทําได%ในหลายลักษณะโดยแต)ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมี
วิธีการจัดการเรียนการสอนผ)านเว็บที่แตกต)างกันออกไปซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท)านได%ให%
ข%อเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บ ดังต)อไปนี้
พารสัน(Parson,1997) ได%แบ)งประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บออกเป-น 3 ลักษณะคือ
1. เว็บช)วยสอนแบบรายวิชาอย)างเดียว (Stand - Alone Courses) เป-นรายวิชาที่มีเครื่องมือ
และแหล)งที่เข%าไปถึงและเข%าหาได%โดยผ)านระบบอินเทอรเน็ตอย)างมากที่สุดถ%าไม)มีการสื่อสารก็
สามารถที่จะไปผ)านระบบคอมพิวเตอรสื่อสารได%ลักษณะของเว็บช)วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป-นแบบ
วิทยาเขตมีนักศึกษาจํานวนมากที่เข%ามาใช%จริงแต)จะมีการส)งข%อมูลจากรายวิชาทางไกล
2. เว็บช)วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป-นรายวิชาที่มี
ลักษณะเป-นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว)างครูกับนักเรียนและมีแหล)งให%มาก เช)น การกําหนดงานที่ให%
ทําบนเว็บ การกําหนดให%อ)านการสื่อสารผ)านระบบคอมพิวเตอรหรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตําแหน)ง
ของแหล)งบนพื้นที่ของเว็บไซตโดยรวมกิจกรรมต)างๆ เอาไว%
11
3. เว็บช)วยสอนแบบศูนยการศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป-นชนิดของเว็บไซตที่
มีวัตถุดิบเครื่องมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ)เข%าไว%ด%วยกันหรือเป-นแหล)งสนับสนุน
กิจกรรมทางการศึกษาซึ่งผู%ที่เข%ามาใช%ก็จะมีสื่อให%บริการอย)างรูปแบบอย)างเช)น เป-นข%อความเป-น
ภาพกราฟYก การสื่อสารระหว)างบุคคล และการทําภาพเคลื่อนไหวต)างๆ เป-นต%น
โดเฮอรตี้ (Doherty, 19100) แนะนําว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บ มีวิธีการใช%ใน 3 ลักษณะ
คือ
1. การนําเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเว็บไซตที่ประกอบไปด%วยข%อความ
ภาพกราฟYกโดยมีวิธี การนําเสนอ คือ
1.1 การนําเสนอแบบสื่อเดี่ยว เช)น ข%อความ หรือ รูปภาพ
1.2 การนําเสนอแบบสื่อคู) เช)น ข%อความกับรูปภาพ
1.3 การนําเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบด%วยข%อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง
2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป-นสิ่งจําเป-นที่จะต%องใช%ทุกวันในชีวิตซึ่งเป-น
ลักษณะสําคัญของอินเทอรเน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตหลายแบบ เช)น
2.1 การสื่อสารทางเดียว เช)น การดูข%อมูลจากเว็บเพจ
2.2 การสื่อสารสองทาง เช)น การส)งไปรษณียอิเล็กทรอนิกสโต%ตอบกัน
2.3 การสื่อสารแบบหนึ่งแหล)งไปหลายที่เป-นการส)งข%อความจากแหล)งเดียวแพร)กระจายไป
หลายแหล)ง เช)นการอภิปรายจากคนเดียวให%คนอื่นๆ ได%รับฟงด%วยหรือการประชุมผ)านคอมพิวเตอร
(Computer conferencing)
2.4 การสื่อสารหลายแหล)งไปสู)หลายแหล)ง เช)น การใช%กระบวนการกลุ)มในการสื่อสารบน
เว็บ โดยมีคนใช%หลายคนและคนรับหลายคนเช)นกัน
3. การทําให%เกิดความสัมพันธ (Dynamic Interaction) เป-นคุณลักษณะที่สําคัญของ
อินเทอรเน็ตและสําคัญที่สุด ซึ่งมี 3 ลักษณะคือ
3.1 การสืบค%นข%อมูล
3.2 การหาวิธีการเข%าสู)เว็บ
3.3 การตอบสนองของมนุษยต)อการใช%เว็บ
นอกจากนี้ แฮนนัม (Hannum, 19100) ได%แบ)งประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บ
ออกเป-น 4 ลักษณะ ใหญ)ๆ คือ
1. รูปแบบการเผยแพร) รูปแบบนี้สามารถแบ)งได%ออกเป-น 3 ชนิด คือ
1.1 รูปแบบห%องสมุด (Library Model) เป-นรูปแบบที่ใช%ประโยชนจากความสามารถในการ
เข%าไปยังแหล)งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกสที่มีอยู)หลากหลายโดยวิธีการจัดหาเนื้อหาให%ผู%เรียนผ)านการ
เชื่อมโยงไปยังแหล)งเสริมต)างๆเช)นสารานุกรม วารสาร หรือหนังสือออนไลนทั้งหลาย ซึ่งถือได%ว)าเป-น
การนําเอาลักษณะทางกายภาพของห%องสมุดที่มีทรัพยากรจํานวนมหาศาลมาประยุกตใช% ส)วน
ประกอบของรูปแบบนี้ ได%แก) สารานุกรมออนไลน วารสารออนไลนหนังสือออนไลน สารบัญการอ)าน
ออนไลน (Online Reading List) เว็บห%องสมุดเว็บงานวิจัย รวมทั้งการรวบรวมรายชื่อเว็บที่สัมพันธ
กับวิชาต)างๆ
3
(Weblog) สารานุกรมออนไลน (Wiki) เป-นต%น โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 1
Mbps
3. ยุคเว็บ 3.0 ( 2553 เป-นต%นไป) เป-นการพัฒนาเว็บไซดให%เหมือนมีความฉลาดเทียม
(Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู%พฤติกรรมของผู%ใช%งานเว็บไซดได% ใช%ข%อมูลบางส)วนเพื่อ
อธิบายความหมายของข%อมูลในส)วนใหญ) (Tag) เว็บไซดในยุค 3.0 นั้นกล)าวไว%ว)าเป-นการพัฒนาต)อมา
จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซดกลายเป-นเครือข)ายสังคมออนไลนขนาดใหญ) ดังนั้นเนื้อหาและข%อมูล
ต)างๆจึงมากขึ้นตามมาด%วย ก)อให%เกิดการพัฒนาเว็บไซดที่สามารถตอบสนองความต%องการในการ
บริโภคข%อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเรามีข%อมูลมากมายในเว็บไซดจึงต%องเกิดการวิเคราะห
และคัดแยกข%อมูลให%ตรงกับผู%ใช%งานต%องการมากที่สุด โดยตัวอย)างของลักษณะเว็บไซดในยุค 3.0 นั้นก็
คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 2.0 Mbps
สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก%าวหน%าทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได%เข%ามามีบทบาท
สําคัญต)อการดําเนินงาน ทั้งการบริหารและการจัดการของหน)วยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอย)างยิ่ง
เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเป-นสิ่งจําเป-นที่ทุกหน)วยงานต%องจัดหามาใช%ในการดําเนินงาน
เพราะจะช)วยให%การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป-นไปอย)างสะดวกรวดเร็ว มี
ประสิทธิภาพและทันต)อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต%องมีความรู% ความสามารถ
มีทักษะและมีความเข%าใจในกรวนการทํางานการใช%งานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต สามารถนําไป
ประยุกตใช%ในการบริหารการจัดการศึกษา และที่สําคัญคือการนําไปใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%
อย)างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้คอมพิวเตอรได%เข%ามีบทบาทในการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆนับแต)เริ่มใช%เพื่อการศึกษา เช)น
การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อีกทั้งยังได%
พัฒนาให%มีความสามารถในการสื่อสารผ)านระบบเครือข)าย ระบบคอมพิวเตอรช)วยสอน (Computer
Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) แต)ปญหาของการใช%เครื่องมือดัง
กล)าวคือการไม)ได%ตอบรับจากนักเรียน ไม)ส)งเสริมให%นักเรียนเกิดความสนใจใฝoเรียนรู% อีกทั้งนักเรียน
สามารถเข%าถึงสื่อเหล)านั้นได%ยาก เพราะเป-นสื่อที่ไม)สามารถใช%งานได%บนระบบเครือข)ายอินเทอรเน็ต
ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส)งเสริมการเรียนรู%ของนักเรียนในปจจุบันจึงควรเป-นสื่อออนไลนที่นักเรียน
สามารถเข%าถึงและเรียนรู%ได%จากทุกหนทุกแห)งหรือทุกสถานที่ ซึ่งสื่อที่ได%รับความนิยมและนักเรียน
สามารถเข%าถึงได%ง)ายในปจจุบันก็เป-นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด แต)การที่จะนําสื่อ
Social Media และสื่อออนไลนต)างๆมาใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%นั้น สิ่งสําคัญคือครูผู%สอน
จะต%องรู%และเข%าใจ และสามารถใช%สื่อเหล)านั้นได%เป-นอย)างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อ
เผยแพร)ให%กับนักเรียนได%เรียนรู% และต%องมีปฏิสัมพันธกับนักเรียนอยู)เสมอๆ เช)นการตั้งประเด็นคําถาม
การตอบคําถามข%อสงสัย การติดตามผลงาน การให%คําแนะนําที่เหมาะสม นั่นคือจะต%องมีการพัฒนา
ครูให%มีความรู%ความสามารถในการใช% Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได%นั่นเอง
จากความสําคัญของ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนที่จะช)วยให%นักเรียนเกิดการ
เรียนรู%ได%อย)างมีประสิทธิภาพและปลูกฝงให%นักเรียนรู%จักการใช%เทคโนโลยีเพื่อช)วยให%เกิดการเรียนรู%
ผู%วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน (Online) โดยใช%เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร)เพื่อส)งเสริมการใช%
13
ลักษณะเด)นของการเรียนการสอนรูปแบบนี้ก็คือความสามารถในการลอกเลียนลักษณะของห%องเรียน
ปกติมาใช%ในการออกแบบการเรียนการสอนผ)านเครือข)ายอินเทอรเน็ตโดยอาศัยความสามารถต)างๆ
ของอินเทอรเน็ต โดยมีส)วนประกอบคือ ประมวลรายวิชาเนื้อหาในหลักสูตร รายชื่อแหล)งเนื้อหาเสริม
กิจกรรมระหว)างผู%เรียนผู%สอน คําแนะนําและการให%ผลป€อนกลับ การนําเสนอในลักษณะมัลติมีเดีย
การเรียนแบบร)วมมือ รวมทั้งการสื่อสารระหว)างกันรูปแบบนี้จะช)วยให%ผู%เรียนได%รับประโยชนจากการ
เรียนโดยไม)มีข%อจํากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่
5. การออกแบบการเรียนการสอนผานเว็บ
ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ)านให%มีประสิทธิภาพนั้นมีนักการศึกษาหลาย
ท)านให%ข%อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช%เป-นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้
ดิลลอน (Dillon,1991) ได%ให%แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร%างบทเรียนที่มีลักษณะเป-นสื่อ
หลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนําไปประยุกตใช%ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน แนวคิดดังกล)าวมีขั้นตอน ดังนี้
1.ศึกษาเกี่ยวกับผู%เรียนและเนื้อหาที่จะนํามาพัฒนาเพื่อกําหนดวัตถุประสงคและหาแนวทางใน
การจัดกิจกรรมการเรียน
2.วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร%างของเนื้อหาศึกษาคุณลักษณะของเนื้อหาที่จะนํา มา
ใช%เป-นบทเรียนว)าควรจะนําเสนอในลักษณะใด
3.ออกแบบโครงสร%างเพื่อการเข%าถึงข%อมูลอย)างมีประสิทธิภาพโดยผู%ออกแบบควรศึกษาทํา
ความเข%าใจกับโครงสร%างของบทเรียนแบบต)างๆโดยพิจารณาจากลักษณะผู%เรียนและเนื้อหาว)า
โครงสร%างลักษณะใดจะเอื้ออํานวยต)อการเข%าถึงข%อมูลของผู%เรียนได%ดีที่สุด
4.ทดสอบรูปแบบเพื่อหาข%อผิดพลาดจากนั้นทําการปรับปรุงแก%ไขและทดสอบซ้ําอีกครั้งจน
แน)ใจว)าเป-นบทเรียนที่มีประสิทธิภาพก)อนที่จะนําไปใช%งาน
อาแวนิติส (Arvanitis, 1997) ได%ให%ข%อเสนอแนะว)าในการสร%างเว็บไซตนั้น ควรจะดําเนินการ
ตามขั้นตอนต)อไปนี้
1.กําหนดวัตถุประสงค โดยพิจารณาว)าเป€าหมายของการสร%างเว็บไซตนี้เพื่ออะไร
2.ศึกษาคุณลักษณะของผู%ที่จะเข%ามาใช%ว)ากลุ)มเป€าหมายใดที่ผู%สร%างต%องการสื่อสาร ข%อมูล อะไร
ที่พวกเขาต%องการโดยขั้นตอนนี้ควรจะปฏิบัติควบคู)ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง
3.วางลักษณะโครงสร%างของเว็บ
4.กําหนดรายละเอียดให%กับโครงสร%างซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงคที่ตั้งไว%โดยตั้งเกณฑใน การ
ใช% เช)นผู%ใช%ควรจะทําอะไรบ%าง จํานวนหน%าควรมีเท)าใด มีการเชื่อมโยงมากน%อยเพียงไร
5.หลังจากนั้นจึงทําการสร%างเว็บแล%วนําไปทดลองเพื่อหาข%อผิดพลาดและทําการปรับปรุง แก%ไข
แล%วจึงค)อยนําเข%าสู)เครือข)ายอินเทอรเน็ตเป-นขั้นตอนสุดท%าย ควินแลน (Quinlan, 1997) เสนอ
วิธีดําเนินการ 5 ขั้นตอนเพื่อการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนผ)านเว็บที่มีประสิทธิภาพ คือ
1.ทําการวิเคราะหความต%องการของผู%เรียน รวมทั้งจุดแข็งและจุดอ)อน ของผู%เรียน
2.การกําหนดเป€าหมาย วัตถุประสงค และกิจกรรม
3.ควรเลือกเนื้อหาที่จะใช%นําเสนอพร%อมกับหางานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข%องและช)วยสนับสนุน
เนื้อหา
14
4.การวางโครงสร%างและจัดเรียงลําดับข%อมูลรวมทั้งกําหนดสารบัญ เครื่องมือการเข%าสู)เนื้อหา
(Navigational Aids) โครงร)างหน%าจอและกราฟYกประกอบ
5.ดําเนินการสร%างเว็บไซตโดยอาศัยแผนโครงเรื่อง
คาน (Khan, 1997) ได%กล)าวไว%ว)าการออกแบบเว็บที่ดีมีความสําคัญต)อการเรียนการสอนเป-น
อย)างมากดังนั้นจึงควรทําความเข%าใจถึงคุณลักษณะ 2 ประการของโปรแกรมการเรียนการสอน ผ)าน
เว็บ
1. คุณลักษณะหลัก (Key Features) เป-นคุณลักษณะพื้นฐานของโปรแกรมการเรียนการสอน
ผ)านเว็บทุกโปรแกรมตัวอย)างเช)น การสนับสนุนให%ผู%เรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียน ผู%สอนหรือผู%เรียน
คนอื่นๆ การนําเสนอบทเรียนในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Multimedia) การนําเสนอบทเรียนระบบ
เปYด (Open System) กล)าวคืออนุญาตให%ผู%เรียนสามารถเชื่อมโยงเข%าสู)เว็บเพจอื่นๆที่เกี่ยวข%องได%
ผู%เรียนสามารถสืบค%นข%อมูลบนเครือข)ายได% (Online Search) ผู%เรียนควรที่จะสามารถเข%าสู)โปรแกรม
การสอนผ)านเว็บจากที่ใดก็ได%ทั่วโลกรวมทั้งผู%เรียนควรที่จะสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได%
2. คุณลักษณะเพิ่มเติม (Additional Features) เป-นคุณลักษณะประกอบเพิ่มเติม ซึ่งขึ้นอยู)กับ
คุณภาพและความยากง)ายของการออกแบบเพื่อนํามาใช%งานและการนํามาประกอบกับคุณลักษณะ
หลักของโปรแกรมการเรียนการสอนผ)านเว็บ ตัวอย)างเช)นความง)ายในการใช%งานของโปรแกรมมีระบบ
ป€องกันการลักลอบข%อมูลรวมทั้งระบบให%ความช)วยเหลือบนเครือข)ายมีความสะดวกในการแก%ไข
ปรับปรุงโปรแกรม เป-นต%น
ฮอลล (Hall, 19100) ได%กล)าวถึงการใช%เว็บในด%านการเรียนการสอนว)า การศึกษาทดลองหา
วิธีการสร%างเว็บอย)างมีประสิทธิภาพยังอยู)ในระดับที่น%อยแต)จากการรวบรวมจากประสบการณและ
การนําเสนอของบรรดานักออกแบบเว็บเพื่อการเรียนการสอนสรุปได%ว)าเว็บเพื่อการเรียนการสอนที่ดี
จะต%องมีลักษณะดังนี้
1.ต%องสะดวกและไม)ยุ)งยากต)อการสืบค%นของผู%เรียน
2.ต%องมีความสอดคล%องตรงกันในแต)ละเว็บรวมถึงการเชื่อมโยงระหว)างเว็บต)างๆ
3.เวลาในการแสดงผลแต)ละหน%าจอจะต%องน%อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช%ภาพกราฟYกขนาดใหญ) ที่
จะทําให%เสียเวลาในการดาวนโหลด
4.มีส)วนที่ทําหน%าที่ในการจัดระบบในการเข%าสู)เว็บนักออกแบบควรกําหนดให%ผู%เรียนได%เข%าสู)
หน%าจอแรกที่มีคําอธิบายมีการแสดงโครงสร%างภายในเว็บ เพื่อทราบถึงขอบเขตที่ผู%เรียนจะสืบค%น
5.ควรมีความยืดหยุ)นในการสืบค%นแม%จะมีการแนะนําว)าผู%เรียนควรจะเรียนอย)างไรตามลําดับ
ขั้นตอนก)อนหลังแต)ก็ควรเพิ่มความยืดหยุ)นให%ผู%เรียนสามารถกําหนดเส%นทางการเรียนรู%ได%เอง
6.ต%องมีความยาวในหน%าจอให%น%อยแม%นักออกแบบส)วนใหญ)จะบอกว)าสามารถใช%ไฮเปอรเท็กซ
ช)วยในการเลื่อนไปมาในพื้นที่ส)วนต)างๆ ในหน%าจอแต)ในความเป-นจริงแล%วหน%าจอที่สั้น เป-นสิ่งที่ดีที่สุด
7.ไม)ควรมีจุดจบหรือกําหนดจุดสิ้นสุดที่ผู%เรียนไปไหนต)อไม)ได%ควรมีการสร%างในแบบวนเวียนให%
ผู%เรียนสามารถหาเส%นทางไปกลับระหว)างหน%าต)างๆได%ง)าย นอกจากนี้ยังควรให%ผู%เรียนสามารถกลับไป
เรียนในจุดเริ่มต%นได%ด%วยโดยการคลิกเพียงครั้งเดียว
สําหรับนักวิชาการศึกษาในประเทศไทยได%กล)าวถึง การออกแบบการเรียนการสอนผ)านเว็บไว%
หลายท)านดังนี้
15
ปทีป เมธาคุณวุฒิ (2540) กล)าวว)าการออกแบบโครงสร%างของการเรียนการสอนผ)านเว็บควร
จะประกอบด%วย
1. ข%อมูลเกี่ยวกับรายวิชา ภาพรวมรายวิชา (Course Overview) แสดงวัตถุประสงคของ
รายวิชา สังเขปรายวิชาคําอธิบาย เกี่ยวกับหัวข%อการเรียนหรือหน)วยการเรียน
2. การเตรียมตัวของผู%เรียนหรือการปรับพื้นฐานผู%เรียน เพื่อที่จะเตรียมตัวเรียน
3. เนื้อหาบทเรียน พร%อมทั้งการเชื่อมโยงไปยังสื่อสนับสนุนต)างๆในเนื้อหาบทเรียนนั้นๆ
4. กิจกรรมที่มอบหมายให%ทําพร%อมทั้งการประเมินผล การกําหนดเวลาเรียนการส)งงาน
5. แบบฝ„กหัดที่ผู%เรียนต%องการฝ„กฝนตนเอง
6. การเชื่อมโยงไปแหล)งทรัพยากรที่สนับสนุนการศึกษาค%นคว%า
7. ตัวอย)างแบบทดสอบ ตัวอย)างรายงาน
8. ข%อมูลทั่วไป (Vital Information) แสดงข%อความที่จะติดต)อผู%สอนหรือผู%ที่เกี่ยวข%องการ
ลงทะเบียนค)าใช%จ)ายการได%รับหน)วยกิตและการเชื่อมโยงไปยังสถานศึกษาหรือหน)วยงานและมีการ
เชื่อมโยงไปสู)รายละเอียดของหน%าที่เกี่ยวข%อง
9. ส)วนแสดงประวัติของผู%สอนและผู%ที่เกี่ยวข%อง
10. ส)วนของการประกาศข)าว (Bulletin Board)
11. ห%องสนทนา (Chat Room) ที่เป-นการสนทนาในกลุ)มผู%เรียนและผู%สอน
จากที่กล)าวมาการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการจัดการอย)างจงใจและนําเสนอข%อมูลที่มี
เป€าหมายเพื่อพัฒนาการเรียนรู%โดยเฉพาะดังนั้นการออกแบบเว็บช)วยสอนจึงต%องพิจารณาให%เป-นไป
ตามวัตถุประสงคและการจัดระเบียบของเนื้อหาในบทเรียนที่สร%างขึ้นเพื่อช)วยให%การเรียนรู%ของผู%เรียน
เป-นไปอย)างมีระบบ
6. ประโยชนการเรียนการสอนผานเว็บ
ประโยชนของการเรียนการสอนผ)านเว็บมีมากมายหลายประการทั้งนี้ขึ้นอยู)กับวัตถุประสงค
ของการนําไปใช%ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป-นมิติใหม)ของเครื่องมือและกระบวนการในการเรียน
การสอนโดยมีผู%กล)าวถึงประโยชนของการเรียนการสอนผ)านเว็บไว%ดังนี้
ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2544) ได%กล)าวถึงการสอนบนเว็บมีข%อดีอยู)หลายประการ กล)าวคือ
1. การสอนบนเว็บเป-นการเปYดโอกาสให%ผู%เรียนที่อยู)ห)างไกลหรือไม)มีเวลาในการมาเข%าชั้นเรียน
ได%เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต%องการซึ่งอาจเป-นที่บ%าน ที่ทํางานหรือสถานศึกษาใกล%เคียงที่ผู%เรียน
สามารถเข%าไปใช%บริการทางอินเทอรเน็ตได%การที่ผู%เรียนไม)จําเป-นต%องเดินทางมายังสถานศึกษาที่
กําหนดไว%จึงสามารถช)วยแก%ปญหาในด%านของข%อจํากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ศึกษาของผู%เรียนเป-น
อย)างดี
2. การสอนบนเว็บยังเป-นการส)งเสริมให%เกิดความเท)าเทียมกันทางการศึกษาผู%เรียนที่ศึกษาอยู)
ในสถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย
ครูผู%สอนซึ่งสอนอยู)ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต)างประเทศก็ตาม
3. การสอนบนเว็บนี้ยังช)วยส)งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู%ตลอดชีวิตเนื่องจากเว็บเป-น
แหล)งความรู%ที่เปYดกว%างให%ผู%ที่ต%องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งสามารถเข%ามาค%นคว%าหาความรู%ได%
อย)างต)อเนื่องและตลอดเวลาการสอนบนเว็บสามารถตอบสนองต)อผู%เรียนที่มีความใฝoรู%รวมทั้งมีทักษะ
16
ในการตรวจสอบการเรียนรู%ด%วยตนเอง (Meta-cognitive Skills) ได%อย)างมีประสิทธิภาพ
4. การสอนบนเว็บช)วยทลายกําแพงของห%องเรียนและเปลี่ยนจากห%องเรียน 4 เหลี่ยมไปสู)โลก
กว%างแห)งการเรียนรู%เปYดโอกาสให%ผู%เรียนสามารถเข%าถึงแหล)งข%อมูลต)างๆได%อย)างสะดวกและมี
ประสิทธิภาพสนับสนุนสิ่งแวดล%อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปญหาที่พบในความเป-นจริง
โดยเน%นให%เกิดการเรียนรู%ตามบริบทในโลกแห)งความเป-นจริง(Contextualization) และการเรียนรู%
จากปญหา (Problem-based Learning) ตามแนวคิดแบบConstructivism
5. การสอนบนเว็บเป-นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพเนื่องจากที่เว็บได%กลายเป-นแหล)ง
ค%นคว%าข%อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม)ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม)จํากัดภาษาการสอนบนเว็บ
ช)วยแก%ปญหาของข%อจํากัดของแหล)งค%นคว%าแบบเดิมจากห%องสมุดอันได%แก) ปญหาทรัพยากร
การศึกษาที่มีอยู)จํากัดและเวลาที่ใช%ในการค%นหาข%อมูลเนื่องจากเว็บมีข%อมูลที่หลากหลายและเป-น
จํานวนมากรวมทั้งการที่เว็บใช%การเชื่อมโยงในลักษณะของไฮเปอรมิเดีย (สื่อหลายมิติ)ซึ่งทําให%การ
ค%นหาทําได%สะดวกและง)ายดายกว)าการค%นหาข%อมูลแบบเดิม
6. การสอนบนเว็บจะช)วยสนับสนุนการเรียนรู%ที่กระตือรือร%นทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของเว็บ
ที่เอื้ออํานวยให%เกิดการศึกษาในลักษณะที่ผู%เรียนถูกกระตุ%นให%แสดงความคิดเห็นได%อยู)ตลอดเวลาโดย
ไม)จําเป-นต%องเปYดเผยตัวตนที่แท%จริง ตัวอย)างเช)นการให%ผู%เรียนร)วมมือกันในการทํากิจกรรมต)าง ๆบน
เครือข)ายการให%ผู%เรียนได%มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว%บนเว็บบอรดหรือการให%ผู%เรียนมี
โอกาสเข%ามาพบปะกับผู%เรียนคนอื่น ๆ อาจารยหรือผู%เชี่ยวชาญในเวลาเดียวกันที่ห%องสนทนา เป-นต%น
7. การสอนบนเว็บเอื้อให%เกิดการปฏิสัมพันธซึ่งการเปYดปฏิสัมพันธนี้อาจทําได% 2 รูปแบบ คือ
ปฏิสัมพันธกับผู%เรียนด%วยกันและ/หรือผู%สอนปฏิสัมพันธกับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ
ซึ่งลักษณะแรกนี้จะอยู)ในรูปของการเข%าไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ส)วนในลักษณะ
หลังนั้นจะอยู)ในรูปแบบของการเรียนการสอนแบบฝ„กหัดหรือแบบทดสอบที่ผู%สอนได%จัดหาไว%ให%แก)
ผู%เรียน
8. การสอนบนเว็บยังเป-นการเปYดโอกาสสําหรับผู%เรียนในการเข%าถึงผู%เชี่ยวชาญสาขาต)าง ๆ ทั้ง
ในและนอกสถาบันจากในประเทศและต)างประเทศทั่วโลกโดยผู%เรียนสามารถติดต)อสอบถามปญหาขอ
ข%อมูลต)าง ๆที่ต%องการศึกษาจากผู%เชี่ยวชาญจริงโดยตรงซึ่งไม)สามารถทําได%ในการเรียนการสอนแบบ
ดั้งเดิมนอกจากนี้ยังประหยัดทั้งเวลาและค)าใช%จ)ายเมื่อเปรียบเทียบกับการติดต)อสื่อสารใน
ลักษณะเดิม ๆ
9. การสอนบนเว็บเปYดโอกาสให%ผู%เรียนได%มีโอกาสแสดงผลงานของตนสู)สายตาผู%อื่นอย)าง
ง)ายดาย ทั้งนี้ไม)ได%จํากัดเฉพาะเพื่อนๆในชั้นเรียนหากแต)เป-นบุคคลทั่วไปทั่วโลกได%ดังนั้นจึงถือเป-นการ
สร%างแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย)างหนึ่งสําหรับผู%เรียนผู%เรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม)ให%
เสียชื่อเสียงตนเองนอกจากนี้ผู%เรียนยังมีโอกาสได%เห็นผลงานของผู%อื่นเพื่อนํามาพัฒนางานของตนเอง
ให%ดียิ่งขึ้น
10. การสอนบนเว็บเปYดโอกาสให%ผู%สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให%ทันสมัยได%อย)าง
สะดวกสบายเนื่องจากข%อมูลบนเว็บมีลักษณะเป-นพลวัตร ( Dynamic ) ดังนั้นผู%สอนสามารถอัพเดต
เนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแก)ผู%เรียนได%ตลอดเวลานอกจากนี้การให%ผู%เรียนได%สื่อสารและแสดงความ
คิดเห็นที่เกี่ยวข%องกับเนื้อหาทําให%เนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุ)นมากกว)าการเรียนการสอนแบบเดิม
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11
บทที่ 11

More Related Content

What's hot

Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documentsworachak11
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงWichai Likitponrak
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านMo Taengmo
 
60 ssh e newss
60 ssh e newss60 ssh e newss
60 ssh e newssshm-nstda
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...Kwan Service
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...Mayko Chan
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยBSOOREETA
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002Thidarat Termphon
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 

What's hot (20)

Youth project documents
Youth project documentsYouth project documents
Youth project documents
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
60 ssh e newss
60 ssh e newss60 ssh e newss
60 ssh e newss
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมสร...
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 

Similar to บทที่ 11

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
รายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิต
รายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิตรายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิต
รายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิตSircom Smarnbua
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyNikma Hj
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนปรัชญา จันตา
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 

Similar to บทที่ 11 (20)

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
 
รายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิต
รายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิตรายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิต
รายงานผลการประน้ำเพื่อชีวิต
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
2554 ค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิดฯ
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
We Will Go to The Zoo
We Will Go to The ZooWe Will Go to The Zoo
We Will Go to The Zoo
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 

More from Aobinta In

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมAobinta In
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1Aobinta In
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินAobinta In
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบAobinta In
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยAobinta In
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลกAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 
ศิษย์เก่า
ศิษย์เก่าศิษย์เก่า
ศิษย์เก่าAobinta In
 
ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ
ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ
ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ Aobinta In
 

More from Aobinta In (20)

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แร่1
แร่1แร่1
แร่1
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหิน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLas
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลก
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 
โลก
โลกโลก
โลก
 
ศิษย์เก่า
ศิษย์เก่าศิษย์เก่า
ศิษย์เก่า
 
ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ
ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ
ชุดที่ 3 ความหมายของสมการ
 

บทที่ 11

  • 1. รายงาน การใชสื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน3 ชั้นมัธยมศึกษาป(ที่ 2 นางสาวพรเพ็ญ อินต,ะ ครู คศ. 1 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนฟากกว,านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. 2 บทที่ 1 บทนํา วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคตเพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวข%อง กับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดํารงชีวิตประจําวัน และในงานอาชีพต)าง ๆ เครื่องมือเครื่องใช% ตลอดจน ผลผลิตต)าง ๆ ใช%เพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและในการทํางาน ล%วนเป-นผลของ ความรู% วิทยาศาสตรผสมผสานกับความคิดสร%างสรรคและศาสตรอื่น ๆ ความรู%วิทยาศาสตรช)วยให%เกิดการ พัฒนาเทคโนโลยีอย)างมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็ส)วนสําคัญมากที่จะให%มีการศึกษาค%นคว%า ความรู%ทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นอย)างไม)หยุดยั้ง วิทยาศาสตรทําให%คนได%พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป-น เหตุเป-นผล คิดสร%างสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะที่สําคัญในการค%นคว%าหาความรู% มี ความสามารถ ในการแก%ปญหาอย)างเป-นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช%ข%อมูลหลากหลายและ ประจักษพยานที่ตรวจสอบได%วิทยาศาสตรเป-นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม) ซึ่งเป-นสังคมแห)งความรู% (knowledge based society) ทุกคนจึงจําเป-นต%องได%รับการพัฒนา ให%รู%วิทยาศาสตร (scientific literacy for all) เพื่อที่จะมีความรู% ความเข%าใจ โลกธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยสร%างสรรคขึ้น และนําความรู%ไปใช%อย)าง มีเหตุผล สร%างสรรค มีคุณธรรมความรู%วิทยาศาสตรไม)เพียงแต)นํามาใช%ใน การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแต)ยังช)วยให%คนมีความรู%ความเข%าใจที่ถูกต%องเกี่ยวกับ การใช%ประโยชนการ ดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล%อมและทรัพยากร ธรรมชาติ อย)างสมดุลและยั่งยืนและที่ สําคัญอย)างยิ่งคือ ความรู%วิทยาศาสตรช)วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถ แข)งขันกับนานา ประเทศและดําเนินชีวิตอยู)ร)วมกันในสังคมโลกได%อย)างมีความสุข ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต เข%ามามีบทบาทต)อการดําเนินชีวิตของเรา มากขึ้นนับตั้งแต)ตื่นขึ้นมาเราอาจไม)รู%สึกตัวว)าอินเทอรเน็ตกลายเป-นปจจัยสําคัญต)อการดํารงชีวิต ใน ยุคที่ข%อมูลข)าวสารมีความสําคัญ คนหันมาบริโภคข%อมูลข)าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยี อินเทอรเน็ตที่เปรียบเสมือนถนนสําหรับการเข%าถึงข%อมูลที่ต%องการ เรายังต%องการเครื่องสําหรับที่จะ สร%างเนื้อหาและข%อมูลต)างๆไว%รองรับการเข%าถึง ซึ่งนั่นก็คือเทคโนโลยีเว็บไซด ที่เป-นตัวกลางคอยให% ข%อมูลต)างๆแก)ผู%ใช%โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเว็บไซดได%ถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มาก Wikipedia (www,2011) ได%แบ)งลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีได%เป-น 3 ยุค คือ 1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เน%นการนําเสนอเนื้อหาให%กับผู%ใช%งานเพียงทางเดียว ไม)เปYด โอกาสให%ผู%ใช%งานมีส)วนร)วมกับเนื้อหา ผู%พัฒนาเว็บไซดจะเป-นผู%กําหนดเนื้อหาเพียงผู%เดียว และ ความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุค 1.0 คือ 50 Kbps 2. ยุคเว็บ 2.0 (2547 – 2552) มีลักษณะการทํางานของเว็บไซตที่เป-นเครือข)ายทางสังคม (social network) เน%นการมีปฏิสัมพันธระหว)างผู%ใช%งานที่อยู)ในเครือข)ายหรือกลุ)มบุคคลที่มีความ สนใจในเรื่องเดียวกัน โดยเปYดโอกาสให%ผู%ใช%งานทุกคนมีส)วนร)วมในการจัดการเนื้อหา มีการ แลกเปลี่ยนข%อมูลระหว)างกัน จึงก)อให%เกิดสังคมออนไลนทางความรู%ที่ประกอบไปด%วยองคความรู% ใหม)ๆมากมาย มีคุณสมบัติที่เรียกว)า Rich Internet Application (RIA) ซึ่งเป-นเทคโนโลยีที่ทําให%เว็บ ไซดมีประสิทธิภาพการทํางานเทียบเท)ากับแอพลิเคชั่นทั่วๆไป (Desktop Application) โดยมี ลักษณะหน%าตา (User Interface) ที่สวยงามมากขึ้น ตัวอย)างเว็บไซตในยุค 2.0 ก็คือเว็บบล็อก
  • 3. 3 (Weblog) สารานุกรมออนไลน (Wiki) เป-นต%น โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 1 Mbps 3. ยุคเว็บ 3.0 ( 2553 เป-นต%นไป) เป-นการพัฒนาเว็บไซดให%เหมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู%พฤติกรรมของผู%ใช%งานเว็บไซดได% ใช%ข%อมูลบางส)วนเพื่อ อธิบายความหมายของข%อมูลในส)วนใหญ) (Tag) เว็บไซดในยุค 3.0 นั้นกล)าวไว%ว)าเป-นการพัฒนาต)อมา จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซดกลายเป-นเครือข)ายสังคมออนไลนขนาดใหญ) ดังนั้นเนื้อหาและข%อมูล ต)างๆจึงมากขึ้นตามมาด%วย ก)อให%เกิดการพัฒนาเว็บไซดที่สามารถตอบสนองความต%องการในการ บริโภคข%อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเรามีข%อมูลมากมายในเว็บไซดจึงต%องเกิดการวิเคราะห และคัดแยกข%อมูลให%ตรงกับผู%ใช%งานต%องการมากที่สุด โดยตัวอย)างของลักษณะเว็บไซดในยุค 3.0 นั้นก็ คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 2.0 Mbps สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก%าวหน%าทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได%เข%ามามีบทบาท สําคัญต)อการดําเนินงาน ทั้งการบริหารและการจัดการของหน)วยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอย)างยิ่ง เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเป-นสิ่งจําเป-นที่ทุกหน)วยงานต%องจัดหามาใช%ในการดําเนินงาน เพราะจะช)วยให%การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป-นไปอย)างสะดวกรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพและทันต)อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต%องมีความรู% ความสามารถ มีทักษะและมีความเข%าใจในกรวนการทํางานการใช%งานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต สามารถนําไป ประยุกตใช%ในการบริหารการจัดการศึกษา และที่สําคัญคือการนําไปใช%ในการจัดการเรียนการสอนได% อย)างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้คอมพิวเตอรได%เข%ามีบทบาทในการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆนับแต)เริ่มใช%เพื่อการศึกษา เช)น การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อีกทั้งยังได% พัฒนาให%มีความสามารถในการสื่อสารผ)านระบบเครือข)าย ระบบคอมพิวเตอรช)วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) แต)ปญหาของการใช%เครื่องมือดัง กล)าวคือการไม)ได%ตอบรับจากนักเรียน ไม)ส)งเสริมให%นักเรียนเกิดความสนใจใฝoเรียนรู% อีกทั้งนักเรียน สามารถเข%าถึงสื่อเหล)านั้นได%ยาก เพราะเป-นสื่อที่ไม)สามารถใช%งานได%บนระบบเครือข)ายอินเทอรเน็ต ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส)งเสริมการเรียนรู%ของนักเรียนในปจจุบันจึงควรเป-นสื่อออนไลนที่นักเรียน สามารถเข%าถึงและเรียนรู%ได%จากทุกหนทุกแห)งหรือทุกสถานที่ ซึ่งสื่อที่ได%รับความนิยมและนักเรียน สามารถเข%าถึงได%ง)ายในปจจุบันก็เป-นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด แต)การที่จะนําสื่อ Social Media และสื่อออนไลนต)างๆมาใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%นั้น สิ่งสําคัญคือครูผู%สอน จะต%องรู%และเข%าใจ และสามารถใช%สื่อเหล)านั้นได%เป-นอย)างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อ เผยแพร)ให%กับนักเรียนได%เรียนรู% และต%องมีปฏิสัมพันธกับนักเรียนอยู)เสมอๆ เช)นการตั้งประเด็นคําถาม การตอบคําถามข%อสงสัย การติดตามผลงาน การให%คําแนะนําที่เหมาะสม นั่นคือจะต%องมีการพัฒนา ครูให%มีความรู%ความสามารถในการใช% Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได%นั่นเอง จากความสําคัญของ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนที่จะช)วยให%นักเรียนเกิดการ เรียนรู%ได%อย)างมีประสิทธิภาพและปลูกฝงให%นักเรียนรู%จักการใช%เทคโนโลยีเพื่อช)วยให%เกิดการเรียนรู% ผู%วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน (Online) โดยใช%เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร)เพื่อส)งเสริมการใช%
  • 4. 4 เทคโนโลยีในเชิงสร%างสรรค และเกิดประโยชนต)อการเรียนรู%ของตนเอง อีกทั้งยังช)วยพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห และสังเคราะหของนักเรียนให%มีประสิทธิภาพอีกด%วย โดยเฉพาะอย)างยิ่งในสาระการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เรื่อง ดิน หิน แร) มีความ จําเป-นอย)างยิ่งที่ต%องนําเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช%ในกิจกรรมการเรียนรู% เนื่องจาก การเรียนรู% เรื่อง ดิน หิน แร) มีเนื้อหาจํานวนมากและต%องมีรูปภาพสีหรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่ง ทรัพยากรบางอย)างไม)มีให%เห็นจริงชีวิตประจําวัน เพื่อให%เกิดเข%าใจมากขึ้น และเพื่อสนองความ ต%องการของนักเรียน ได%ด%วยตนเองทุกเวลา การใช%สื่อออนไลนจะช)วยการจัดกิจกรรมการสอนเพื่อให% นักเรียนเกิดการเรียนรู%ได%มากยิ่งขึ้น ดังนั้น ผู%สอนจึงเลือกใช%สื่อบทเรียนออนไลนมาจัดกิจกรรมการสอน สาระการเรียนรู% วิทยาศาสตร เรื่อง ดิน หิน แร) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 เพื่อให%นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น 2.วัตถุประสงคของการจัดทําสื่อ 1. เพื่อความก%าวหน%าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อการจัดการเรียนรู% วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 22101 เรื่อง ดิน หิน แร) โดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต)อสื่อการจัดการเรียนรู%วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ว 22101 เรื่อง ดิน หิน แร) โดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน 3. สมมติฐาน 1. บทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่องดิน หิน แร) มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต)อกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรียนรู%วิทยาศาสตร โดยใช%สื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 อยู) ในระดับดีหรือดีมาก 4. ขอบเขตของการพัฒนา 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 1.1 ประชากร ได%แก) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 โรงเรียนฟากกวwานวิทยาคม ปqการศึกษา 2558 จํานวน 4 ห%อง 1.2 กลุ)มตัวอย)าง ได%แก) นักเรียนช)วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2/1 โรงเรียนฟากกวwาน วิทยาคม ได%มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. เนื้อหา สาระการเรียนรู%วิทยาศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 ภาคเรียนที่1 เรื่อง ดิน หิน แร)
  • 5. 5 5. ตัวแปรที่ศึกษา 1.ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร) 2. ตัวแปรตาม คือ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด%วยบทเรียนออนไลน (Onlineสาระ วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร) 2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด%วยบทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร) 6. นิยามศัพทเฉพาะ บทเรียนออนไลน (Online) หมายถึงบทเรียนเรื่อง ดิน หิน แร) โดยใช%เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)ซึ่งจะประกอบไปด%วยเนื้อหาของ ดิน หิน แร) ทั้งหมด รวมถึงสื่อการเรียนการสอนใน รูปแบบวีดีโอที่เกี่ยวข%องกับเนื้อหาการเรียนรู% ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได%จากการทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ความคิดเห็นต)อสื่อ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต)อข%อความที่ กําหนด แบบมาตรประมาณค)า 5 ระดับ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. มีแหล)งเรียนรู% http://pronpen.wordpress.com 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อบทเรียนออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) รายวิชา วิทยาศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 สูงขึ้น 3. นักเรียนที่มีเจตคติที่ดีต)อสื่อการจัดการเรียนรู%วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน โดยใช%สื่อบทเรียน ออนไลน เรื่อง ดิน หิน แร) รายวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2
  • 6. 6 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ การวิจัยเรื่อง บทเรียนออนไลน (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปqที่ 2 โรงเรียนฟากกวwานวิทยาคม จังหวัดพะเยา ผู%วิจัยได% ศึกษาค%นคว%าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข%องต)าง ๆ โดยมีสาระสําคัญตามลําดับหัวข%อดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร%างบทเรียนออนไลน (Online) 2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 3. การเรียนการสอนผ)านออนไลน 4. ประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บ 5. การออกแบบการเรียนการสอนผ)านเว็บ 6. ประโยชนของการเรียนการสอนผ)านเว็บ 7. การประเมินผลการเรียนการสอนผ)านเว็บ 8. งานวิจัยที่เกี่ยวข%อง 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสรางบทเรียนออนไลน (Online) ปจจุบันความเจริญก%าวหน%าทางด%านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงไปอย)างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต)างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช)วยอํานวยความสะดวก รวมทั้ง ให%ความบันเทิง หรือแม%กระทั่งการเชื่อมต)อกันเป-นเครือข)าย โดยที่ทุกคนทั่วโลกสามารถเป-นเพื่อกัน พบปะพูดคุยกันได%ตลอดเวลา เพียงแค)มีอินเตอรเน็ต กับอุปกรณสําหรับเชื่อมต)อ เช)น คอมพิวเตอร หรือโทรศัพทมือถือ ทําให%การติดต)อสื่อสารเป-นไปได%อย)างสะดวก รวดเร็ว ไม)จําเป-นที่จะต%องเดินทาง ไปพบปะกันโดยตรง ถ%าพูดถึงคําว)า Social Media หรือ Social Network ในปจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยว)า สิ่งเหล)านี้คืออะไร แต)ถ%าพูดถึง Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ เชื่อว)าหลายคนคง จะปฏิเสธไม)ได%ที่จะไม)รู%จัก ยิ่งโดยเฉพาะในวัยรุ)นหรือเยาวชนที่อยู)ในระหว)างการศึกษาเล)าเรียน คงจะ คุ%นเคยกันเป-นอย)างดี ซึ่งสิ่งเหล)านี้ ( Hi5 , Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ ) ที่ถูก เรียกว)า Social Media หรือ Social Network ดังนั้นถ%าจะให%ความหมายของคําว)า Social Media หรือ Social Network นั้น จะได%ว)า Social Media หมายถึง สังคมออนไลนที่มีผู%ใช%เป-นผู%สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว ประสบการณ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู%ใช%เขียนขึ้นเอง ทําขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล%ว นํามาแบ)งปนให%กับผู%อื่นที่อยู)ในเครือข)ายของตน ผ)านทางเว็บไซต Social Network ที่ให%บริการบน โลกออนไลน ปจจุบันการสื่อสารแบบนี้จะทําผ)านทาง Internet และโทรศัพทมือถือเท)านั้น Social Networkคือ การที่ผู%คนสามารถทําความรู%จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทาง หนึ่ง หากเป-นเว็บไซตที่เรียกว)าเป-นเว็บ Social Network ก็คือเว็บไซตที่เชื่อมโยงผู%คนไว%ด%วยกัน นั่นเอง ( สถาบันคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2552 )
  • 7. 7 กอบวิทย พิริยะวัฒน ( 2553 ) ได%กล)าวว)า ปจจุบัน Social Media ได%กลายเป-นเครื่องมือ ที่สําคัญในการสร%างให%เกิดเป-นเครือข)ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน ที่เปYดโอกาสให%ทุกคนสามารถใช% เป-นช)องทางในการเข%าถึงกลุ)มเป€าหมายได%ง)ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทําให%เกิดประโยชนอย)างมาก โดยไม)เสียค)าใช%จ)ายในการซื้อลิขสิทธิ์แต)อย)างใด ดังนั้น การนําเทคโนโลยี Social Media มาใช%เป-น เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนจะเป-นการผลักดันบุคลากรครูให%ก%าวทันเทคโนโลยีในยุคปจจุบัน และสามารถเข%าถึงเยาวชนยุคใหม)ได%อย)างทันท)วงที ซึ่งจะทําให%เกิดระบบ Community แห)งการ เรียนรู%บนเครือข)ายอินเตอรเน็ต ที่มีการปฏิสัมพันธกันระหว)างผู%สอนกับผู%สอน ผู%สอนกับผู%เรียน และ ผู%เรียนกับผู%เรียน ที่มีการแบ)งปนความรู%แลกเปลี่ยนเรียนรู%ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส)งเสริมให%มีการศึกษา ตามอัธยาศัย ซึ่งสอดคล%องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห)งชาติ พ.ศ. 2542 แก%ไขเพิ่มเติม 2545 ที่ จัดการศึกษาต%องยึดหลักว)าผู%เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู%และพัฒนาตนเองได% และถือว)าผู%เรียนมี ความสําคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต%องส)งเสริมให%ผู%เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ( พ.ร.บ. การศึกษาแห)งชาติ, 2545 ) และสอดคล%องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551 ที่มุ)งพัฒนาการเรียนให%มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู% โดย ให%เกิดสมรรถนะสําคัญข%อที่ 5 คือ ความสามารถในการใช%เทคโนโลยี ซึ่งเป-นความสามารถในการ เลือกใช%เทคโนโลยีต)างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด%านการเรียนรู% การสื่อสาร การทํางานและการแก%ปญหาอย)างสร%างสรรค ถูกต%องเหมาะสมและมี คุณธรรม ( กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการผู%เรียนจะสามารถก%าวสั่งคมการเรียนรู%ได%นั้น จําเป-น อย)างยิ่งที่จะต%องทีพื้นฐานที่เหมาะสม และผู%ที่เกี่ยวข%องทั้งหลายจะต%องช)วยกันสร)างพื้นฐาน ตลอดจน ปจจัยต)าง ๆ ให%พร%อมที่จะสร%างสังคมแหล)งความรู%ขึ้นได% พื้นฐานและปจจัยสําคัญอย)างหนึ่งที่จะช)วย ก%าวไปสู)สังคมแห)งการเรียนรู%ได% คือ ครู อาจารย และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต%อง ปรับปรุงการเรียนรู%ของครู อาจารย และส)งเสริมการเรียนการสอนโดยใช%เทคโนโลยีสารสนเทศ และ สร%างนิสัยในด%านการใฝoรู%และรักความรู%ให%เกิดขึ้นกับเยาวชน ( ครรชิต มาลัยวงศและคณะ, 2544 ) จากสภาพสังคมในปจจุบันที่อินเตอรเข%าถึงเกือบทุกพื้นที่ ทําให%เยาวชนไทยส)วนใหญ)สามารถ เข%าสู)ระบบเครือข)ายสารสนเทศได% สามารถสืบค%นข%อมูลผ)านทางระบบอินเตอรเน็ตได%เป-นอย)างดี ประกอบกับมีเครื่องมือจําพวก Social Media ออกมามากมาย ยิ่งเป-นการทําให%เยาวชนเข%าสู)ระบบ ของโลกอินเตอรเน็ตมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได%จากปญหาที่ปรากฏทางหน%าจอโทรทัศนเกี่ยวกับการใช% งาน Social Media ที่ไม)ถูกต%องและไม)เหมาะสม ซึ่งการจะแก%ปญหาเหล)านี้ไม)ใช)การแก%โดยการปYด กั้นไม)ให%เยาวชนเข%าสู)โลกอินเตอรเน็ตไม)ให%เข%าถึงตัวเยาวชนได%นั่นเอง แต)ทางแก%ที่ดีและตรงกับปญหา มากที่สุดก็คือ การปลูกฝงและแนะนําให%เยาวชนใช%เครื่องมือ Social Media เหล)านี้ในทางที่ เหมาะสม เช)น ใช%ในเชิงการศึกษา ได%แก) การสอบถามปญหาการเรียนกับเพื่อนหรือครูผู%สอน การสรุป ความรู%เก็บไว%บนเว็บส)วนตัว หรือเผยแพร)ความรู%ต)างๆ ตามความเข%าใจบนสื่อทางอินเตอรเน็ต รวมทั้ง การสืบค%นข%อมูลบนอินเตอรเน็ต เป-นต%น สิ่งเหล)านี้สามารถปลูกฝงได%โยผู%ปกครอง ครู/อาจารย รวมทั้งเพื่อนหรือคนรอบข%าง ยิ่งถ%าสังคมมีแนวโน%มที่ใช% Social Media ในเชิงการศึกษามากขึ้น เท)าใด เยาวชนทุกคนก็จะมีแนวโน%นที่จะคล%อยตามและปฏิบัติตามเป-นนิสัยและกิจวัตรมากขึ้น
  • 8. 8 2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) Wordpressหมายถึง โปรแกรมสําเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว%สําหรับสร%างบล็อก หรือ เว็บไซต สามารถใช%งานได%ฟรี ถูกจัดอยู)ในประเภท CMS (Contents Management System) เฟชบุwก ( Facebook ) เป-นเว็บไซตเครือข)ายสังคมสําหรับติดต)อแลกข%อมูลข)าวสาร เปYดใช% งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ พ.ศ. 2547 โดย มารก ซักเคอรเบิรก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮารเวิรด ในช)วงแรกนั้นเฟชบุwกเป-นให%ใช%งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮารเวิรด ซึ่งต)อมาได%ขยายตัวออกไป สําหรับมหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต) 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได%ขยายมาสําหรับผู%ใช% ทั่วไปทุกคนเหมือนในปจจุบัน ( www, 2010 ) หลายท)านอาจจะสงสัยว)าเฟชบุwกนํามาใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%อย)างไร ซึ่งจะขอ อธิบายว)าการจัดการเรียนการสอนโดยใช% Social Media นั้น ไม)ได%หมายความว)าจะต%องใช% Facebook เป-นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียนการสอน แต)จากสภาพสังคมในปจจุบันที่เยาวชน หรือนักเรียนส)วนใหญ) สามารถเข%าถึงอินเตอรเน็ตได%นั้น ทําให%หลายคนมีการใช%เฟชบุwกอยู)เป-นประจํา อยู)แล%ว ซึ่งจากปญหาที่พบก็คือนักเรียนให%ความสนใจกับเฟชบุwกมากเกินไป เช)น ใช%ในการพูดคุยกับ เพื่อน เล)มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรูป และวีดีโอของตนเอง เป-นต%น ซึ่งกิจกรรมต)างๆ เหล)านี้เป-นกิจกรรมที่ไม)ก)อให%เกิดประโยชนหากใช%เวลามากเกินไป หรืออาจเรียกได%ว)านักเรียนมีความ หมกมุ)นกับสิ่งเหล)านี้มากเกินไป ความสนใจที่จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึงมีน%อยลงตามไปด%วย ดังนั้น ถ%าครูผู%สอนสามารถใช%เครื่องมือเหล)านี้ เพื่อชักจูงให%นักเรียนใช%เฟชบุwกในเชิงที่สร%างสรรค เกิด ประโยชนต)อตนเอง ในด%านการสร%างความรู% พัฒนาสติปญญา ก็จะเป-นสิ่งที่เกิดประโยชนอย)างยิ่ง การใช% Facebook ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไม)ได%ใช%โดยตรง แต)จะใช%ในลักษณะของ การติดตามดูแลช)วยเหลือนักเรียน การส)งงาน การบ%าน หรือการตอบปญหาข%อสงสัยต)างๆ ให% นักเรียน อีกทั้งครูยังสามารถติดตามดูแลนักเรียนได% เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม)ส)งงานตาม กําหนดเวลา ซึ่งเป-นการกระตุ%นนักเรียนให%เกิดการเรียนรู%และป€องกันปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได%อีก วิธีการหนึ่ง ซึ่งสามารถสรุปข%อดีและข%อจํากัดของเฟชบุwกได%ดังนี้ ขอดี • สามารถติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนได%ตลอดเวลา • ช)วยให%ครูและนักเรียนสามารถพบปะ พูดคุย สอบถามปญหาได%สะดวกมากขึ้น • ใช%ในการส)งงาน หรือส)งการบ%าน แสดงความคิดเห็น หรือทําแบบทดสอบได% ขอจํากัด • นักเรียนและครูจําเป-นที่จะต%องมีอินเตอรเน็ต • เปYดกว%างในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งต%องระมัดระวังในบางเรื่องหรือบางกรณี • การใช%เวลากับเฟชบุwกมากเกินไปอาจจะเกิดปญหาอื่น ๆ ตามมาได% กติกา สายเสนีย ( 2552 ) ได%กล)าวว)าทวิตเตอร ( Twitter ) คือ เว็บไซตที่ให%บริการ blog
  • 9. 9 สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว)า Micro-Blog ซึ่งสามาระให%ผู%ใช%ส)งข%อความของตนเอง ให%เพื่อนๆ ที่ ติดตาม twitter ของเราอยู)อ)านได% และเราเองก็สามารถอ)านข%อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตาม เค%าอยู)ได% ซึ่ง twitter ก็ถือได%ว)าเป-นเว็บไซตประเภท Social Mediaด%วยเช)นกัน Slideshareและ Youtube Slideshareและ Youtubeเป-นสื่อSocial Media อีกประเภทหนึ่งที่สามารถนําไปใช% ประกอบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได% โดยการใช%งานร)วมกัน Blog นั่นก็คือ การนําเอกสาร ต)างๆ ได%แก) ใบงาน ใบความรู% สไลดที่ใช%ในการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ จาก Slideshare มาแสดงเป-นบทเรียนไว%ใน Blog หรือการนําวีดีโอที่น)าสนใจต)างๆ จาก Youtube มาแสดงไว%ใน Blog เพื่อให%นักเรียนได%เข%ามาศึกษา แสดงความคิดเห็น หรือวิพากษวิจารณ จนเกิดเป-นข%อสรุปที่เป-นองค ความรู% ความเข%าใจ ที่สร%างขึ้นด%วยตนเอง 3. การเรียนการสอนผานออนไลน การใช%เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป-นการนําเอาคุณสมบัติของอินเทอรเน็ตมาออกแบบเพื่อใช% ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ)านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช)นการจัดการเรียนการสอนผ)านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝ„กอบรม (Web-Based Training) อินเทอรเน็ตฝ„กอบรม (Internet-Based Training) อินเทอรเน็ตช)วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลดไวดเว็บฝ„กอบรม (WWW-Based Training) และเวิลดไวดเว็บช)วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต ห)อไพศาล. 2545) ทั้งนี้ มีผู%นิยามและให%ความหมายของการเรียนการสอนผ)านเว็บเอาไว%หลายนิยามได%แก) คาน (Khan, 1997) ได%ให%คําจํากัดความของการเรียนการสอนผ)านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว%ว)าเป-นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอรมีเดียที่ช)วยในการสอน โดยการใช% ประโยชนจากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอรเน็ตมาสร%างให%เกิดการเรียนรู%อย)างมีความหมาย โดยส)งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู%อย)างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู%ในทุกทาง ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได%ให%ความหมายของการเรียนการสอนผ)านเว็บว)าเป-นการใช%ทักษะ หรือความรู%ต)างๆถ)ายโยงไปสู)ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช%เวิลดไวดเว็บเป-นช)องทางในการเผยแพร)สิ่งเหล)านั้น คารลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล)าวว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นภาพที่ ชัดเจนของการผสมผสานระหว)างเทคโนโลยีในยุคปจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) ซึ่งก)อให%เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนําการศึกษาไปสู)ที่ด%อยโอกาสเป-นการ จัดหาเครื่องมือใหม)ๆสําหรับส)งเสริมการเรียนรู%และเพิ่มเครื่องมืออํานวยความสะดวกที่ช)วยขจัดปญหา เรื่องสถานที่และเวลา สําหรับประโยชนทางการศึกษาแก)ผู%เรียนภายในประเทศไทยการเรียนการสอนผ)านเว็บถือเป-น รูปแบบใหม)ของการเรียนการสอนที่เริ่มนําเข%ามาใช%ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท)านให%ความหมายของการ เรียนการสอนผ)านเว็บไว%ดังนี้ กิดานันท มลิทอง (2543) ให%ความหมายว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการใช%เว็บในการ เรียนการสอนโดยอาจใช%เว็บเพื่อนําเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช%เพียงการเสนอข%อมูลบางอย)างเพื่อประกอบการสอนก็ได%รวมทั้งใช%ประโยชนจากคุณลักษณะ
  • 10. 10 ต)างๆของการสื่อสารที่มีอยู)ในระบบอินเทอรเน็ต เช)นการเขียนโต%ตอบกันทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส และการพูดคุยสดด%วยข%อความและเสียงมาใช%ประกอบด%วยเพื่อให%เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให%ความหมายว)า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป-นการผสมผสานกันระหว)างเทคโนโลยีปจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพทางการเรียนรู%และแก%ปญหาในเรื่องข%อจํากัดทางด%านสถานที่และเวลา โดยการสอนบน เว็บจะประยุกตใช%คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลดไวด เว็บ ในการจัดสภาพแวดล%อมที่ส)งเสริมและ สนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ)านเว็บนี้อาจเป-นบางส)วนหรือทั้งหมดของ กระบวนการเรียนการสอนก็ได% ใจทิพย ณ สงขลา (2542) ได%ให%ความหมายการเรียนการสอนผ)านเว็บว)าหมายถึง การผนวก คุณสมบัติไฮเปอรมีเดียเข%ากับคุณสมบัติของเครือข)ายเวิลดไวดเว็บเพื่อสร%างสิ่งแวดล%อมแห)งการเรียน ในมิติที่ไม)มีขอบเขตจํากัดด%วยระยะทางและเวลาที่แตกต)างกันของผู%เรียน (Learning without Boundary) วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล)าวว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการนําเสนอโปรแกรมบทเรียน บนเว็บเพจโดยนําเสนอผ)านบริการเวิลดไวดเว็บในเครือข)ายอินเทอรเน็ตซึ่งผู%ออกแบบและสร%าง โปรแกรมการสอนผ)านเว็บจะต%องคํานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอรเน็ตและ นําคุณสมบัติต)างๆเหล)านั้นมาใช%เพื่อประโยชนในการเรียนการสอนให%มากที่สุด จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในต)างประเทศและภายใน ประเทศไทยดังที่กล)าวมาแล%วนั้นสามารถสรุปได%ว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการจัดสภาพการ เรียนการสอนที่ได%รับการออกแบบอย)างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลดไวดเว็บ มาเป-นสื่อกลางในการถ)ายทอดเพื่อส)งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให%มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป-นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือนํามาใช%เป-นเพียงส)วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช)วย ขจัดปญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด%านสถานที่และเวลาอีกด%วย 4. ประเภทของการเรียนการสอนผานเว็บ การเรียนการสอนผ)านเว็บสามารถทําได%ในหลายลักษณะโดยแต)ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมี วิธีการจัดการเรียนการสอนผ)านเว็บที่แตกต)างกันออกไปซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท)านได%ให% ข%อเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บ ดังต)อไปนี้ พารสัน(Parson,1997) ได%แบ)งประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บออกเป-น 3 ลักษณะคือ 1. เว็บช)วยสอนแบบรายวิชาอย)างเดียว (Stand - Alone Courses) เป-นรายวิชาที่มีเครื่องมือ และแหล)งที่เข%าไปถึงและเข%าหาได%โดยผ)านระบบอินเทอรเน็ตอย)างมากที่สุดถ%าไม)มีการสื่อสารก็ สามารถที่จะไปผ)านระบบคอมพิวเตอรสื่อสารได%ลักษณะของเว็บช)วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป-นแบบ วิทยาเขตมีนักศึกษาจํานวนมากที่เข%ามาใช%จริงแต)จะมีการส)งข%อมูลจากรายวิชาทางไกล 2. เว็บช)วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป-นรายวิชาที่มี ลักษณะเป-นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว)างครูกับนักเรียนและมีแหล)งให%มาก เช)น การกําหนดงานที่ให% ทําบนเว็บ การกําหนดให%อ)านการสื่อสารผ)านระบบคอมพิวเตอรหรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตําแหน)ง ของแหล)งบนพื้นที่ของเว็บไซตโดยรวมกิจกรรมต)างๆ เอาไว%
  • 11. 11 3. เว็บช)วยสอนแบบศูนยการศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป-นชนิดของเว็บไซตที่ มีวัตถุดิบเครื่องมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ)เข%าไว%ด%วยกันหรือเป-นแหล)งสนับสนุน กิจกรรมทางการศึกษาซึ่งผู%ที่เข%ามาใช%ก็จะมีสื่อให%บริการอย)างรูปแบบอย)างเช)น เป-นข%อความเป-น ภาพกราฟYก การสื่อสารระหว)างบุคคล และการทําภาพเคลื่อนไหวต)างๆ เป-นต%น โดเฮอรตี้ (Doherty, 19100) แนะนําว)าการเรียนการสอนผ)านเว็บ มีวิธีการใช%ใน 3 ลักษณะ คือ 1. การนําเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเว็บไซตที่ประกอบไปด%วยข%อความ ภาพกราฟYกโดยมีวิธี การนําเสนอ คือ 1.1 การนําเสนอแบบสื่อเดี่ยว เช)น ข%อความ หรือ รูปภาพ 1.2 การนําเสนอแบบสื่อคู) เช)น ข%อความกับรูปภาพ 1.3 การนําเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบด%วยข%อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง 2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป-นสิ่งจําเป-นที่จะต%องใช%ทุกวันในชีวิตซึ่งเป-น ลักษณะสําคัญของอินเทอรเน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตหลายแบบ เช)น 2.1 การสื่อสารทางเดียว เช)น การดูข%อมูลจากเว็บเพจ 2.2 การสื่อสารสองทาง เช)น การส)งไปรษณียอิเล็กทรอนิกสโต%ตอบกัน 2.3 การสื่อสารแบบหนึ่งแหล)งไปหลายที่เป-นการส)งข%อความจากแหล)งเดียวแพร)กระจายไป หลายแหล)ง เช)นการอภิปรายจากคนเดียวให%คนอื่นๆ ได%รับฟงด%วยหรือการประชุมผ)านคอมพิวเตอร (Computer conferencing) 2.4 การสื่อสารหลายแหล)งไปสู)หลายแหล)ง เช)น การใช%กระบวนการกลุ)มในการสื่อสารบน เว็บ โดยมีคนใช%หลายคนและคนรับหลายคนเช)นกัน 3. การทําให%เกิดความสัมพันธ (Dynamic Interaction) เป-นคุณลักษณะที่สําคัญของ อินเทอรเน็ตและสําคัญที่สุด ซึ่งมี 3 ลักษณะคือ 3.1 การสืบค%นข%อมูล 3.2 การหาวิธีการเข%าสู)เว็บ 3.3 การตอบสนองของมนุษยต)อการใช%เว็บ นอกจากนี้ แฮนนัม (Hannum, 19100) ได%แบ)งประเภทของการเรียนการสอนผ)านเว็บ ออกเป-น 4 ลักษณะ ใหญ)ๆ คือ 1. รูปแบบการเผยแพร) รูปแบบนี้สามารถแบ)งได%ออกเป-น 3 ชนิด คือ 1.1 รูปแบบห%องสมุด (Library Model) เป-นรูปแบบที่ใช%ประโยชนจากความสามารถในการ เข%าไปยังแหล)งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกสที่มีอยู)หลากหลายโดยวิธีการจัดหาเนื้อหาให%ผู%เรียนผ)านการ เชื่อมโยงไปยังแหล)งเสริมต)างๆเช)นสารานุกรม วารสาร หรือหนังสือออนไลนทั้งหลาย ซึ่งถือได%ว)าเป-น การนําเอาลักษณะทางกายภาพของห%องสมุดที่มีทรัพยากรจํานวนมหาศาลมาประยุกตใช% ส)วน ประกอบของรูปแบบนี้ ได%แก) สารานุกรมออนไลน วารสารออนไลนหนังสือออนไลน สารบัญการอ)าน ออนไลน (Online Reading List) เว็บห%องสมุดเว็บงานวิจัย รวมทั้งการรวบรวมรายชื่อเว็บที่สัมพันธ กับวิชาต)างๆ
  • 12. 3 (Weblog) สารานุกรมออนไลน (Wiki) เป-นต%น โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 1 Mbps 3. ยุคเว็บ 3.0 ( 2553 เป-นต%นไป) เป-นการพัฒนาเว็บไซดให%เหมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู%พฤติกรรมของผู%ใช%งานเว็บไซดได% ใช%ข%อมูลบางส)วนเพื่อ อธิบายความหมายของข%อมูลในส)วนใหญ) (Tag) เว็บไซดในยุค 3.0 นั้นกล)าวไว%ว)าเป-นการพัฒนาต)อมา จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซดกลายเป-นเครือข)ายสังคมออนไลนขนาดใหญ) ดังนั้นเนื้อหาและข%อมูล ต)างๆจึงมากขึ้นตามมาด%วย ก)อให%เกิดการพัฒนาเว็บไซดที่สามารถตอบสนองความต%องการในการ บริโภคข%อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเรามีข%อมูลมากมายในเว็บไซดจึงต%องเกิดการวิเคราะห และคัดแยกข%อมูลให%ตรงกับผู%ใช%งานต%องการมากที่สุด โดยตัวอย)างของลักษณะเว็บไซดในยุค 3.0 นั้นก็ คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเทอรเน็ตในยุคนี้คือ 2.0 Mbps สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก%าวหน%าทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได%เข%ามามีบทบาท สําคัญต)อการดําเนินงาน ทั้งการบริหารและการจัดการของหน)วยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอย)างยิ่ง เทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเป-นสิ่งจําเป-นที่ทุกหน)วยงานต%องจัดหามาใช%ในการดําเนินงาน เพราะจะช)วยให%การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป-นไปอย)างสะดวกรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพและทันต)อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต%องมีความรู% ความสามารถ มีทักษะและมีความเข%าใจในกรวนการทํางานการใช%งานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต สามารถนําไป ประยุกตใช%ในการบริหารการจัดการศึกษา และที่สําคัญคือการนําไปใช%ในการจัดการเรียนการสอนได% อย)างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้คอมพิวเตอรได%เข%ามีบทบาทในการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆนับแต)เริ่มใช%เพื่อการศึกษา เช)น การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อีกทั้งยังได% พัฒนาให%มีความสามารถในการสื่อสารผ)านระบบเครือข)าย ระบบคอมพิวเตอรช)วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-Book) แต)ปญหาของการใช%เครื่องมือดัง กล)าวคือการไม)ได%ตอบรับจากนักเรียน ไม)ส)งเสริมให%นักเรียนเกิดความสนใจใฝoเรียนรู% อีกทั้งนักเรียน สามารถเข%าถึงสื่อเหล)านั้นได%ยาก เพราะเป-นสื่อที่ไม)สามารถใช%งานได%บนระบบเครือข)ายอินเทอรเน็ต ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส)งเสริมการเรียนรู%ของนักเรียนในปจจุบันจึงควรเป-นสื่อออนไลนที่นักเรียน สามารถเข%าถึงและเรียนรู%ได%จากทุกหนทุกแห)งหรือทุกสถานที่ ซึ่งสื่อที่ได%รับความนิยมและนักเรียน สามารถเข%าถึงได%ง)ายในปจจุบันก็เป-นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด แต)การที่จะนําสื่อ Social Media และสื่อออนไลนต)างๆมาใช%ในการจัดการเรียนการสอนได%นั้น สิ่งสําคัญคือครูผู%สอน จะต%องรู%และเข%าใจ และสามารถใช%สื่อเหล)านั้นได%เป-นอย)างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อ เผยแพร)ให%กับนักเรียนได%เรียนรู% และต%องมีปฏิสัมพันธกับนักเรียนอยู)เสมอๆ เช)นการตั้งประเด็นคําถาม การตอบคําถามข%อสงสัย การติดตามผลงาน การให%คําแนะนําที่เหมาะสม นั่นคือจะต%องมีการพัฒนา ครูให%มีความรู%ความสามารถในการใช% Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได%นั่นเอง จากความสําคัญของ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนที่จะช)วยให%นักเรียนเกิดการ เรียนรู%ได%อย)างมีประสิทธิภาพและปลูกฝงให%นักเรียนรู%จักการใช%เทคโนโลยีเพื่อช)วยให%เกิดการเรียนรู% ผู%วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน (Online) โดยใช%เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระวิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว22101) เรื่อง ดิน หิน แร)เพื่อส)งเสริมการใช%
  • 13. 13 ลักษณะเด)นของการเรียนการสอนรูปแบบนี้ก็คือความสามารถในการลอกเลียนลักษณะของห%องเรียน ปกติมาใช%ในการออกแบบการเรียนการสอนผ)านเครือข)ายอินเทอรเน็ตโดยอาศัยความสามารถต)างๆ ของอินเทอรเน็ต โดยมีส)วนประกอบคือ ประมวลรายวิชาเนื้อหาในหลักสูตร รายชื่อแหล)งเนื้อหาเสริม กิจกรรมระหว)างผู%เรียนผู%สอน คําแนะนําและการให%ผลป€อนกลับ การนําเสนอในลักษณะมัลติมีเดีย การเรียนแบบร)วมมือ รวมทั้งการสื่อสารระหว)างกันรูปแบบนี้จะช)วยให%ผู%เรียนได%รับประโยชนจากการ เรียนโดยไม)มีข%อจํากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ 5. การออกแบบการเรียนการสอนผานเว็บ ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ)านให%มีประสิทธิภาพนั้นมีนักการศึกษาหลาย ท)านให%ข%อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช%เป-นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้ ดิลลอน (Dillon,1991) ได%ให%แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร%างบทเรียนที่มีลักษณะเป-นสื่อ หลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนําไปประยุกตใช%ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อ การเรียนการสอน แนวคิดดังกล)าวมีขั้นตอน ดังนี้ 1.ศึกษาเกี่ยวกับผู%เรียนและเนื้อหาที่จะนํามาพัฒนาเพื่อกําหนดวัตถุประสงคและหาแนวทางใน การจัดกิจกรรมการเรียน 2.วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร%างของเนื้อหาศึกษาคุณลักษณะของเนื้อหาที่จะนํา มา ใช%เป-นบทเรียนว)าควรจะนําเสนอในลักษณะใด 3.ออกแบบโครงสร%างเพื่อการเข%าถึงข%อมูลอย)างมีประสิทธิภาพโดยผู%ออกแบบควรศึกษาทํา ความเข%าใจกับโครงสร%างของบทเรียนแบบต)างๆโดยพิจารณาจากลักษณะผู%เรียนและเนื้อหาว)า โครงสร%างลักษณะใดจะเอื้ออํานวยต)อการเข%าถึงข%อมูลของผู%เรียนได%ดีที่สุด 4.ทดสอบรูปแบบเพื่อหาข%อผิดพลาดจากนั้นทําการปรับปรุงแก%ไขและทดสอบซ้ําอีกครั้งจน แน)ใจว)าเป-นบทเรียนที่มีประสิทธิภาพก)อนที่จะนําไปใช%งาน อาแวนิติส (Arvanitis, 1997) ได%ให%ข%อเสนอแนะว)าในการสร%างเว็บไซตนั้น ควรจะดําเนินการ ตามขั้นตอนต)อไปนี้ 1.กําหนดวัตถุประสงค โดยพิจารณาว)าเป€าหมายของการสร%างเว็บไซตนี้เพื่ออะไร 2.ศึกษาคุณลักษณะของผู%ที่จะเข%ามาใช%ว)ากลุ)มเป€าหมายใดที่ผู%สร%างต%องการสื่อสาร ข%อมูล อะไร ที่พวกเขาต%องการโดยขั้นตอนนี้ควรจะปฏิบัติควบคู)ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง 3.วางลักษณะโครงสร%างของเว็บ 4.กําหนดรายละเอียดให%กับโครงสร%างซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงคที่ตั้งไว%โดยตั้งเกณฑใน การ ใช% เช)นผู%ใช%ควรจะทําอะไรบ%าง จํานวนหน%าควรมีเท)าใด มีการเชื่อมโยงมากน%อยเพียงไร 5.หลังจากนั้นจึงทําการสร%างเว็บแล%วนําไปทดลองเพื่อหาข%อผิดพลาดและทําการปรับปรุง แก%ไข แล%วจึงค)อยนําเข%าสู)เครือข)ายอินเทอรเน็ตเป-นขั้นตอนสุดท%าย ควินแลน (Quinlan, 1997) เสนอ วิธีดําเนินการ 5 ขั้นตอนเพื่อการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนผ)านเว็บที่มีประสิทธิภาพ คือ 1.ทําการวิเคราะหความต%องการของผู%เรียน รวมทั้งจุดแข็งและจุดอ)อน ของผู%เรียน 2.การกําหนดเป€าหมาย วัตถุประสงค และกิจกรรม 3.ควรเลือกเนื้อหาที่จะใช%นําเสนอพร%อมกับหางานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข%องและช)วยสนับสนุน เนื้อหา
  • 14. 14 4.การวางโครงสร%างและจัดเรียงลําดับข%อมูลรวมทั้งกําหนดสารบัญ เครื่องมือการเข%าสู)เนื้อหา (Navigational Aids) โครงร)างหน%าจอและกราฟYกประกอบ 5.ดําเนินการสร%างเว็บไซตโดยอาศัยแผนโครงเรื่อง คาน (Khan, 1997) ได%กล)าวไว%ว)าการออกแบบเว็บที่ดีมีความสําคัญต)อการเรียนการสอนเป-น อย)างมากดังนั้นจึงควรทําความเข%าใจถึงคุณลักษณะ 2 ประการของโปรแกรมการเรียนการสอน ผ)าน เว็บ 1. คุณลักษณะหลัก (Key Features) เป-นคุณลักษณะพื้นฐานของโปรแกรมการเรียนการสอน ผ)านเว็บทุกโปรแกรมตัวอย)างเช)น การสนับสนุนให%ผู%เรียนมีปฏิสัมพันธกับบทเรียน ผู%สอนหรือผู%เรียน คนอื่นๆ การนําเสนอบทเรียนในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Multimedia) การนําเสนอบทเรียนระบบ เปYด (Open System) กล)าวคืออนุญาตให%ผู%เรียนสามารถเชื่อมโยงเข%าสู)เว็บเพจอื่นๆที่เกี่ยวข%องได% ผู%เรียนสามารถสืบค%นข%อมูลบนเครือข)ายได% (Online Search) ผู%เรียนควรที่จะสามารถเข%าสู)โปรแกรม การสอนผ)านเว็บจากที่ใดก็ได%ทั่วโลกรวมทั้งผู%เรียนควรที่จะสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได% 2. คุณลักษณะเพิ่มเติม (Additional Features) เป-นคุณลักษณะประกอบเพิ่มเติม ซึ่งขึ้นอยู)กับ คุณภาพและความยากง)ายของการออกแบบเพื่อนํามาใช%งานและการนํามาประกอบกับคุณลักษณะ หลักของโปรแกรมการเรียนการสอนผ)านเว็บ ตัวอย)างเช)นความง)ายในการใช%งานของโปรแกรมมีระบบ ป€องกันการลักลอบข%อมูลรวมทั้งระบบให%ความช)วยเหลือบนเครือข)ายมีความสะดวกในการแก%ไข ปรับปรุงโปรแกรม เป-นต%น ฮอลล (Hall, 19100) ได%กล)าวถึงการใช%เว็บในด%านการเรียนการสอนว)า การศึกษาทดลองหา วิธีการสร%างเว็บอย)างมีประสิทธิภาพยังอยู)ในระดับที่น%อยแต)จากการรวบรวมจากประสบการณและ การนําเสนอของบรรดานักออกแบบเว็บเพื่อการเรียนการสอนสรุปได%ว)าเว็บเพื่อการเรียนการสอนที่ดี จะต%องมีลักษณะดังนี้ 1.ต%องสะดวกและไม)ยุ)งยากต)อการสืบค%นของผู%เรียน 2.ต%องมีความสอดคล%องตรงกันในแต)ละเว็บรวมถึงการเชื่อมโยงระหว)างเว็บต)างๆ 3.เวลาในการแสดงผลแต)ละหน%าจอจะต%องน%อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช%ภาพกราฟYกขนาดใหญ) ที่ จะทําให%เสียเวลาในการดาวนโหลด 4.มีส)วนที่ทําหน%าที่ในการจัดระบบในการเข%าสู)เว็บนักออกแบบควรกําหนดให%ผู%เรียนได%เข%าสู) หน%าจอแรกที่มีคําอธิบายมีการแสดงโครงสร%างภายในเว็บ เพื่อทราบถึงขอบเขตที่ผู%เรียนจะสืบค%น 5.ควรมีความยืดหยุ)นในการสืบค%นแม%จะมีการแนะนําว)าผู%เรียนควรจะเรียนอย)างไรตามลําดับ ขั้นตอนก)อนหลังแต)ก็ควรเพิ่มความยืดหยุ)นให%ผู%เรียนสามารถกําหนดเส%นทางการเรียนรู%ได%เอง 6.ต%องมีความยาวในหน%าจอให%น%อยแม%นักออกแบบส)วนใหญ)จะบอกว)าสามารถใช%ไฮเปอรเท็กซ ช)วยในการเลื่อนไปมาในพื้นที่ส)วนต)างๆ ในหน%าจอแต)ในความเป-นจริงแล%วหน%าจอที่สั้น เป-นสิ่งที่ดีที่สุด 7.ไม)ควรมีจุดจบหรือกําหนดจุดสิ้นสุดที่ผู%เรียนไปไหนต)อไม)ได%ควรมีการสร%างในแบบวนเวียนให% ผู%เรียนสามารถหาเส%นทางไปกลับระหว)างหน%าต)างๆได%ง)าย นอกจากนี้ยังควรให%ผู%เรียนสามารถกลับไป เรียนในจุดเริ่มต%นได%ด%วยโดยการคลิกเพียงครั้งเดียว สําหรับนักวิชาการศึกษาในประเทศไทยได%กล)าวถึง การออกแบบการเรียนการสอนผ)านเว็บไว% หลายท)านดังนี้
  • 15. 15 ปทีป เมธาคุณวุฒิ (2540) กล)าวว)าการออกแบบโครงสร%างของการเรียนการสอนผ)านเว็บควร จะประกอบด%วย 1. ข%อมูลเกี่ยวกับรายวิชา ภาพรวมรายวิชา (Course Overview) แสดงวัตถุประสงคของ รายวิชา สังเขปรายวิชาคําอธิบาย เกี่ยวกับหัวข%อการเรียนหรือหน)วยการเรียน 2. การเตรียมตัวของผู%เรียนหรือการปรับพื้นฐานผู%เรียน เพื่อที่จะเตรียมตัวเรียน 3. เนื้อหาบทเรียน พร%อมทั้งการเชื่อมโยงไปยังสื่อสนับสนุนต)างๆในเนื้อหาบทเรียนนั้นๆ 4. กิจกรรมที่มอบหมายให%ทําพร%อมทั้งการประเมินผล การกําหนดเวลาเรียนการส)งงาน 5. แบบฝ„กหัดที่ผู%เรียนต%องการฝ„กฝนตนเอง 6. การเชื่อมโยงไปแหล)งทรัพยากรที่สนับสนุนการศึกษาค%นคว%า 7. ตัวอย)างแบบทดสอบ ตัวอย)างรายงาน 8. ข%อมูลทั่วไป (Vital Information) แสดงข%อความที่จะติดต)อผู%สอนหรือผู%ที่เกี่ยวข%องการ ลงทะเบียนค)าใช%จ)ายการได%รับหน)วยกิตและการเชื่อมโยงไปยังสถานศึกษาหรือหน)วยงานและมีการ เชื่อมโยงไปสู)รายละเอียดของหน%าที่เกี่ยวข%อง 9. ส)วนแสดงประวัติของผู%สอนและผู%ที่เกี่ยวข%อง 10. ส)วนของการประกาศข)าว (Bulletin Board) 11. ห%องสนทนา (Chat Room) ที่เป-นการสนทนาในกลุ)มผู%เรียนและผู%สอน จากที่กล)าวมาการเรียนการสอนผ)านเว็บเป-นการจัดการอย)างจงใจและนําเสนอข%อมูลที่มี เป€าหมายเพื่อพัฒนาการเรียนรู%โดยเฉพาะดังนั้นการออกแบบเว็บช)วยสอนจึงต%องพิจารณาให%เป-นไป ตามวัตถุประสงคและการจัดระเบียบของเนื้อหาในบทเรียนที่สร%างขึ้นเพื่อช)วยให%การเรียนรู%ของผู%เรียน เป-นไปอย)างมีระบบ 6. ประโยชนการเรียนการสอนผานเว็บ ประโยชนของการเรียนการสอนผ)านเว็บมีมากมายหลายประการทั้งนี้ขึ้นอยู)กับวัตถุประสงค ของการนําไปใช%ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป-นมิติใหม)ของเครื่องมือและกระบวนการในการเรียน การสอนโดยมีผู%กล)าวถึงประโยชนของการเรียนการสอนผ)านเว็บไว%ดังนี้ ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2544) ได%กล)าวถึงการสอนบนเว็บมีข%อดีอยู)หลายประการ กล)าวคือ 1. การสอนบนเว็บเป-นการเปYดโอกาสให%ผู%เรียนที่อยู)ห)างไกลหรือไม)มีเวลาในการมาเข%าชั้นเรียน ได%เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต%องการซึ่งอาจเป-นที่บ%าน ที่ทํางานหรือสถานศึกษาใกล%เคียงที่ผู%เรียน สามารถเข%าไปใช%บริการทางอินเทอรเน็ตได%การที่ผู%เรียนไม)จําเป-นต%องเดินทางมายังสถานศึกษาที่ กําหนดไว%จึงสามารถช)วยแก%ปญหาในด%านของข%อจํากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ศึกษาของผู%เรียนเป-น อย)างดี 2. การสอนบนเว็บยังเป-นการส)งเสริมให%เกิดความเท)าเทียมกันทางการศึกษาผู%เรียนที่ศึกษาอยู) ในสถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย ครูผู%สอนซึ่งสอนอยู)ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต)างประเทศก็ตาม 3. การสอนบนเว็บนี้ยังช)วยส)งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู%ตลอดชีวิตเนื่องจากเว็บเป-น แหล)งความรู%ที่เปYดกว%างให%ผู%ที่ต%องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งสามารถเข%ามาค%นคว%าหาความรู%ได% อย)างต)อเนื่องและตลอดเวลาการสอนบนเว็บสามารถตอบสนองต)อผู%เรียนที่มีความใฝoรู%รวมทั้งมีทักษะ
  • 16. 16 ในการตรวจสอบการเรียนรู%ด%วยตนเอง (Meta-cognitive Skills) ได%อย)างมีประสิทธิภาพ 4. การสอนบนเว็บช)วยทลายกําแพงของห%องเรียนและเปลี่ยนจากห%องเรียน 4 เหลี่ยมไปสู)โลก กว%างแห)งการเรียนรู%เปYดโอกาสให%ผู%เรียนสามารถเข%าถึงแหล)งข%อมูลต)างๆได%อย)างสะดวกและมี ประสิทธิภาพสนับสนุนสิ่งแวดล%อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปญหาที่พบในความเป-นจริง โดยเน%นให%เกิดการเรียนรู%ตามบริบทในโลกแห)งความเป-นจริง(Contextualization) และการเรียนรู% จากปญหา (Problem-based Learning) ตามแนวคิดแบบConstructivism 5. การสอนบนเว็บเป-นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพเนื่องจากที่เว็บได%กลายเป-นแหล)ง ค%นคว%าข%อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม)ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม)จํากัดภาษาการสอนบนเว็บ ช)วยแก%ปญหาของข%อจํากัดของแหล)งค%นคว%าแบบเดิมจากห%องสมุดอันได%แก) ปญหาทรัพยากร การศึกษาที่มีอยู)จํากัดและเวลาที่ใช%ในการค%นหาข%อมูลเนื่องจากเว็บมีข%อมูลที่หลากหลายและเป-น จํานวนมากรวมทั้งการที่เว็บใช%การเชื่อมโยงในลักษณะของไฮเปอรมิเดีย (สื่อหลายมิติ)ซึ่งทําให%การ ค%นหาทําได%สะดวกและง)ายดายกว)าการค%นหาข%อมูลแบบเดิม 6. การสอนบนเว็บจะช)วยสนับสนุนการเรียนรู%ที่กระตือรือร%นทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของเว็บ ที่เอื้ออํานวยให%เกิดการศึกษาในลักษณะที่ผู%เรียนถูกกระตุ%นให%แสดงความคิดเห็นได%อยู)ตลอดเวลาโดย ไม)จําเป-นต%องเปYดเผยตัวตนที่แท%จริง ตัวอย)างเช)นการให%ผู%เรียนร)วมมือกันในการทํากิจกรรมต)าง ๆบน เครือข)ายการให%ผู%เรียนได%มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว%บนเว็บบอรดหรือการให%ผู%เรียนมี โอกาสเข%ามาพบปะกับผู%เรียนคนอื่น ๆ อาจารยหรือผู%เชี่ยวชาญในเวลาเดียวกันที่ห%องสนทนา เป-นต%น 7. การสอนบนเว็บเอื้อให%เกิดการปฏิสัมพันธซึ่งการเปYดปฏิสัมพันธนี้อาจทําได% 2 รูปแบบ คือ ปฏิสัมพันธกับผู%เรียนด%วยกันและ/หรือผู%สอนปฏิสัมพันธกับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ ซึ่งลักษณะแรกนี้จะอยู)ในรูปของการเข%าไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ส)วนในลักษณะ หลังนั้นจะอยู)ในรูปแบบของการเรียนการสอนแบบฝ„กหัดหรือแบบทดสอบที่ผู%สอนได%จัดหาไว%ให%แก) ผู%เรียน 8. การสอนบนเว็บยังเป-นการเปYดโอกาสสําหรับผู%เรียนในการเข%าถึงผู%เชี่ยวชาญสาขาต)าง ๆ ทั้ง ในและนอกสถาบันจากในประเทศและต)างประเทศทั่วโลกโดยผู%เรียนสามารถติดต)อสอบถามปญหาขอ ข%อมูลต)าง ๆที่ต%องการศึกษาจากผู%เชี่ยวชาญจริงโดยตรงซึ่งไม)สามารถทําได%ในการเรียนการสอนแบบ ดั้งเดิมนอกจากนี้ยังประหยัดทั้งเวลาและค)าใช%จ)ายเมื่อเปรียบเทียบกับการติดต)อสื่อสารใน ลักษณะเดิม ๆ 9. การสอนบนเว็บเปYดโอกาสให%ผู%เรียนได%มีโอกาสแสดงผลงานของตนสู)สายตาผู%อื่นอย)าง ง)ายดาย ทั้งนี้ไม)ได%จํากัดเฉพาะเพื่อนๆในชั้นเรียนหากแต)เป-นบุคคลทั่วไปทั่วโลกได%ดังนั้นจึงถือเป-นการ สร%างแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย)างหนึ่งสําหรับผู%เรียนผู%เรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม)ให% เสียชื่อเสียงตนเองนอกจากนี้ผู%เรียนยังมีโอกาสได%เห็นผลงานของผู%อื่นเพื่อนํามาพัฒนางานของตนเอง ให%ดียิ่งขึ้น 10. การสอนบนเว็บเปYดโอกาสให%ผู%สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให%ทันสมัยได%อย)าง สะดวกสบายเนื่องจากข%อมูลบนเว็บมีลักษณะเป-นพลวัตร ( Dynamic ) ดังนั้นผู%สอนสามารถอัพเดต เนื้อหาหลักสูตรที่ทันสมัยแก)ผู%เรียนได%ตลอดเวลานอกจากนี้การให%ผู%เรียนได%สื่อสารและแสดงความ คิดเห็นที่เกี่ยวข%องกับเนื้อหาทําให%เนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุ)นมากกว)าการเรียนการสอนแบบเดิม