SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
“สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
จัดทาโดย
1. นายธิติ ประเสริฐจิตสรร
2. นายวิทวัส ใจจิตร์มั่น
3. นางสาวชลธิชา โชติประพาฬ
4. นายวัชรพล จันทรมาศ
5. นายจิรพันธ์ จุติลาภถาวร
ครูที่ปรึกษา
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย
บทคัดย่อ
ขยะเทคโนโลยีนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากรและความก้าวหน้าทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ้าหากไม่มีการกาจัดให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่างๆ และ
ความเป็นพิษจากสิ่งตกค้างเจือปนในสิ่งแวดล้อมย่อมจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผิน
แล้ว ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจน แต่
ในความเป็นจริงแล้ว ขยะเทคโนโลยีจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและจะมีผลกระทบต่อ
สุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงเกิดแนวทางในการป้องกันและการแก้ไขปัญหา
เริ่มต้นด้วย การสร้างจิตสานึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเอง
และภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทางาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จักทิ้งขยะมูลฝอยลงใน
ภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนาไปยัง สถานที่
กาจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังมีแนวทางสาคัญคือการแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ หรือ
กระบวนการที่เรียกว่า "รีไซเคิล" คือ การนาเอาของเสียที่ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม
หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม นากลับมาใช้ใหม่ "การรีไซเคิล" เป็นหนึ่งในวิธีการลด
ขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูก
นามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไปอันจะส่งผลในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยเหตุนี้สมาชิกกลุ่มโครงงานจึงมี
ความสนใจที่จะนาขยะกลับมารีไซเคิลและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยการออกแบบออกแบบและสร้าง
ประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ซึ่งผลที่ได้รับจากการ
ดาเนินงาน คือ ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ,การลดปริมาณขยะภายในโรงเรียน และ การแสดงศักยภาพ
ความสามารถในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร
พันธุกรรม DNA”
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมดใน
ที่นี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านผู้อานวยการสกุล ทองเอียด โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ที่ท่านมอบโอกาสและ
สนับสนุนให้กลุ่มโครงงานสามารถดาเนินการจนประสบความสาเร็จ นอกจากนี้สมาชิกกลุ่มโครงงานใคร่
ขอขอบคุณคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน คือ คุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เสียสละ
เวลาคอยช่วยเหลือให้คาปรึกษา ให้ความรู้เพิ่มเติม ให้คาแนะนาตรวจทานและแก้ไขข้อบกพร่องด้วยความเอา
ใจใส่อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งโครงงานเสร็จสมบูรณ์ สุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณผู้ปกครองของสมาชิกในกลุ่ม
โครงงานที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านสถานที่และงบประมาณในการทาโครงงาน และเพื่อนๆ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ทุกคนที่คอยให้กาลังใจและช่วยเหลือจนทาให้โครงงานนี้ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี
กลุ่มโครงงานวิทยาศาสตร์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนา 1-2
- ที่มาและความสาคัญ
- วัตถุประสงค์
- สมมติฐาน
- ตัวแปรในการศึกษา
- ขอบเขตการศึกษา
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3-7
- ปัญหาจากขยะเทคโนโลยี
- สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะเทคโนโลยี
- การแก้ไขปัญหาขยะเทคโนโลยี
- การรีไซเคิล
บทที่ 3 วัสดุ-อุปกรณ์และขั้นตอนการดาเนินงาน 8
- วัสดุ-อุปกรณ์
- ขั้นตอนการสร้างเครื่องมมือ
บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน 9-14
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน 15-16
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ขยะเทคโนโลยีนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากรและความก้าวหน้าทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ้าหากไม่มีการกาจัดให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่างๆ และ
ความเป็นพิษจากสิ่งตกค้างเจือปนในสิ่งแวดล้อมย่อมจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผิน
แล้ว ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจน แต่
ในความเป็นจริงแล้ว ขยะเทคโนโลยีจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและจะมีผลกระทบต่อ
สุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงเกิดแนวทางในการป้องกันและการแก้ไขปัญหา
ของขยะมูลฝอย เริ่มต้นด้วย การสร้างจิตสานึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งใน
บ้านเรือนของตัวเอง และภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทางาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จัก
ทิ้งลงในภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนาไปยัง
สถานที่กาจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังมีแนวทางสาคัญคือการแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
หรือกระบวนการที่เรียกว่า "รีไซเคิล" คือ การนาเอาของเสียที่ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม
หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม นากลับมาใช้ใหม่ "การรีไซเคิล" เป็นหนึ่งในวิธีการลด
ขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูก
นามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไปอันจะส่งผลในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยเหตุนี้สมาชิกกลุ่มโครงงานจึงมี
ความสนใจที่จะนาขยะกลับมารีไซเคิลและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยการออกแบบออกแบบและสร้าง
ประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ซึ่งผลที่ได้รับจากการ
ดาเนินงาน คือ ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ,การลดปริมาณขยะภายในโรงเรียน และ การแสดงศักยภาพ
ความสามารถในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร
พันธุกรรม DNA”
วัตถุประสงค์
1. เพื่อการลดปริมาณขยะเทคโนโลยีภายในโรงเรียนและชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์โดยการ
นามาใช้ในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
2.เพื่อศึกษาและประยุกต์ใช้ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆมาออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะ
เทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
3. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และการสร้างสรรค์ผลงานการการออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี
“สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย
สมมติฐาน
ขยะเทคโนโลยีแต่ละประเภทมีลักษณะและคุณสมบัติที่แตกต่างกันซึ่งสามารถนามาออกแบบและสร้าง
สิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ได้จริงอย่างเหมาะสม
ตัวแปรในการศึกษา
ตัวแปรต้น : ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆ
ตัวแปรตาม : สิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
ขอบเขตการศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ลดปริมาณขยะเทคโนโลยีภายในโรงเรียนและชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์โดยการนามาใช้
ในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
2.ได้ศึกษาและประยุกต์ใช้ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆมาออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะ
เทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
3. ได้เผยแพร่องค์ความรู้และการสร้างสรรค์ผลงานการการออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี
“สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย
ตัวแปรต้น
ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆ
ตัวแปรตาม
สิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการ
เรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาจากขยะเทคโนโลยี
ขยะเทคโนโลยีนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากร ถ้าหากไม่มีการกาจัดขยะเทคโนโลยี
ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่างๆ ที่เกิดจากขยะเทคโนโลยี จะต้องเกิดขึ้นอย่าง
แน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผินแล้ว ขยะเทคโนโลยีนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์มากนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์ ยังอยู่ในขั้นที่ไม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจนเท่าไร แต่
ในความเป็นจริงแล้ว ขยะเทคโนโลยีจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและจะมีผลกระทบต่อ
สุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย
ขยะเทคโนโลยีนั้นเป็นแหล่งวัสดุดิบชั้นรองที่มีค่า หากมีการดูแล จัดการอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตาม
หากไม่ดูแลจัดการอย่างเหมาะสมแล้ว ก็นับเป็นแหล่งพิษที่ร้ายแรงได้ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่รวดเร็ว
ในปัจจุบัน ทาให้มีต้นทุนเบื้องต้นที่ต่า และยังมีการหมดอายุตามที่กาหนด ทาให้เกิดปัญหารวดเร็วมากขึ้นทั่ว
โลก ปัจจุบันมีวิธีการแก้ปัญหาเชิงเทคนิคหลายประการ แต่จะต้องมีการวางกรอบในเชิงกฎหมาย มีระบบ
จัดเก็บ ระบบขนส่ง และบริการอื่นๆ ที่ต้องใช้ก่อนจะนาไปสู่การดาเนินการทางเทคนิค ขยะเทคโนโลยีใน
อเมริกาที่นาไปถมที่ดินนั้น มีสัดส่วนราว 2 เปอร์เซ็นต์ แต่ในจานวนนี้ เป็นขยะพิษถึง 70 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว
ด้วยสภาพการทางานและมาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีในบางประเทศของเอเชียและแอฟริกา ทามีการ
ส่งขยะอิเล็กทรอนิกส์มาทิ้งหรือกาจัดในประเทศเหล่านั้น ซึ่งโดยมากจะเป็นไปโดยผิดกฎหมาย ในประเทศไทย
เราก็มีข่าวการส่งขยะเข้ามาทางเรืออยู่เสมอๆ กรณีเช่นนี้น่าจะมีการร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่บางคนใน
หน่วยงานบางแห่งของรัฐด้วย ในกัมพูชาก็มีข่าวถูกนาขยะมาทิ้งเช่นกัน
สาหรับในเดลลีและบังกาลอร์ของอินเดีย และในเมืองกุ้ยหยู มณฑลซานโถว ของจีน มีพื้นที่จัดการขยะ
อิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม การเผา ถอดชิ้นส่วน และทาลายโดยไม่มีการควบคุม ย่อมก่อให้เกิด
ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมและต่อสุขภาพผู้คนทั่วไป ได้แก่ผลกระทบต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในการประกอบ
อาชีพ ที่มีผลต่อผู้เกี่ยวข้องโดยตรง อันเนื่องมาจากวิธีการกาจัดขยะเหล่านั้น สาหรับการค้าขยะเทคโนโลยีนั้น
มีระเบียบควบคุมโดยสนธิสัญญา (Basel Convention)
ขยะเทคโนโลยีนั้นมีผลเสียเกี่ยวข้องกับเรื่องของสารพิษบางอย่าง โดยเฉพาะหากจัดการไม่ดี พิษเหล่านี้
มักจะเป็นโลหะหนัก ชนิดที่มีมากได้แก่ ตะกั่ว ปรอท และแคดเมียม นอกจากนี้ยังมีสารหนู กามะถัน และ
สารเคมีอีกเป็นจานวนมาก แม้กระทั่งจอมอนิเตอร์สาหรับคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป ก็มีตะกั่วอยู่ถึง 6 เปอร์เซ็นต์
โดยน้าหนัก ส่วนมากจะอยู่ในแก้วของจอภาพ CRT กล่าวโดยสรุปว่า มีธาตุต่างๆ ในขยะเทคโนโลยีมากขึ้น 38
ชนิดด้วยกัน ความไม่อยู่ยั่งยืนของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์นับเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่
ทาให้ต้องมีการรีไซเคิลหรืออาจนากลับมาใช้ใหม่ (หากจัดการได้เหมาะสม) สาหรับขยะเทคโนโลยีทั้งหลาย
สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะเทคโนโลยี
1. ความมักง่ายและขาดความสานึกถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมาก ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะ
เทคโนโลยีลงตามพื้น หรือแหล่งน้า โดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ และโรงงานอุตสาหกรรมบางแห่งลักลอบนา
สิ่งปฏิกูลไปทิ้งตามที่ว่างเปล่า
2. การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจาเป็น เช่น การผลิตสินค้าที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชิ้น และการซื้อ
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์จานวนมาก ทาให้มีขยะเทคโนโลยีปริมาณมาก
3.การเก็บและทาลาย หรือนาขยะเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค้างไปทั่วบริเวณจนก่อ
ปัญหามลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม
การแก้ไขปัญหาขยะเทคโนโลยี
ขยะเทคโนโลยีมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทาให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้าและ
อากาศ ทาให้บ้านเมืองไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญของผู้ที่ได้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ
ประชาชน โดยทั่วไป การแก้ไขปัญหาของขยะเทคโนโลยี จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่จะ
เกิดขึ้น สาหรับการป้องกันและแก้ไขที่ดีควรพิจารณา ถึงต้นเหตุที่ก่อให้เกิดขยะเทคโนโลยีขึ้นมา ซึ่งก็คงจะ
หมายถึง มนุษย์ หรือผู้สร้างขยะเทคโนโลยี นั้นเอง การป้องกันและการแก้ไขปัญหาของขยะเทคโนโลยี เริ่มต้น
ด้วย การสร้างจิตสานึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเอง และ
ภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทางาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จักทิ้งขยะเทคโนโลยีลงใน
ภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนาไปยัง สถานที่
กาจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น
การรีไซเคิล
การแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ หรือกระบวนการที่เรียกว่า "รีไซเคิล" คือ การนาเอาของเสียที่
ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม นา
กลับมาใช้ใหม่ "การรีไซเคิล" เป็นหนึ่งในวิธีการลดขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและ
ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูกนามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไป
การแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่มีกระบวนการอยู่ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การเก็บรวบรวม2. การ
แยกประเภทวัสดุแต่ละชนิดออกจากกัน 3. การผลิตหรือปรับปรุง 4. การนามาใช้ประโยชน์ในขั้นตอนการผลิต
หรือปรับปรุงนั้น วัสดุที่แตกต่างชนิดกัน จะมีกรรมวิธีในการผลิต แตกต่างกัน เช่น ขวด แก้วที่ต่างสี พลาสติกที่
ต่างชนิด หรือกระดาษที่เนื้อกระดาษ และสีที่แตกต่างกัน ต้องแยกประเภทออกจากกัน
การรีไซเคิล ทาให้โลกมีจานวนขยะลดน้อยลง และช่วยลดปริมาณการนาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้
เป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมให้น้อยลง ลดการถลุงแร่บริสุทธิ์ และลดปริมาณการโค่นทาลายป่าไม้ลงด้วย
การหมุนเวียนนามาผลิตใหม่ยังเป็นการลดการใช้พลังงานจากใต้ภิภพ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่อากาศและลดภาวะการเกิดฝนกรด สาหรับประเทศไทยนั้น จากการศึกษาของกรม
ควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พบว่า ศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ที่สามารถ
นากลับมาใช้ประโยชน์ได้จากมูลฝอยที่เก็บขนได้ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศมีประมาณ
ร้อยละ 16-34 ของปริมาณมูลฝอยที่เก็บได้ แต่มีเพียงร้อยละ 7 หรือประมาณ 2,360 ตันต่อวันเท่านั้น ที่มีการ
นากลับมาใช้ประโยชน์ การนากลับมาใช้ใหม่ จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับชีวิตเพิ่มคุณค่าให้กับ
สิ่งแวดล้อมและช่วยถนอมรักษาทรัพยากรธรรมชาติของโลกไว้ได้ดีที่สุด ในหนทางหนึ่ง
ตัวต้านทาน (Resistor)
เป็นอุปกรณ์ทาหน้าที่ตานการไหลของกระแสไฟฟ้าโดยใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ถ้า
ความต้านทานมากกระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านตัวต้านทานได้น้อย ถ้าความต้านทานน้อยกระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน
ตัวต้านทานได้มาก
ตัวเก็บประจุ (Capacitor or Condenser)
มีคุณสมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้า เกิดจากการที่มีแผ่นโลหะสองแผ่นวางอยู่ใกล้ ๆ กัน แต่ไม่แตะถึงกันโดยมี
แผ่นไดอิเล็กตริกซึ่งมีลักษณะเป็นฉนวนกั้นอยู่ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง
ไดโอด (Diode)
ทามาจากสารกึ่งตัวนามีขนาดเล็ก มีขั้วต่อออกมาใช้งาน 2 ขั้ว มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทางเดียว
เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้าตรงขั้วและจะไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากลับขั้ว โดยมีลักษณะ
ดังรูป
ทรานซิสเตอร์ (Transistor)
เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาชนิด 3 ตอนต่อชนกัน โดยใช้สารกึ่งตัวนาชนิด P และชนิด N ทรานซิสเตอร์ต้องสร้าง
ให้ตัวนาตอนกลางแคบที่สุด มี่ขาต่อออกมาใช้งาน 3ขา
บทที่ 3 วัสดุ-อุปกรณ์และขั้นตอนการดาเนินงาน
วัสดุ-อุปกรณ์
- สายไฟขนาดเล็กสีต่างๆจากอุปกรณ์ที่เสียแล้ว
- power supply ที่เสียแล้ว
- แผ่นวงจรเมนบอร์ดที่เสียแล้ว
- ไขควงขนาดต่างๆ
- ตัวเก็บประจุขนาดต่างๆ
- ปืนยิงกาวยางและแท่งกาวยาง
- ตัวลัดสายไฟขนาดต่างๆ
- อุปกรณ์เครื่องเขียนใช้ร่างแบบและเขียนลวดลาย
- เส้นลวดขนาดกลาง
- ท่อเหล็กสายไฟที่เสียแล้ว
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
(1) รวมกลุ่มสมาชิกโครงงานที่มีความสนใจทาโครงงานวิทยาศาสตร์ : การออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จาก
ขยะเทคโนโลยี
(2) เลือกหัวข้อในการออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี คือ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร
พันธุกรรม DNA”
(3) ร่วมกันออกแบบพร้อมระบุวัสดุจากขยะเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับ หัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร
พันธุกรรม DNA”
(4) นาแบบสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยีมาปรึกษาครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อขอคาแนะนาและนาไปปรับปรุง
รูปแบบให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
(5) ดาเนินการรวบรวมและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องตามแบบสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อ
การเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ที่ได้วางแผนไว้ทั้งในภายในและภายนอกโรงเรียน
(6) สมาชิกกลุ่มจัดทาสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยีตามที่รูปแบบที่ได้วางแผนไว้ในหัวข้อ “สื่อการเรียนรู้
เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” พร้อมกับปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเสร็จเป็นที่สมบูรณ์
(7) นาเสนอสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี ในหัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ที่เสร็จ
สมบูรณ์แล้วทั้งด้านความหมายและความคิดรวบยอดเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อไป
บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน
การออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี ในหัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
การดาเนินโครงงานสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี หัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” (1)
การดาเนินโครงงานสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี หัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” (2)
การดาเนินโครงงานสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี หัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” (3)
การดาเนินโครงงานสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี หัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” (4)
ผลการดาเนินโครงงานวิทยาศาสตร์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ที่เสร็จสมบูรณ์
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
1. ลักษณะโดยภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 100 คน
สถานะ จานวน (คน) ร้อยละ
ครู 20 20.0
นักเรียน 80 80.0
รวม 100 100.0
เพศ จานวน (คน) ร้อยละ
ชาย 30 30.0
หญิง 70 70.0
รวม 100 100.0
ระดับชั้น จานวน (คน) ร้อยละ
มัธยมศึกษาปีที่ 1 10 12.5
มัธยมศึกษาปีที่ 2 12 15.0
มัธยมศึกษาปีที่ 3 13 16.3
มัธยมศึกษาปีที่ 4 15 18.7
มัธยมศึกษาปีที่ 5 10 12.5
มัธยมศึกษาปีที่ 6 20 25.0
รวม 80 100.0
2. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามแยกเป็นรายข้อสอบถาม
ข้อสอบถาม
ระดับความพึงพอใจ
แปลผลน้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
จานวน
(คน)
ร้อย
ละ
จานวน
(คน)
ร้อยละ จานวน
(คน)
ร้อยละ จานวน
(คน)
ร้อยละ จานวน
(คน)
ร้อยละ
1. รูปแบบของสื่อการเรียนรู้
เรื่อง สารพันธุกรรม DNA
0 0.0 0 0.0 23 23.0 42 42.0 35 35.0 ระดับมาก
2. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้
0 0.0 0 0.0 24 24.0 44 44.0 32 32.0 ระดับมาก
3. ขนาดของสื่อการเรียนรู้
เรื่อง สารพันธุกรรม DNA
0 0.0 0 0.0 31 31.0 35 35.0 34 34.0 ระดับมาก
4. ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการ
เรียนรู้สารพันธุกรรม DNA
0 2.0 6 6.0 28 28.0 35 35.0 31 31.0 ระดับมาก
5. ความเหมาะต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียนในปัจจุบัน
0 0.0 0 0.0 18 18.0 49 49.0 33 33.0 ระดับมาก
6. ลาดับขั้นตอนการนาเสนอ
องค์ความรู้จากสื่อ
0 0.0 5 5.0 25 25.0 38 38.0 36 36.0 ระดับมาก
7. ความสะดวกในการเรียนรู้
จากสื่อสารพันธุกรรม DNA
0 0.0 0 0.0 29 29.0 37 37.0 34 34.0 ระดับมาก
8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้
สื่อการเรียนรู้
0 0.0 0 0.0 20 20.0 37 37.0 43 43.0 ระดับมาก
ที่สุด
9. สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม
0 0.0 0 0.0 14 14.0 37 37.0 49 49.0 ระดับมาก
ที่สุด
10. ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้
เรื่อง สารพันธุกรรม DNA
0 0.0 0 0.0 20 20.0 32 32.0 49 49.0 ระดับมาก
ที่สุด
3. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามแยกเป็นรายข้อสอบถาม
ข้อสอบถาม
ระดับความพึงพอใจ
แปลผลค่าเฉลี่ย
(X)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(SD)
1. รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4.12 0.796 ระดับมาก
2. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ 4.08 0.852 ระดับมาก
3. ขนาดของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4.03 0.893 ระดับมาก
4. ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการเรียนรู้สารพันธุกรรม DNA 3.91 0.942 ระดับมาก
5. ความเหมาะต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน 4.15 0.830 ระดับมาก
6. ลาดับขั้นตอนการนาเสนอองค์ความรู้จากสื่อ 4.17 0.890 ระดับมาก
7. ความสะดวกในการเรียนรู้จากสื่อสารพันธุกรรม DNA 4.05 0.951 ระดับมาก
8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการเรียนรู้ 4.23 0.838 ระดับมาก
9. สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4.35 0.783 ระดับมาก
10. ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4.33 0.922 ระดับมาก
-
จากผลการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” พบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักเรียน (ร้อยละ 80) เพศหญิง (ร้อยละ 70) กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 เป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 25.0) ซึ่งมีความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
อยู่ในระดับมากทั้ง 10 ประเด็น โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจมากไปหาน้อย ดังนี้
ลาดับที่ 1 สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.35 (SD=0.783)
ลาดับที่ 2 ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ สารพันธุกรรม DNA มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.33 (SD=0.922)
ลาดับที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.23 (SD=0.838)
ลาดับที่ 4 ลาดับขั้นตอนการนาเสนอองค์ความรู้จากสื่อ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.17 (SD=0.890)
ลาดับที่ 5 ความเหมาะต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.15 (SD=0.830)
ลาดับที่ 6 รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ สารพันธุกรรม DNA มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.12 (SD=0.796)
ลาดับที่ 7 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.08 (SD=0.852)
ลาดับที่ 8 ความสะดวกในการเรียนรู้จากสื่อพันธุกรรมDNAมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.05 (SD=0.951)
ลาดับที่ 9 ขนาดของสื่อการเรียนรู้ สารพันธุกรรม DNA มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.03 (SD=0.893)
ลาดับที่10ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการเรียนรู้สารพันธุกรรมDNAมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ3.91 (SD=0.942)
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” มีค่าเฉลี่ย
ความพึงพอใจรวมเท่ากับ 4.14 (SD=0.870) ซึ่งอยู่ในระดับมาก
กราฟแท่งแสดงค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ "สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA " ตามรายข้อสอบถาม
3.6
3.7
3.8
3.9
4
4.1
4.2
4.3
4.4
ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
บรรณานุกรม
http://floodwisdom.mahidol.ac.th/Factsheet/tips_05.html
http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1303-00/
http://www.manager.co.th/science/viewnews.aspx?NewsID=9540000107869
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B4
%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi4/recycle/re.htm
http://www.chaiwbi.com/0drem/web_children/2551/ms201/c_camp51/600.html
http://www.lpn.co.th/th/press/viewitem.aspx?nid=10
ภาคผนวก
แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงใน  พร้อมเขียนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้ตรงตามความเป็นจริง
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว (กรุณาตอบให้ครบเพื่อการประเมินผลอย่างถูกต้องสมบูรณ์)
1. สถานะ  ครู (ไม่ต้องตอบข้อ 3)  นักเรียน (ต้องตอบข้อ 3)
2. เพศ  ชาย  หญิง
3. ระดับชั้น  ม.1  ม.2  ม.3
 ม.4  ม.5  ม.6
ตอนที่ 2 แบบสอบถามระดับความพึงพอใจ (กรุณาตอบให้ครบเพื่อการประเมินผลอย่างถูกต้องสมบูรณ์)
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (กรุณาเขียนเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนาอย่างแท้จริง)
...................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
เรื่อง
ระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA
2. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้
3. ขนาดของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA
4. ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการเรียนรู้สารพันธุกรรม DNA
5. ความเหมาะต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน
6. ลาดับขั้นตอนการนาเสนอองค์ความรู้จากสื่อ
7. ความสะดวกในการเรียนรู้จากสื่อสารพันธุกรรม DNA
8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการเรียนรู้
9. สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
10. ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA
ขอบคุณผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนที่ตอบแบบสอบถามนี้ตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา
ปรับปรุง “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ต่อไป
สมาชิกโครงงาน “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
เลขที่แบบสอบถาม……………………

More Related Content

What's hot

2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
รายงาน Is
รายงาน Isรายงาน Is
รายงาน IsSarm Kanyarat
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
การพับผ้า (Shirt folding)
การพับผ้า (Shirt folding)การพับผ้า (Shirt folding)
การพับผ้า (Shirt folding)Beerza Kub
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1Areeya Navanuch
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001peter dontoom
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสารวัชรพล เที่ยงปา
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 

What's hot (20)

ปก
ปกปก
ปก
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
รายงาน Is
รายงาน Isรายงาน Is
รายงาน Is
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
การพับผ้า (Shirt folding)
การพับผ้า (Shirt folding)การพับผ้า (Shirt folding)
การพับผ้า (Shirt folding)
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1
 
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
ข้อสอบสัคมศึกษา สค31001
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 

Similar to โครงงานอิเล็ก6

โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4Wichai Likitponrak
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงWichai Likitponrak
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
E news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.finalE news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.finalnok Piyaporn
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterOdosa Kasida
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTpatitadarakorn
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดmaddemon madden
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564PornpenInta
 

Similar to โครงงานอิเล็ก6 (20)

โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4โครงงานอิเล็ก4
โครงงานอิเล็ก4
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
E news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.finalE news-aimi-july 2017.final
E news-aimi-july 2017.final
 
1
11
1
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
พลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICTพลังเยาวชนคน ICT
พลังเยาวชนคน ICT
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

โครงงานอิเล็ก6

  • 1. รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” จัดทาโดย 1. นายธิติ ประเสริฐจิตสรร 2. นายวิทวัส ใจจิตร์มั่น 3. นางสาวชลธิชา โชติประพาฬ 4. นายวัชรพล จันทรมาศ 5. นายจิรพันธ์ จุติลาภถาวร ครูที่ปรึกษา นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาศึกษาตอนปลาย
  • 2. บทคัดย่อ ขยะเทคโนโลยีนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากรและความก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ้าหากไม่มีการกาจัดให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่างๆ และ ความเป็นพิษจากสิ่งตกค้างเจือปนในสิ่งแวดล้อมย่อมจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผิน แล้ว ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจน แต่ ในความเป็นจริงแล้ว ขยะเทคโนโลยีจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและจะมีผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงเกิดแนวทางในการป้องกันและการแก้ไขปัญหา เริ่มต้นด้วย การสร้างจิตสานึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเอง และภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทางาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จักทิ้งขยะมูลฝอยลงใน ภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนาไปยัง สถานที่ กาจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังมีแนวทางสาคัญคือการแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ หรือ กระบวนการที่เรียกว่า "รีไซเคิล" คือ การนาเอาของเสียที่ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม นากลับมาใช้ใหม่ "การรีไซเคิล" เป็นหนึ่งในวิธีการลด ขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูก นามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไปอันจะส่งผลในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยเหตุนี้สมาชิกกลุ่มโครงงานจึงมี ความสนใจที่จะนาขยะกลับมารีไซเคิลและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยการออกแบบออกแบบและสร้าง ประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ซึ่งผลที่ได้รับจากการ ดาเนินงาน คือ ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ,การลดปริมาณขยะภายในโรงเรียน และ การแสดงศักยภาพ ความสามารถในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร พันธุกรรม DNA”
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมดใน ที่นี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านผู้อานวยการสกุล ทองเอียด โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ที่ท่านมอบโอกาสและ สนับสนุนให้กลุ่มโครงงานสามารถดาเนินการจนประสบความสาเร็จ นอกจากนี้สมาชิกกลุ่มโครงงานใคร่ ขอขอบคุณคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน คือ คุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เสียสละ เวลาคอยช่วยเหลือให้คาปรึกษา ให้ความรู้เพิ่มเติม ให้คาแนะนาตรวจทานและแก้ไขข้อบกพร่องด้วยความเอา ใจใส่อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งโครงงานเสร็จสมบูรณ์ สุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณผู้ปกครองของสมาชิกในกลุ่ม โครงงานที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านสถานที่และงบประมาณในการทาโครงงาน และเพื่อนๆ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ทุกคนที่คอยให้กาลังใจและช่วยเหลือจนทาให้โครงงานนี้ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี กลุ่มโครงงานวิทยาศาสตร์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนา 1-2 - ที่มาและความสาคัญ - วัตถุประสงค์ - สมมติฐาน - ตัวแปรในการศึกษา - ขอบเขตการศึกษา - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3-7 - ปัญหาจากขยะเทคโนโลยี - สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะเทคโนโลยี - การแก้ไขปัญหาขยะเทคโนโลยี - การรีไซเคิล บทที่ 3 วัสดุ-อุปกรณ์และขั้นตอนการดาเนินงาน 8 - วัสดุ-อุปกรณ์ - ขั้นตอนการสร้างเครื่องมมือ บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน 9-14 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน 15-16 บรรณานุกรม ภาคผนวก
  • 5. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ขยะเทคโนโลยีนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากรและความก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ้าหากไม่มีการกาจัดให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่างๆ และ ความเป็นพิษจากสิ่งตกค้างเจือปนในสิ่งแวดล้อมย่อมจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผิน แล้ว ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจน แต่ ในความเป็นจริงแล้ว ขยะเทคโนโลยีจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและจะมีผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จึงเกิดแนวทางในการป้องกันและการแก้ไขปัญหา ของขยะมูลฝอย เริ่มต้นด้วย การสร้างจิตสานึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งใน บ้านเรือนของตัวเอง และภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทางาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จัก ทิ้งลงในภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนาไปยัง สถานที่กาจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังมีแนวทางสาคัญคือการแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ หรือกระบวนการที่เรียกว่า "รีไซเคิล" คือ การนาเอาของเสียที่ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม นากลับมาใช้ใหม่ "การรีไซเคิล" เป็นหนึ่งในวิธีการลด ขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูก นามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไปอันจะส่งผลในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยเหตุนี้สมาชิกกลุ่มโครงงานจึงมี ความสนใจที่จะนาขยะกลับมารีไซเคิลและใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยการออกแบบออกแบบและสร้าง ประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ซึ่งผลที่ได้รับจากการ ดาเนินงาน คือ ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ,การลดปริมาณขยะภายในโรงเรียน และ การแสดงศักยภาพ ความสามารถในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร พันธุกรรม DNA” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อการลดปริมาณขยะเทคโนโลยีภายในโรงเรียนและชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์โดยการ นามาใช้ในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” 2.เพื่อศึกษาและประยุกต์ใช้ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆมาออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะ เทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
  • 6. 3. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และการสร้างสรรค์ผลงานการการออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย สมมติฐาน ขยะเทคโนโลยีแต่ละประเภทมีลักษณะและคุณสมบัติที่แตกต่างกันซึ่งสามารถนามาออกแบบและสร้าง สิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ได้จริงอย่างเหมาะสม ตัวแปรในการศึกษา ตัวแปรต้น : ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆ ตัวแปรตาม : สิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ลดปริมาณขยะเทคโนโลยีภายในโรงเรียนและชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์โดยการนามาใช้ ในการออกแบบและสร้างประดิษฐ์ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” 2.ได้ศึกษาและประยุกต์ใช้ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆมาออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์ลดโลกร้อนจากขยะ เทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” 3. ได้เผยแพร่องค์ความรู้และการสร้างสรรค์ผลงานการการออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย ตัวแปรต้น ขยะเทคโนโลยีชนิดต่างๆ ตัวแปรตาม สิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อการ เรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ปัญหาจากขยะเทคโนโลยี ขยะเทคโนโลยีนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากร ถ้าหากไม่มีการกาจัดขยะเทคโนโลยี ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ปัญหาความสกปรกต่างๆ ที่เกิดจากขยะเทคโนโลยี จะต้องเกิดขึ้นอย่าง แน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผินแล้ว ขยะเทคโนโลยีนั้นไม่ได้มีผลกระทบต่อมนุษย์มากนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์ ยังอยู่ในขั้นที่ไม่รุนแรงมากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจนเท่าไร แต่ ในความเป็นจริงแล้ว ขยะเทคโนโลยีจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมากและจะมีผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยของมนุษย์ด้วย ขยะเทคโนโลยีนั้นเป็นแหล่งวัสดุดิบชั้นรองที่มีค่า หากมีการดูแล จัดการอย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตาม หากไม่ดูแลจัดการอย่างเหมาะสมแล้ว ก็นับเป็นแหล่งพิษที่ร้ายแรงได้ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ในปัจจุบัน ทาให้มีต้นทุนเบื้องต้นที่ต่า และยังมีการหมดอายุตามที่กาหนด ทาให้เกิดปัญหารวดเร็วมากขึ้นทั่ว โลก ปัจจุบันมีวิธีการแก้ปัญหาเชิงเทคนิคหลายประการ แต่จะต้องมีการวางกรอบในเชิงกฎหมาย มีระบบ จัดเก็บ ระบบขนส่ง และบริการอื่นๆ ที่ต้องใช้ก่อนจะนาไปสู่การดาเนินการทางเทคนิค ขยะเทคโนโลยีใน อเมริกาที่นาไปถมที่ดินนั้น มีสัดส่วนราว 2 เปอร์เซ็นต์ แต่ในจานวนนี้ เป็นขยะพิษถึง 70 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว ด้วยสภาพการทางานและมาตรฐานสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีในบางประเทศของเอเชียและแอฟริกา ทามีการ ส่งขยะอิเล็กทรอนิกส์มาทิ้งหรือกาจัดในประเทศเหล่านั้น ซึ่งโดยมากจะเป็นไปโดยผิดกฎหมาย ในประเทศไทย เราก็มีข่าวการส่งขยะเข้ามาทางเรืออยู่เสมอๆ กรณีเช่นนี้น่าจะมีการร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่บางคนใน หน่วยงานบางแห่งของรัฐด้วย ในกัมพูชาก็มีข่าวถูกนาขยะมาทิ้งเช่นกัน
  • 8. สาหรับในเดลลีและบังกาลอร์ของอินเดีย และในเมืองกุ้ยหยู มณฑลซานโถว ของจีน มีพื้นที่จัดการขยะ อิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม การเผา ถอดชิ้นส่วน และทาลายโดยไม่มีการควบคุม ย่อมก่อให้เกิด ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมและต่อสุขภาพผู้คนทั่วไป ได้แก่ผลกระทบต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในการประกอบ อาชีพ ที่มีผลต่อผู้เกี่ยวข้องโดยตรง อันเนื่องมาจากวิธีการกาจัดขยะเหล่านั้น สาหรับการค้าขยะเทคโนโลยีนั้น มีระเบียบควบคุมโดยสนธิสัญญา (Basel Convention) ขยะเทคโนโลยีนั้นมีผลเสียเกี่ยวข้องกับเรื่องของสารพิษบางอย่าง โดยเฉพาะหากจัดการไม่ดี พิษเหล่านี้ มักจะเป็นโลหะหนัก ชนิดที่มีมากได้แก่ ตะกั่ว ปรอท และแคดเมียม นอกจากนี้ยังมีสารหนู กามะถัน และ สารเคมีอีกเป็นจานวนมาก แม้กระทั่งจอมอนิเตอร์สาหรับคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป ก็มีตะกั่วอยู่ถึง 6 เปอร์เซ็นต์ โดยน้าหนัก ส่วนมากจะอยู่ในแก้วของจอภาพ CRT กล่าวโดยสรุปว่า มีธาตุต่างๆ ในขยะเทคโนโลยีมากขึ้น 38 ชนิดด้วยกัน ความไม่อยู่ยั่งยืนของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์นับเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ ทาให้ต้องมีการรีไซเคิลหรืออาจนากลับมาใช้ใหม่ (หากจัดการได้เหมาะสม) สาหรับขยะเทคโนโลยีทั้งหลาย สาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาขยะเทคโนโลยี 1. ความมักง่ายและขาดความสานึกถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมาก ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะ เทคโนโลยีลงตามพื้น หรือแหล่งน้า โดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ และโรงงานอุตสาหกรรมบางแห่งลักลอบนา สิ่งปฏิกูลไปทิ้งตามที่ว่างเปล่า 2. การผลิตหรือใช้สิ่งของมากเกินความจาเป็น เช่น การผลิตสินค้าที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชิ้น และการซื้อ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์จานวนมาก ทาให้มีขยะเทคโนโลยีปริมาณมาก 3.การเก็บและทาลาย หรือนาขยะเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ไม่มีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกค้างไปทั่วบริเวณจนก่อ ปัญหามลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาขยะเทคโนโลยี ขยะเทคโนโลยีมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทาให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้าและ อากาศ ทาให้บ้านเมืองไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญของผู้ที่ได้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ ประชาชน โดยทั่วไป การแก้ไขปัญหาของขยะเทคโนโลยี จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่จะ เกิดขึ้น สาหรับการป้องกันและแก้ไขที่ดีควรพิจารณา ถึงต้นเหตุที่ก่อให้เกิดขยะเทคโนโลยีขึ้นมา ซึ่งก็คงจะ หมายถึง มนุษย์ หรือผู้สร้างขยะเทคโนโลยี นั้นเอง การป้องกันและการแก้ไขปัญหาของขยะเทคโนโลยี เริ่มต้น ด้วย การสร้างจิตสานึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเอง และ ภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทางาน หรือที่สาธารณะอื่น ๆ ให้รู้จักทิ้งขยะเทคโนโลยีลงใน
  • 9. ภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทั้งนี้เป็นการช่วยให้พนักงานเก็บขยะนาไปยัง สถานที่ กาจัดได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น การรีไซเคิล การแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ หรือกระบวนการที่เรียกว่า "รีไซเคิล" คือ การนาเอาของเสียที่ ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจากภาคอุตสาหกรรม นา กลับมาใช้ใหม่ "การรีไซเคิล" เป็นหนึ่งในวิธีการลดขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูกนามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไป การแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่มีกระบวนการอยู่ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การเก็บรวบรวม2. การ แยกประเภทวัสดุแต่ละชนิดออกจากกัน 3. การผลิตหรือปรับปรุง 4. การนามาใช้ประโยชน์ในขั้นตอนการผลิต หรือปรับปรุงนั้น วัสดุที่แตกต่างชนิดกัน จะมีกรรมวิธีในการผลิต แตกต่างกัน เช่น ขวด แก้วที่ต่างสี พลาสติกที่ ต่างชนิด หรือกระดาษที่เนื้อกระดาษ และสีที่แตกต่างกัน ต้องแยกประเภทออกจากกัน การรีไซเคิล ทาให้โลกมีจานวนขยะลดน้อยลง และช่วยลดปริมาณการนาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ เป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมให้น้อยลง ลดการถลุงแร่บริสุทธิ์ และลดปริมาณการโค่นทาลายป่าไม้ลงด้วย การหมุนเวียนนามาผลิตใหม่ยังเป็นการลดการใช้พลังงานจากใต้ภิภพ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่อากาศและลดภาวะการเกิดฝนกรด สาหรับประเทศไทยนั้น จากการศึกษาของกรม ควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พบว่า ศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ที่สามารถ นากลับมาใช้ประโยชน์ได้จากมูลฝอยที่เก็บขนได้ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศมีประมาณ ร้อยละ 16-34 ของปริมาณมูลฝอยที่เก็บได้ แต่มีเพียงร้อยละ 7 หรือประมาณ 2,360 ตันต่อวันเท่านั้น ที่มีการ นากลับมาใช้ประโยชน์ การนากลับมาใช้ใหม่ จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับชีวิตเพิ่มคุณค่าให้กับ สิ่งแวดล้อมและช่วยถนอมรักษาทรัพยากรธรรมชาติของโลกไว้ได้ดีที่สุด ในหนทางหนึ่ง ตัวต้านทาน (Resistor)
  • 10. เป็นอุปกรณ์ทาหน้าที่ตานการไหลของกระแสไฟฟ้าโดยใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ ถ้า ความต้านทานมากกระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านตัวต้านทานได้น้อย ถ้าความต้านทานน้อยกระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน ตัวต้านทานได้มาก ตัวเก็บประจุ (Capacitor or Condenser) มีคุณสมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้า เกิดจากการที่มีแผ่นโลหะสองแผ่นวางอยู่ใกล้ ๆ กัน แต่ไม่แตะถึงกันโดยมี แผ่นไดอิเล็กตริกซึ่งมีลักษณะเป็นฉนวนกั้นอยู่ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง ไดโอด (Diode) ทามาจากสารกึ่งตัวนามีขนาดเล็ก มีขั้วต่อออกมาใช้งาน 2 ขั้ว มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทางเดียว เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้าตรงขั้วและจะไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากลับขั้ว โดยมีลักษณะ ดังรูป
  • 11. ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาชนิด 3 ตอนต่อชนกัน โดยใช้สารกึ่งตัวนาชนิด P และชนิด N ทรานซิสเตอร์ต้องสร้าง ให้ตัวนาตอนกลางแคบที่สุด มี่ขาต่อออกมาใช้งาน 3ขา
  • 12. บทที่ 3 วัสดุ-อุปกรณ์และขั้นตอนการดาเนินงาน วัสดุ-อุปกรณ์ - สายไฟขนาดเล็กสีต่างๆจากอุปกรณ์ที่เสียแล้ว - power supply ที่เสียแล้ว - แผ่นวงจรเมนบอร์ดที่เสียแล้ว - ไขควงขนาดต่างๆ - ตัวเก็บประจุขนาดต่างๆ - ปืนยิงกาวยางและแท่งกาวยาง - ตัวลัดสายไฟขนาดต่างๆ - อุปกรณ์เครื่องเขียนใช้ร่างแบบและเขียนลวดลาย - เส้นลวดขนาดกลาง - ท่อเหล็กสายไฟที่เสียแล้ว ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ (1) รวมกลุ่มสมาชิกโครงงานที่มีความสนใจทาโครงงานวิทยาศาสตร์ : การออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จาก ขยะเทคโนโลยี (2) เลือกหัวข้อในการออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี คือ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร พันธุกรรม DNA” (3) ร่วมกันออกแบบพร้อมระบุวัสดุจากขยะเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับ หัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สาร พันธุกรรม DNA” (4) นาแบบสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยีมาปรึกษาครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อขอคาแนะนาและนาไปปรับปรุง รูปแบบให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น (5) ดาเนินการรวบรวมและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องตามแบบสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี “สื่อ การเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ที่ได้วางแผนไว้ทั้งในภายในและภายนอกโรงเรียน (6) สมาชิกกลุ่มจัดทาสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยีตามที่รูปแบบที่ได้วางแผนไว้ในหัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” พร้อมกับปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเสร็จเป็นที่สมบูรณ์ (7) นาเสนอสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี ในหัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ที่เสร็จ สมบูรณ์แล้วทั้งด้านความหมายและความคิดรวบยอดเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่อไป
  • 13. บทที่ 4 ผลการดาเนินโครงงาน การออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากขยะเทคโนโลยี ในหัวข้อ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA”
  • 19. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินโครงงาน ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” 1. ลักษณะโดยภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 100 คน สถานะ จานวน (คน) ร้อยละ ครู 20 20.0 นักเรียน 80 80.0 รวม 100 100.0 เพศ จานวน (คน) ร้อยละ ชาย 30 30.0 หญิง 70 70.0 รวม 100 100.0 ระดับชั้น จานวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 10 12.5 มัธยมศึกษาปีที่ 2 12 15.0 มัธยมศึกษาปีที่ 3 13 16.3 มัธยมศึกษาปีที่ 4 15 18.7 มัธยมศึกษาปีที่ 5 10 12.5 มัธยมศึกษาปีที่ 6 20 25.0 รวม 80 100.0 2. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามแยกเป็นรายข้อสอบถาม ข้อสอบถาม ระดับความพึงพอใจ แปลผลน้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด จานวน (คน) ร้อย ละ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 1. รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 0 0.0 0 0.0 23 23.0 42 42.0 35 35.0 ระดับมาก 2. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ 0 0.0 0 0.0 24 24.0 44 44.0 32 32.0 ระดับมาก
  • 20. 3. ขนาดของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 0 0.0 0 0.0 31 31.0 35 35.0 34 34.0 ระดับมาก 4. ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการ เรียนรู้สารพันธุกรรม DNA 0 2.0 6 6.0 28 28.0 35 35.0 31 31.0 ระดับมาก 5. ความเหมาะต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนในปัจจุบัน 0 0.0 0 0.0 18 18.0 49 49.0 33 33.0 ระดับมาก 6. ลาดับขั้นตอนการนาเสนอ องค์ความรู้จากสื่อ 0 0.0 5 5.0 25 25.0 38 38.0 36 36.0 ระดับมาก 7. ความสะดวกในการเรียนรู้ จากสื่อสารพันธุกรรม DNA 0 0.0 0 0.0 29 29.0 37 37.0 34 34.0 ระดับมาก 8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ สื่อการเรียนรู้ 0 0.0 0 0.0 20 20.0 37 37.0 43 43.0 ระดับมาก ที่สุด 9. สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม 0 0.0 0 0.0 14 14.0 37 37.0 49 49.0 ระดับมาก ที่สุด 10. ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 0 0.0 0 0.0 20 20.0 32 32.0 49 49.0 ระดับมาก ที่สุด 3. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามแยกเป็นรายข้อสอบถาม ข้อสอบถาม ระดับความพึงพอใจ แปลผลค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) 1. รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4.12 0.796 ระดับมาก 2. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ 4.08 0.852 ระดับมาก 3. ขนาดของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4.03 0.893 ระดับมาก 4. ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการเรียนรู้สารพันธุกรรม DNA 3.91 0.942 ระดับมาก 5. ความเหมาะต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน 4.15 0.830 ระดับมาก 6. ลาดับขั้นตอนการนาเสนอองค์ความรู้จากสื่อ 4.17 0.890 ระดับมาก 7. ความสะดวกในการเรียนรู้จากสื่อสารพันธุกรรม DNA 4.05 0.951 ระดับมาก 8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการเรียนรู้ 4.23 0.838 ระดับมาก 9. สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4.35 0.783 ระดับมาก 10. ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4.33 0.922 ระดับมาก -
  • 21. จากผลการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักเรียน (ร้อยละ 80) เพศหญิง (ร้อยละ 70) กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 เป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 25.0) ซึ่งมีความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” อยู่ในระดับมากทั้ง 10 ประเด็น โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจมากไปหาน้อย ดังนี้ ลาดับที่ 1 สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.35 (SD=0.783) ลาดับที่ 2 ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ สารพันธุกรรม DNA มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.33 (SD=0.922) ลาดับที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.23 (SD=0.838) ลาดับที่ 4 ลาดับขั้นตอนการนาเสนอองค์ความรู้จากสื่อ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.17 (SD=0.890) ลาดับที่ 5 ความเหมาะต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.15 (SD=0.830) ลาดับที่ 6 รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ สารพันธุกรรม DNA มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.12 (SD=0.796) ลาดับที่ 7 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.08 (SD=0.852) ลาดับที่ 8 ความสะดวกในการเรียนรู้จากสื่อพันธุกรรมDNAมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.05 (SD=0.951) ลาดับที่ 9 ขนาดของสื่อการเรียนรู้ สารพันธุกรรม DNA มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.03 (SD=0.893) ลาดับที่10ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการเรียนรู้สารพันธุกรรมDNAมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ3.91 (SD=0.942) สรุปผลการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” มีค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจรวมเท่ากับ 4.14 (SD=0.870) ซึ่งอยู่ในระดับมาก กราฟแท่งแสดงค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ "สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA " ตามรายข้อสอบถาม 3.6 3.7 3.8 3.9 4 4.1 4.2 4.3 4.4 ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
  • 24. แบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับ “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงใน  พร้อมเขียนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมให้ตรงตามความเป็นจริง ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว (กรุณาตอบให้ครบเพื่อการประเมินผลอย่างถูกต้องสมบูรณ์) 1. สถานะ  ครู (ไม่ต้องตอบข้อ 3)  นักเรียน (ต้องตอบข้อ 3) 2. เพศ  ชาย  หญิง 3. ระดับชั้น  ม.1  ม.2  ม.3  ม.4  ม.5  ม.6 ตอนที่ 2 แบบสอบถามระดับความพึงพอใจ (กรุณาตอบให้ครบเพื่อการประเมินผลอย่างถูกต้องสมบูรณ์) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (กรุณาเขียนเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนาอย่างแท้จริง) ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. เรื่อง ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1. รูปแบบของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 2. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์สื่อการเรียนรู้ 3. ขนาดของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA 4. ความรู้ที่ได้รับจากสื่อการเรียนรู้สารพันธุกรรม DNA 5. ความเหมาะต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน 6. ลาดับขั้นตอนการนาเสนอองค์ความรู้จากสื่อ 7. ความสะดวกในการเรียนรู้จากสื่อสารพันธุกรรม DNA 8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้สื่อการเรียนรู้ 9. สื่อการเรียนรู้รีไซเคิลเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 10. ภาพรวมของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA ขอบคุณผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนที่ตอบแบบสอบถามนี้ตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา ปรับปรุง “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” ต่อไป สมาชิกโครงงาน “สื่อการเรียนรู้ เรื่อง สารพันธุกรรม DNA” เลขที่แบบสอบถาม……………………