SlideShare a Scribd company logo
1 of 264
Download to read offline
ร่ างหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล
ู
พ.ศ.2555

สํานักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษา เขต 1
จังหวัดอุบลราชธานี
คํานํา
เอกสารหลักสู ตรสถานศึกษาฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อ เป็ นแนวทางในการศึกษา มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยนํา
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เป็ นแนวทางในการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษาของ
โรงเรี ยน โดยนําเนื้อหาจากแกนกลางมา 70% และเนื้อหาจากบริ บทของท้องถิ่น 30%
หวังว่าเอกสารหลักสู ตรสถานศึกษาฉบับนี้จะมีประโยชน์
ต่อสถานศึกษาโรงเรี ยน ครู และนักเรี ยน
ขอขอบคุณคณะผูจดทําหลักสู ตรสถานศึกษา ทําให้หลักสู ตรของเราเสร็ จสมบูรณ์และนําไปใช้ได้
้ั
สารบัญ
บทที่ 1 บทนํา
ปรัชญา

การศึกษาเป็ นการพัฒนาสภาพชีวตและสังคม
ิ

วิสัยทัศน์
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกําลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที่มีความ
ู
สมดุลทั้งร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในหน้าที่ทางสังคม ความเป็ นพลเมืองไทย และเป็ นพลโลก ยึด
มันในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน
์
่
รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
ํ
ิ
่
สําคัญ บนพื้นฐานความเชื่อที่วา ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นสมรรถนะของผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ู
พ.ศ.2551 โดยมีสมรรถนะพื้นฐาน 5 ประการ
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา
ั
ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ั
ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
ิ
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื สารสนเทศ
ิ
เพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญ หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและ
แก้ไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดย คํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและ
สิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
ั
ิ
่
การดําเนินชีวตประจําวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยูร่วมกันใน
ิ
้
สังคมด้วยการ สร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
ั
เหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยง
ั
ั
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น
้
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และ
้
มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทํางาน
ั
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
โดยสอนสอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานการเรี ยนรู ้/ตัวชี้วดทั้ง 8 สาระการเรี ยนรู ้
ั
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสู ตรแกนกลาง
ู
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เพื่อต้องการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนทุกคน ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
3. มีวนย
ิ ั
4. ใฝ่ เรี ยนรู้
่
5. อยูอย่างพอเพียง
6. มุ่งมันในการทํางาน
่
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
และโรงเรี ยนได้เพิ่มเติมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ดังนี้
9. มีจิตสํานึกในหน้าที่ทางสังคม
คุณลักษณะเหล่านี้ สอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานและตัวชี้วดของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆและ
ั
สามารถพัฒนาผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อโครงการต่างๆของโรงเรี ยน
บทที่ 2 โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา
ระดับการศึกษา
่
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล จัดระดับการศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) และ
ู
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ มี 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
1.
ภาษาไทย
2.
คณิ ตศาสตร์
3.
วิทยาศาสตร์
4.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5.
สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6.
ศิลปะ
7.
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8.
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 ลักษณะ
1. กิจกรรมแนะแนว
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสิ นใจ คิด
ั
แก้ปัญหา กําหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวตทั้งด้านการเรี ยน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม
ิ
นอกจากนี้ยงช่วยให้ครู รู้จกและเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษาแก่ผปกครองใน
ั
ั
ํ
ู้
การมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน
2. กิจกรรมนักเรียน
เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินย ความเป็ นผูนาผู ้ ตามที่ดี ความรับผิดชอ บ การทํางาน
ั
้ ํ
ร่ วมกัน การรู้จกแก้ปัญหา การตัดสิ นใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทร และ
ั
สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยน ให้ได้ปฏิบติดวย
ั ้
ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบติตามแผน ประเมินและปรับปรุ งการทํางาน
ั
เน้นการทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน บริ บทของ
สถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย
2.1 กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
้ ํ
2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม
3. กิจกรรมเพือสั งคมและสาธารณประโยชน์
่
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนบําเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสี ยสละต่อสังคม มีจิต
สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยจัดกิจจกรมอาสาพาไปพัฒนา
หมู่บ้านในชุ มชน
โครงสร้ างเวลาเรียน
โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา
(ม.1 - 3)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม
• กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
คณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม
สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ
รวมเวลาเรียนพืนฐาน
้
• กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
• รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด
่
เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น
่
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

ม.1

เวลาเรียน
ม.2

ม.3

120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
840 (3น น.ก.)
120

120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
840 (3น น.ก.)
120

120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
80 (3น น.ก.)
120 (3น น.ก.)
840 (3น น.ก.)
120

ปี ละไม่เกิน 240 ชัวโมง
่
ปี ละไม่เกิน 1,200 ชัวโมง/ปี
่
โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 กลุ่มเรียนปกติ
เวลาเรียน
ภาคเรียนที่ 1
ภาคเรียนที่ 2
นก. ( ชม.)
รายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาพืนฐาน
้
ท21101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.5 (60) ท21102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ค21101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.5 (60) ค21102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
ว21101 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.5 (60) ว21102 วิทยาศาสตร์ พ้นฐาน
ื
ส21101 สังคมศึกษา
1.0 (40) ส21102 สังคมศึกษา
ส21103 พระพุทธศาสนา
0.5 (20) ส21104 พระพุทธศาสนา
ส21105 ประวัติศาสตร์ 1
0.5(20) ส21106 ประวัติศาสตร์ 2
พ21101 สุ ขศึกษา
0.5 (20) พ21102 สุ ขศึกษา
พ21101 พละศึกษา
0.5 (20) พ21102 พละศึกษา
ศ21101 ศิลปะ
1.0 (40) ศ21102 ศิลปะ
ง21101 การงานและพื้นฐานอาชีพ 1 0.5 (20) ง21102 การงานและพื้นฐานอาชีพ 2
ง21103 เทคโนโลยีสารสนเทศ
0.5(20) ง21104 เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสาร 1
และการสื่ อสาร 2
อ21101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1
1.5(60) อ21102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
11.0 (440)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาเพิมเติม
่
รายวิชาเพิมเติม
่
ค21201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.0 (40) ค21202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
ส21201 กฎหมายน้อย 1
0.5(20) ส21202 กฎหมายน้อย 2
พ21201 เปตอง
1.0 (40) พ21202 แชร์ บอล
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
2.5(100)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
60
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
20
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
40
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมจิตอาสา
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
13.5(600)
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

เวลาเรียน
นก. ( ชม.)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.0 (40)
0.5 (20)
0.5(20)
0.5 (20)
0.5 (20)
1.0 (40)
0.5 (20)
0.5(20)
1.5(60)
11.0 (440)
1.0 (40)
0.5(20)
1.0 (40)
2.5(100)
60
20
40
13.5(600)
โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มเรียนปกติ
เวลาเรียน
ภาคเรียนที่ 1
ภาคเรียนที่ 2
นก. ( ชม.)
รายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาพืนฐาน
้
ท22101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.5 (60) ท22102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ค22101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.5 (60) ค22102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
ว22101 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.5 (60) ว22102 วิทยาศาสตร์ พ้นฐาน
ื
ส22101 สังคมศึกษา
1.0 (40) ส22102 สังคมศึกษา
ส22103 พระพุทธศาสนา
0.5 (20) ส22104 พระพุทธศาสนา
ส22105 ประวัติศาสตร์ 3
0.5(20) ส22106 ประวัติศาสตร์ 4
พ22101 สุ ขศึกษา
0.5 (20) พ22102 สุ ขศึกษา
พ22101 พละศึกษา
0.5 (20) พ22102 พละศึกษา
ศ22101 ศิลปะ
1.0 (40) ศ22102 ศิลปะ
ง22101 การงานและพื้นฐานอาชีพ 3
0.5 (20) ง22102 การงานและพื้นฐานอาชีพ 4
ง22103 เทคโนโลยีสารสนเทศ
0.5(20) ง22104 เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการออกแบบ1
และการออกแบบ 2
อ22103 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3
1.5 (60) อ22104 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
11.0 (440)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาเพิมเติม
่
รายวิชาเพิมเติม
่
ค22201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.0 (40) ค22202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
ส22201 กฎหมายน้อย 3
0.5 (20) ส22202 กฎหมายน้อย 4
พ22201 กรี ฑา
1.0 (40) พ22202 วอลเลย์บอล
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
2.5 (100)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
60
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
20
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
40
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมจิตอาสา
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
13.5(600)
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

เวลาเรียน
นก. ( ชม.)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.0 (40)
0.5 (20)
0.5(20)
0.5 (20)
0.5 (20)
1.0 (40)
0.5 (20)
0.5(20)
1.5 (60)
11.0 (440)
1.0 (40)
0.5 (20)
1.0 (40)
2.5 (100)
60
20
40
13.5(600)
โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 กลุ่มเรียนปกติ
เวลาเรียน
ภาคเรียนที่ 1
ภาคเรียนที่ 2
นก. ( ชม.)
รายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาพืนฐาน
้
ท23101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.5 (60) ท23102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ค23101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.5 (60) ค23102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
ว23101 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.5 (60) ว23102 วิทยาศาสตร์ พ้นฐาน
ื
ส23101 สังคมศึกษา
1.0 (40) ส23102 สังคมศึกษา
ส23103 พระพุทธศาสนา
0.5 (20) ส23104 พระพุทธศาสนา
ส23105 ประวัติศาสตร์ 5
0.5(20) ส23106 ประวัติศาสตร์ 6
พ23101 สุ ขศึกษา
0.5 (20) พ23102 สุ ขศึกษา
พ23101 พละศึกษา
0.5 (20) พ23102 พละศึกษา
ศ23101 ศิลปะ
1.0 (40) ศ23102 ศิลปะ
ง23101 การงานและพื้นฐานอาชีพ 5
0.5 (20) ง23102 การงานและพื้นฐานอาชีพ 6
ง23103 เทคโนโลยีสารสนเทศ
0.5(20) ง23104 เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการออกแบบ 3
และการออกแบบ 4
อ23105 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 5
1.5 (60) อ23106 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
11.0 (440)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาเพิมเติม
่
รายวิชาเพิมเติม
่
ค23201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.0 (40) ค23202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
ส23201 กฎหมายน่ารู ้ 1
0.5 (20) ส23202 กฎหมายน่ารู ้ 2
พ23201 ตะกร้อ
1.0 (40) พ23202 บาสเกตบอล
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
2.5 (100)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
60
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
20
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
40
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมจิตอาสา
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
13.5 (600)
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

เวลาเรียน
นก. ( ชม.)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.0 (40)
0.5 (20)
0.5(20)
0.5 (20)
0.5 (20)
1.0 (40)
0.5 (20)
0.5(20)
1.5 (60)
11.0 (440)
1.0 (40)
0.5 (20)
1.0 (40)
2.5 (100)
60
20
40
13.5 (600)
โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา
(ม.4 - 6)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม
• กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
คณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม
สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาต่างประเทศ
รวมเวลาเรียนพืนฐาน
้
• กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
• รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด
่
เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น
่
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

เวลาเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ม. 4-6
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
240 (6 นก.)
1,590 (39 นก.)
360
ไม่นอยกว่า 1,680 ชัวโมง
้
่
รวม 3 ปี ไม่นอยกว่า 3,600 ชัวโมง/ปี
้
่
โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 (นักเรียนทีมีความสามารถด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี )
่
เวลาเรียน
เวลาเรียน
ภาคเรียนที่ 1
(หน่ วยกิต /
ภาคเรียนที่ 2
(หน่ วยกิต /
ชั่ วโมง)
ชั่ วโมง)
รายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาพืนฐาน
้
ท31101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40)
ท31102 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40)
ค31101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.0 (40)
ค31102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.0 (40)
ว31101 ฟิ สิ กส์พ้ืนฐาน
1.5 (60)
ว31121 เคมีพ้ืนฐาน
1.5 (60)
ส31101 สังคมศึกษา
1.0 (40)
ส31102 สังคมศึกษา
1.0 (40)
ส31103 ประวัติศาสตร์ 1
0.5 (20)
ส31104 ประวัติศาสตร์ 2
0.5 (20)
พ31101 สุ ขศึกษาและพละศึกษา
0.5 (20)
พ31102 สุ ขศึกษาและพละศึกษา
0.5 (20)
ศ31101 ศิลปะ
0.5 (20)
ศ31102 ศิลปะ
0.5 (20)
ง31101 การดํารงชีวต
ิ
0.5 (20)
ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศและ
0.5 (20)
การสื่ อสาร 1
ง31103 การออกแบบและเทคโนโลยี
0.5(20)
ง31104 การอาชีพ
0.5 (20)
อ31101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1
1.0 (40)
อ31102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2
1.0 (40)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
8.0 (320)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
8.0 (320)
รายวิชาเพิมเติม
่
รายวิชาเพิมเติม
่
ค31201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.5 (60)
ค31202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.5 (60)
ว31221 เคมีเพิ่มเติม
1.5(60)
ค31203 คณิ ตเพิ่มพูนประสบการณ์ 1
0.5 (20)
ว31241 ชีววิทยาเพิ่มเติม
1.5 (60)
ว31201 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม
2.0 (80)
ว31281 เทคนิคปฏิบติการ 1
ั
1.0(40)
ว31242 ชีววิทยาเพิ่มเติม
1.5 (60)
อ31201 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 1
1.5(60)
อ31202 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 2
1.5(60)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
7.0 (280)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
7.0 (280)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

60
20

40
15.0(660)

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

60
20

40
15.0(660)
โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 (นักเรียนทีมีความสามารถด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี )
่
เวลาเรียน
เวลาเรียน
ภาคเรียนที่ 1
(หน่ วยกิต /
ภาคเรียนที่ 2
(หน่ วยกิต/ ชั่วโมง)
ชั่ วโมง)
รายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาพืนฐาน
้
ท32101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40)
ท32102 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40)
ค32101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.0 (40)
ค32102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.0 (40)
ว32161 โลกดาราศาสตร์ และอวกาศ
1.5 (60)
ว32141 ชีววิทยาพื้นฐาน
1.5 (60)
ส32101 สังคมศึกษา
1.0 (40)
ส32102 สังคมศึกษา
1.0 (40)
พ32101 สุ ขศึกษาและพละศึกษา
0.5 (20)
พ32102 สุ ขศึกษา
0.5 (20)
ศ32101 ศิลปะ
0.5 (20)
ศ32102 ศิลปะ
0.5 (20)
ง32103 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
0.5 (20)
อ32104 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4
1.0 (40)
สื่ อสาร 2
ง32104 โครงงานอาชีพ
0.5 (20)
อ32103 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3
1.0 (40)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
7.5 (300)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
6.5 (260)
รายวิชาเพิมเติม
่
รายวิชาเพิมเติม
่
ค32201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.5 (60)
ค32202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.5 (60)
ค32204 คณิ ตเพิ่มพูนประสบการณ์ 2
0.5 (20)
ค32205 โครงงานคณิ ตศาสตร์ 1*
1.0 (40)
ว32202 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม
2.0 (80)
ว32203 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม
2.0 (80)
ว32222 เคมีเพิ่มเติม
1.5 (60)
ว32223 เคมีเพิ่มเติม
1.5 (60)
อ32203 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 3
1.5 (60)
ว32283 ระเบียบวิธีวจยเบื้องต้น
ิั
0.5 (20)
ว32286 โครงงานวิทยาศาสตร์ 1*
1.0(40)
ง32241 โครงงานคอมพิวเตอร์ 1*
1.0(40)
อ32204 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 4
1.5 (60)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
7.0 (280)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
8.0 (320)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
60
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
20
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
40
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมจิตอาสา
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
14.5 (640)
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
หมายเหตุ * รายวิชาโครงงานให้ นักเรียนเลือกเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง

60
20
40
14.5 (640)
โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 (นักเรียนทีมีความสามรถด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี )
่
เวลาเรียน
เวลาเรียน
ภาคเรียนที่ 1
(หน่ วยกิต /
ภาคเรียนที่ 2
(หน่ วยกิต/
ชั่ วโมง)
ชั่ วโมง)
รายวิชาพืนฐาน
้
รายวิชาพืนฐาน
้
ท33101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40)
ท33102 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40)
ค33101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.0 (40)
ค33102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน
1.0 (40)
ส33101 สังคมศึกษา
1.0 (40)
ส33102 สังคมศึกษา
1.0 (40)
ส33103 ประวัตศาสตร์ 3
0.5 (20)
ส33103 ประวัตศาสตร์ 4
0.5 (20)
พ33101 สุ ขศึกษาและพละศึกษา
0.5 (20)
พ33102 สุ ขศึกษาและพละศึกษา
0.5 (20)
ศ33101 ศิลปะ
0.5 (20)
ศ33102 ศิลปะ
0.5 (20)
อ33105 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 5
1.0 (40)
อ33106 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6
1.0 (40)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
5.5 (220)
รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน
้
5.5 (220)
รายวิชาเพิมเติม
่
รายวิชาเพิมเติม
่
ค33201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.5 (60)
ค33202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม
1.5 (60)
ค33206 โครงงานคณิ ตศาสตร์ 2*
1.0 (40)
ว33205 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม
2.0 (80)
ว33204 ฟิ สิ กส์เพิมเติม
2.0 (80)
ว33225 เคมีเพิมเติม
1.5 (60)
่
่
ว33224 เคมีเพิ่มเติม
1.5 (60)
ว33244 ชีววิทยาเพิ่มเติม
1.5 (60)
ว33243 ชีววิทยาเพิ่มเติม
1.5 (60)
ว33285 ระเบียบวิธีวจยเบื้องต้น
ิั
0.5 (20)
ว33284 ระเบียบวิธีวจยเบื้องต้น
ิั
0.5 (20)
ว33282 เทคนิคปฏิบติการ 2
ั
1.0 (40)
ว33287 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2*
1.0(40)
อ33206 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 6
1.5 (60)
ง33242 โครงงานคอมพิวเตอร์ 2*
1.0(40)
อ33205 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 5
1.5 (60)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
9.5 (380)
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม
่
9.5 (380)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
60
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
60
กิจกรรมแนะแนว
20
กิจกรรมแนะแนว
20
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี
40
40
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมชุมนุมวิชาการ
กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมจิตอาสา
รวมเวลาเรียนทั้งหมด

15.0 (660)

รวมเวลาเรียนทั้งหมด

15.0 (660)

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล กําหนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ใน 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ จํานวน 67
ู
มาตรฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ดังนี้
1. กลุ่มสาระภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่ าน
มาตรฐาน ท 1.1
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหา
ั
ในการดําเนินชีวตและมีนิสัยรักการอ่าน
ิ
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว
ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด
ิ
ความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณ และสร้างสรรค์
ิ
สาระที่ 4 หลักการใช้ ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
ิ
2. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จานวนในชีวตจริ ง
ํ
ิ
มาตรฐาน ค 1.2
เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
การดําเนินการต่าง ๆ และใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคํานวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.4
เข้าใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช้
สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1
มาตรฐาน ค 2.2

เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการวัด
้
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 31
อธิ บายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ
(visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ
ใช้แบบจําลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1
เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน
ั
มาตรฐาน ค 4.2
ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย
และนําไปใช้แก้ปัญหา
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.1
เข้าใจและใช้วธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอมูล
ิ
้
มาตรฐาน ค 5.2
ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้
ิ
อย่างสมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ
ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ
ั
ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์
3. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดํารงชี วต
ิ
ิ
มาตรฐาน ว 1.1
เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ
ิ
ั
ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
ิ ํ
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ในการดํารงชีวตของตนเองและดูแล
ิ
สิ่ งมีชีวต
ิ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม
วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่
ั
ิ
มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนําความรู ้
ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 2 ชี วตกับสิ่ งแวดล้ อม
ิ
มาตรฐาน ว 2.1
เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต
ิ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ
ิ
หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ
ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนําความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยังยืน
่
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1
เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่
เรี ยนรู ้ และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่
่
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์
มี
กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2
เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน
ิ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและ
ิ
สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้และ
นําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 6 : กระบวนการเปลียนแปลงของโลก
่
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ
กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้
และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1
เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน
ั
ระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
ิ
จิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสํารวจอวกาศและ
ํ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะ หา
ความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่าง
มีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม
ิ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู ้ การ
่
แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบ
ที่
่
แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูใน
้
ช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม
ั
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน
4. กลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส 1.1
รู ้ และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน และปฏิบติตาม
ั
่
่
หลักธรรม เพื่ออยูร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 1.2
เข้าใจ ตระหนักและปฏิบติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษา
ั
พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ 2 หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวตในสั งคม
่
ิ
มาตรฐาน ส 2.1
เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ั
ธํารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทย และ
ิ ่
สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 2.2

เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธํารง
ั
่
รักษาไว้ซ่ ึ งการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น
์
ประมุข

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1
เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้
่ํ
ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุมค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ
้
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวตอย่างมีดุลยภาพ
ิ
มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจําเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1
เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบน ในด้านความสัมพันธ์และ
ั
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส 4.3
เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธํารงความเป็ นไทย
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1
เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกัน
และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ
ค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
้
ั
มาตรฐาน ส 5.2
เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสํานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ั
และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงยืน
ั่
5. กลุ่มสาระสุ ขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชี วตและครอบครัว
ิ
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดําเนินชีวต
ั
ิ
สาระที่ 3 การเคลือนไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
่
มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
ั
มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจําอย่าง
ั
สมํ่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน
ิ ั
ํ
การแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา
สาระที่ 4 การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค
้
มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดํารงสุ ขภาพ การป้ องกัน
ั
โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชี วต
ิ
มาตรฐาน พ 5.1
ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้
ั
ยาสารเสพติด และความรุ นแรง
6. กลุ่มสาระศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ 1.1
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวตประจําวัน
ิ
มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ
สากล
สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1
เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจารณ์คุณค่า
ิ
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์
ใช้ในชีวตประจําวัน
ิ
มาตรฐาน ศ 2.2
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ 3.1
เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน
ชีวตประจําวัน
ิ
มาตรฐาน ศ3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ
นาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
7. กลุ่มสาระการงานอาชี พและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดํารงชี วตและครอบครัว
ิ
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทํางาน
ั
ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน และทักษะ
การแสวงหาความรู ้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึก
ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดํารงชีวตและครอบครัว
ิ
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้
หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้
เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการ
ิ
จัดการเทคโนโลยีที่ยงยืน
ั่
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
มาตรฐาน ง 3.1
เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล
การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน
และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม
สาระที่ 4 การอาชี พ
มาตรฐาน ง 4.1
เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
ั
ํ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
8. กล่ มสาระภาษาต่ างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพือการสื่ อสาร
่
มาตรฐาน ต 1.1
เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความคิเห็น
ด
อย่างมีเหตุผล
มาตรฐาน ต 1.2
มีทกษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึกและ
ั
ความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
มาตรฐาน ต 1.3
นําเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ
โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนําไปใช้ได้
อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2
เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ 3 ภาษากับความสั มพันธ์ กบกลุ่มสาระการเรียนรู้ อน
ั
ื่
ั
มาตรฐาน ต3.1
ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อและเป็ น
ื่น
พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบชุ มชนและโลก
ั
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2
ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
ั
และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบสังคมโลก
ตัวชี้วด
ั
โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล กําหนดตัวชี้วดเป็ นชั้นปี และตัวชี้วดเป็ นช่วงชั้น ตามหลักสู ตรแกนกลาง
ู
ั
ั
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็ นเป้ าหมายพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ใช้ในระดับการศึกษาภาคบังคับและเป็ น
เป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยน
1.ตัวชี้วดชั้ นปี เป็ นเป้ าหมายพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ใช้ในระดับการศึกษาภาคบังคับ
ั
- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษาปี ที่ 1- 3)
2.ตัววัดช่ วงชั้ น เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6)
หลักสู ตรได้มีการกําหนดรหัสกํากับมาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วด เพื่ อความเข้าใจและให้
ั
สื่ อสารตรงกัน ดังนี้
ว 1.1 ม. 1/2
ม.1 / 2 ตัวชี้วดชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ข้อที่ 2
ั
1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1
ว กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทยาศาสตร์
ิ
ต 2.2 ม.4 – 6/3
ม.4-6/3 ตัวชี้วดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3
ั
2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2
ต กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ
จํานวนตัวชี้วดระดับมัธยมศึกษา
ั
กลุ่มสาระการเรียนรู้
1.ภาษาไทย
2.คณิตศาสตร์
3.วิทยาศาสตร์
4.สั งคมศึกษาฯ
5.สุ ขศึกษาฯ
6.ศิลปะ
7.การงานอาชี พฯ
8.ภาษาต่ างประเทศ
รวม

ม.1
35
27
42
45
23
27
9
20
228

ตัวชี้วดชั้นปี
ั
ม.2
ม.3
32
36
26
25
37
40
44
49
25
24
27
32
14
12
21
21
226
239

รวม
103
78
119
138
72
86
35
62
693

ตัวชี้วดช่ วงชั้น
ั
ม.4-6
36
32
67
63
29
39
29
21
316
บทที่ 3 คําอธิบายรายวิชา

โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ได้ นํารายวิชาพืนฐานในโครงสร้ างหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น
้
พืนฐาน พ.ศ.2551 และได้ จัดทํารายวิชาเพิมเติมตามรู ปแบบดังนี้
้
่
โครงสร้ างหลักสู ตรสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
้
ภาคเรียนที่ 1
ภาคเรียนที่ 2
ระดับชั้ น
เวลาเรียน
รายวิชา
รายวิชา
นก. (ชม)
ม.1 พืนฐาน
้
พืนฐาน
้
ท 21101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.5 (60) ท 21102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ม.2 พืนฐาน
้
พืนฐาน
้
ท 22101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.5 (60) ท 22102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ม.3 พืนฐาน
้
พืนฐาน
้
1.5 (60) ท 23102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ท 23101 ภาษาไทยพื้นฐาน
ม.4 พืนฐาน
้
พืนฐาน
้
1.0 (40) ท 31102 ภาษาไทยพื้นฐาน
ท 31101 ภาษาไทยพื้นฐาน
เพิมเติม
่
เพิมเติม
่
ท31201 การพูด 1
1.0 (40) ท31202 ภาษาเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ม.5 พืนฐาน
้
พืนฐาน
้
ท 32101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40) ท 32102 ภาษาไทยพื้นฐาน
เพิมเติม
่
เพิมเติม
่
1.0 (40) ท32204 ส่ งเสริ มสมรรถภาพการอ่าน
ท32203 การเขียน
ม.6 พืนฐาน
้
พืนฐาน
้
ท 33101 ภาษาไทยพื้นฐาน
1.0 (40) ท 33102 ภาษาไทยพื้นฐาน
เพิมเติม
่
เพิมเติม
่
ท33205 หลักไทย
1.0 (40) ท33206 ภาษาพาสนุก

เวลาเรียน
นก. (ชม)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.5 (60)
1.0 (40)
1.0 (40)
1.0 (40)
1.0 (40)
1.0 (40)
1.0 (40)
รายวิชา ภาษาไทยพืนฐาน
้
รหัสวิชา ท21101

คําอธิบายรายวิชา

จํานวน
ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

60 ชั่ วโมง
จํานวน 1.5 หน่ วยกิต

อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสําคัญจากเรื่ องที่อ่าน ระบุเหตุผลข้อเท็จจริ ง
กับข้อคิดเห็นจากบทความ อธิ บายคําเปรี ยบเทียบและคําที่มีหลายความหมายในบริ บทต่างๆ จากงานเขียน
เชิงสร้างสรรค์ เรื่ องเล่า เรื่ องสั้น บทความ นิทาน บันเทิงคดี เอกสารทางวิชาการ และวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับ
จากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาชีวต มีมารยาทในการอ่าน
ิ
ใช้กระบวนการเขียนเรี ยงความเชิงพรรณนา เขียนสื่ อสาร โดยใช้คาถูกต้อง การคัดลายมือตัวบรรจง
ํ
ตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย บรรยายประสบการณ์ ย่อความจากเรื่ องที่อ่าน มีความสามารถในการ
สื่ อสาร มีมารยาทในการเขียน
พูดสรุ ปใจความสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู มีทกษะในการพูดเล่าเรื่ องย่อและเรื่ องที่ฟังและดู พูด
ั
สรุ ปความรู ้และแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู มีมารยาทในการฟัง การดูและ
การพูด
อธิ บายลักษณะของเสี ยงในภาษาไทย การสร้างคํา วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค และ
ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทต่างๆ พร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิ บายคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
ิ
ใช้กระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม การสาธิ ต การสื บค้นข้อมูล การ
อภิปราย การแสวงหาความรู ้ เพื่อให้นกเรี ยนเห็นคุณค่าของการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด สามารถนําความรู ้ไปใช้
ั
แก้ปัญหาในชีวตประจําวัน ใช้เทคโนโลยีการสื่ อสาร มีความรักความภาคภูมิใจในภาษาไทย มีมารยาทการ
ิ
อ่านเขียน มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด และมีคุณธรรมจริ ยธรรม
ตามหลักแนวคิดและเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสตัวชี้วด
ั
ท 1.1 ม.1/1 ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/3 ท 1.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/1
ท 2.1 ม.1/2 ท 2.1 ม.1/3 ท 2.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/5 ท 3.1 ม.1/1
ท 3.1 ม.1//2 ท 3.1 ม.1/3 ท 4.1 ม.1 /1 ท 4.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/3
ท 5.1 ม.1/1 ท 5.1 ม.1// 2 ท 5.1 ม.1/3
รายวิชา ภาษาไทยพืนฐาน
้
รหัสวิชา ท21102

คําอธิบายรายวิชา

จํานวน
ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1

60 ชั่ วโมง
จํานวน 1.5 หน่ วยกิต

อ่านตีความคํายากในเอกสารทางวิชาการ โดยพิจารณาจากบริ บท ระบุขอสังเกตและความ
้
สมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ ปฏิบติตามคู่มือแนะนําวิธีการใช้งานของเครื่ องมือหรื อ
ั
เครื่ องใช้ในระดับที่ยากขึ้น และวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนําไปใช้
แก้ปัญหาชีวต มีมารยาทในการอ่าน
ิ
เขียนแสดงความคิดเห็น จดหมายส่ วนตัวและจดหมายกิจธุระ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าแล
โครงงาน มีมารยาทในการเขียน
พูดรายงานจากการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ หรื อประเด็นที่ศึกษาจากการฟัง การดู และ
การสนทนา ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ มีทกษะในการสื่ อสาร และมีมารยาทใน
ั
การฟัง การดู และการพูด
วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดกับภาษาเขียน แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี 11 จําแนก
และใช้สานวนที่เป็ นคําพังเพยและสุ ภาษิต
ํ
ํ
ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ สรุ ปความรู ้และข้อคิด
จากการอ่านเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง
ิ
ใช้กระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม การสาธิ ต การสื บค้นข้อมูล การ
อภิปราย การแสวงหาความรู ้ เพื่อให้นกเรี ยนเห็นคุณค่าของการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด สามารถนําความรู ้ไปใช้
ั
แก้ปัญหาในชีวตประจําวัน ใช้เทคโนโลยีการสื่ อสาร มีความรักความภาคภูมิใจในภาษาไทย มีมารยาทการ
ิ
อ่านเขียน มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด และมีคุณธรรมจริ ยธรรม
ตามหลักแนวคิดและเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสตัวชี้วด
ั
ท 1.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/6 ท 1.1 ม.1/7 ท 1.1 ม.1/8 ท 1.1 ม.1/9
ท 2.1 ม.1/6 ท 2.1 ม.1/7 ท 2.1 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/4
ท 3.1 ม.1/5 ท 3.1 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/4 ท 5.1 ม.1/ 5
รายวิชา ภาษาไทยพืนฐาน
้
รหัสวิชา ท22101

คําอธิบายรายวิชา

จํานวน
ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

60 ชั่ วโมง
จํานวน 1.5 หน่ วยกิต

อ่านบทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยายและบทพรรณนา อ่านคําประพันธ์ชนิดต่างๆ กลอนบทละคร
กลอนนิทาน กาพย์ห่อโคลง อ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ จับใจความสําคัญ และคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ความรู ้ที่ได้จากการอ่าน ใช้แผนผังความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนต่างๆ อภิปรายแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน มุ่งมันในการทํางาน ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน ใช้ทกษะกระบวนการทาง
ั
่
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสารรู ปแบบต่างๆ การคัดลายมือตัวบรรจงตามรู ปแบบการเขียน
อักษรไทย มีความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด การเขียน
ั
เรี ยงความเกี่ยวกับประสบการณ์ ย่อความจากสื่ อต่างๆ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ
เหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า และสามารถนํากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ
ดําเนินชีวตประจําวัน มีมารยาทในการเขียน มีวนย ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมันในการทํางานและรักความเป็ นไทย
ิ
ิ ั
่
การฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด
ิ
และความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณ และสร้างสรรค์ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น
ิ
พูดเกี่ยวกับความรู ้สึกจากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดสรุ ปความจากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์
จากเรื่ องที่ฟังและดู มีความสามารถในการรับและส่ งสาร รวมทั้งเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความ
ขัดแย้ง มีมารยาทในการฟัง ดูและการพูด
หลักการใช้ภาษา เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักของภาษาไทย การสร้างคําไทย วิเคราะห์
โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน
วรรณคดีและวรรณกรรม เข้าใจและแสดงความคิดเห็น จากวรรณคดีหรื อวรรณกรรมที่อ่าน
วิเคราะห์วจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ อย่างสร้างสรรค์
ิ
คิดอย่างมีวจารณญาณ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีจิตสาธารณะ
ิ
และรักความเป็ นไทย
รหัสตัวชี้วด
ั
ท 1.1 ม.2/1 ท 1.1 ม.2/2 ท 1.1 ม.2/3 ท 1.1 ม.2/4 ท 1.1 ม.2/8
ท 2.1 ม.2/1 ท 2.1 ม.2/2 ท 2.1 ม.2/3 ท 2.1 ม.2/4 ท 2.1 ม.2/5
ท 2.1 ม.2/6 ท 2.1 ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1 ท 3.1 ม.2/2 ท 3.1 ม.2/3
ท 3.1 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1 ท 4.1 ม.2/2 ท 5.1 ม.2/1 ท 5.1 ม.2/2
ท 5.1 ม.2/3
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)

More Related Content

What's hot

ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001Thidarat Termphon
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสChu Ching
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมพงษ์เทพ ทองจันทร์
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6Anukun Khaiochaaum
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
Key9 saman taxobiodiver_kruwichaitu
Key9 saman taxobiodiver_kruwichaituKey9 saman taxobiodiver_kruwichaitu
Key9 saman taxobiodiver_kruwichaituWichai Likitponrak
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...chaiwat vichianchai
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
Key9 saman bodysystem1_kruwichaitu
Key9 saman bodysystem1_kruwichaituKey9 saman bodysystem1_kruwichaitu
Key9 saman bodysystem1_kruwichaituWichai Likitponrak
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวdeegree
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
Key9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaituKey9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaituWichai Likitponrak
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56dockrupornpana55
 

What's hot (20)

ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
Key9 saman taxobiodiver_kruwichaitu
Key9 saman taxobiodiver_kruwichaituKey9 saman taxobiodiver_kruwichaitu
Key9 saman taxobiodiver_kruwichaitu
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล  ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย  (thailand ste...
รายงานเสนอเพื่อขอรับรางวัล ครูดีเด่น Stem education ประเทศไทย (thailand ste...
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
Key9 saman bodysystem1_kruwichaitu
Key9 saman bodysystem1_kruwichaituKey9 saman bodysystem1_kruwichaitu
Key9 saman bodysystem1_kruwichaitu
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สว
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
Key9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaituKey9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaitu
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56docหลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
หลักสูตร Is ม.ต้น.56doc
 

Viewers also liked

เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...
เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...
เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...sbuasakul
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 

Viewers also liked (10)

คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...
เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...
เปตองเป็นกีฬากลางแจ้งประเภทหนึ่งซึ่งมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ ประวัติที่แน่นอนไม่...
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
Sar 2556
Sar 2556Sar 2556
Sar 2556
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)

บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวdeegree
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3Nadeewittaya School
 

Similar to ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม) (20)

บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
การพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สวการพัฒนาหลักสูตร สว
การพัฒนาหลักสูตร สว
 
lucksud
lucksudlucksud
lucksud
 
Focus3
Focus3Focus3
Focus3
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
Focus1
Focus1Focus1
Focus1
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-304 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
04 15กค56 3สารสนเทศ 56-3
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 

More from Nattayaporn Dokbua

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศNattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)Nattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)Nattayaporn Dokbua
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาNattayaporn Dokbua
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบNattayaporn Dokbua
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1Nattayaporn Dokbua
 

More from Nattayaporn Dokbua (9)

เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
งานนำเสนอ Bandura (ใหม่)
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
โลโก้โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล (สมมุตินาม)
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษาร่างหลักสูตรสถานศึกษา
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา
 
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบกลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
กลุ่มที่ 2 ส่งแบบทดสอบ
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่ม 1
 

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)

  • 2. คํานํา เอกสารหลักสู ตรสถานศึกษาฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อ เป็ นแนวทางในการศึกษา มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยนํา หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เป็ นแนวทางในการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษาของ โรงเรี ยน โดยนําเนื้อหาจากแกนกลางมา 70% และเนื้อหาจากบริ บทของท้องถิ่น 30% หวังว่าเอกสารหลักสู ตรสถานศึกษาฉบับนี้จะมีประโยชน์ ต่อสถานศึกษาโรงเรี ยน ครู และนักเรี ยน ขอขอบคุณคณะผูจดทําหลักสู ตรสถานศึกษา ทําให้หลักสู ตรของเราเสร็ จสมบูรณ์และนําไปใช้ได้ ้ั
  • 4. บทที่ 1 บทนํา ปรัชญา การศึกษาเป็ นการพัฒนาสภาพชีวตและสังคม ิ วิสัยทัศน์ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกําลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที่มีความ ู สมดุลทั้งร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในหน้าที่ทางสังคม ความเป็ นพลเมืองไทย และเป็ นพลโลก ยึด มันในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน ์ ่ รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น ํ ิ ่ สําคัญ บนพื้นฐานความเชื่อที่วา ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นสมรรถนะของผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ู พ.ศ.2551 โดยมีสมรรถนะพื้นฐาน 5 ประการ 1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา ั ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ั ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ิ 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื สารสนเทศ ิ เพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญ หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและ แก้ไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดย คํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและ สิ่ งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน ั ิ ่ การดําเนินชีวตประจําวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยูร่วมกันใน ิ ้ สังคมด้วยการ สร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง ั
  • 5. เหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยง ั ั พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น ้ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และ ้ มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทํางาน ั การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม โดยสอนสอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานการเรี ยนรู ้/ตัวชี้วดทั้ง 8 สาระการเรี ยนรู ้ ั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล เน้นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสู ตรแกนกลาง ู การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 เพื่อต้องการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนทุกคน ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริ ต 3. มีวนย ิ ั 4. ใฝ่ เรี ยนรู้ ่ 5. อยูอย่างพอเพียง 6. มุ่งมันในการทํางาน ่ 7. รักความเป็ นไทย 8. มีจิตสาธารณะ และโรงเรี ยนได้เพิ่มเติมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ดังนี้ 9. มีจิตสํานึกในหน้าที่ทางสังคม คุณลักษณะเหล่านี้ สอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานและตัวชี้วดของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆและ ั สามารถพัฒนาผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อโครงการต่างๆของโรงเรี ยน
  • 6. บทที่ 2 โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา ระดับการศึกษา ่ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล จัดระดับการศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) และ ู มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) กลุ่มสาระการเรียนรู้ มี 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิ ตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 ลักษณะ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสิ นใจ คิด ั แก้ปัญหา กําหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวตทั้งด้านการเรี ยน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม ิ นอกจากนี้ยงช่วยให้ครู รู้จกและเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษาแก่ผปกครองใน ั ั ํ ู้ การมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน 2. กิจกรรมนักเรียน เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินย ความเป็ นผูนาผู ้ ตามที่ดี ความรับผิดชอ บ การทํางาน ั ้ ํ ร่ วมกัน การรู้จกแก้ปัญหา การตัดสิ นใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทร และ ั สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยน ให้ได้ปฏิบติดวย ั ้ ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบติตามแผน ประเมินและปรับปรุ งการทํางาน ั เน้นการทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน บริ บทของ สถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร ้ ํ 2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม
  • 7. 3. กิจกรรมเพือสั งคมและสาธารณประโยชน์ ่ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนบําเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสี ยสละต่อสังคม มีจิต สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยจัดกิจจกรมอาสาพาไปพัฒนา หมู่บ้านในชุ มชน โครงสร้ างเวลาเรียน โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา (ม.1 - 3) กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียนพืนฐาน ้ • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด ่ เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น ่ รวมเวลาเรียนทั้งหมด ม.1 เวลาเรียน ม.2 ม.3 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.) 120 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.) 120 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 80 (3น น.ก.) 120 (3น น.ก.) 840 (3น น.ก.) 120 ปี ละไม่เกิน 240 ชัวโมง ่ ปี ละไม่เกิน 1,200 ชัวโมง/ปี ่
  • 8. โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 กลุ่มเรียนปกติ เวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 นก. ( ชม.) รายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาพืนฐาน ้ ท21101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.5 (60) ท21102 ภาษาไทยพื้นฐาน ค21101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.5 (60) ค21102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ว21101 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.5 (60) ว21102 วิทยาศาสตร์ พ้นฐาน ื ส21101 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส21102 สังคมศึกษา ส21103 พระพุทธศาสนา 0.5 (20) ส21104 พระพุทธศาสนา ส21105 ประวัติศาสตร์ 1 0.5(20) ส21106 ประวัติศาสตร์ 2 พ21101 สุ ขศึกษา 0.5 (20) พ21102 สุ ขศึกษา พ21101 พละศึกษา 0.5 (20) พ21102 พละศึกษา ศ21101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ21102 ศิลปะ ง21101 การงานและพื้นฐานอาชีพ 1 0.5 (20) ง21102 การงานและพื้นฐานอาชีพ 2 ง21103 เทคโนโลยีสารสนเทศ 0.5(20) ง21104 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร 1 และการสื่ อสาร 2 อ21101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 1.5(60) อ21102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 11.0 (440) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาเพิมเติม ่ รายวิชาเพิมเติม ่ ค21201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.0 (40) ค21202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม ส21201 กฎหมายน้อย 1 0.5(20) ส21202 กฎหมายน้อย 2 พ21201 เปตอง 1.0 (40) พ21202 แชร์ บอล รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 2.5(100) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี 40 กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสา รวมเวลาเรียนทั้งหมด 13.5(600) รวมเวลาเรียนทั้งหมด เวลาเรียน นก. ( ชม.) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5(20) 0.5 (20) 0.5 (20) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5(20) 1.5(60) 11.0 (440) 1.0 (40) 0.5(20) 1.0 (40) 2.5(100) 60 20 40 13.5(600)
  • 9. โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มเรียนปกติ เวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 นก. ( ชม.) รายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาพืนฐาน ้ ท22101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทยพื้นฐาน ค22101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.5 (60) ค22102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ว22101 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.5 (60) ว22102 วิทยาศาสตร์ พ้นฐาน ื ส22101 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส22102 สังคมศึกษา ส22103 พระพุทธศาสนา 0.5 (20) ส22104 พระพุทธศาสนา ส22105 ประวัติศาสตร์ 3 0.5(20) ส22106 ประวัติศาสตร์ 4 พ22101 สุ ขศึกษา 0.5 (20) พ22102 สุ ขศึกษา พ22101 พละศึกษา 0.5 (20) พ22102 พละศึกษา ศ22101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ22102 ศิลปะ ง22101 การงานและพื้นฐานอาชีพ 3 0.5 (20) ง22102 การงานและพื้นฐานอาชีพ 4 ง22103 เทคโนโลยีสารสนเทศ 0.5(20) ง22104 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการออกแบบ1 และการออกแบบ 2 อ22103 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 1.5 (60) อ22104 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4 รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 11.0 (440) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาเพิมเติม ่ รายวิชาเพิมเติม ่ ค22201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.0 (40) ค22202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม ส22201 กฎหมายน้อย 3 0.5 (20) ส22202 กฎหมายน้อย 4 พ22201 กรี ฑา 1.0 (40) พ22202 วอลเลย์บอล รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 2.5 (100) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี 40 กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสา รวมเวลาเรียนทั้งหมด 13.5(600) รวมเวลาเรียนทั้งหมด เวลาเรียน นก. ( ชม.) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5(20) 0.5 (20) 0.5 (20) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5(20) 1.5 (60) 11.0 (440) 1.0 (40) 0.5 (20) 1.0 (40) 2.5 (100) 60 20 40 13.5(600)
  • 10. โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 กลุ่มเรียนปกติ เวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 นก. ( ชม.) รายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาพืนฐาน ้ ท23101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.5 (60) ท23102 ภาษาไทยพื้นฐาน ค23101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.5 (60) ค23102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ว23101 วิทยาศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.5 (60) ว23102 วิทยาศาสตร์ พ้นฐาน ื ส23101 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส23102 สังคมศึกษา ส23103 พระพุทธศาสนา 0.5 (20) ส23104 พระพุทธศาสนา ส23105 ประวัติศาสตร์ 5 0.5(20) ส23106 ประวัติศาสตร์ 6 พ23101 สุ ขศึกษา 0.5 (20) พ23102 สุ ขศึกษา พ23101 พละศึกษา 0.5 (20) พ23102 พละศึกษา ศ23101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ23102 ศิลปะ ง23101 การงานและพื้นฐานอาชีพ 5 0.5 (20) ง23102 การงานและพื้นฐานอาชีพ 6 ง23103 เทคโนโลยีสารสนเทศ 0.5(20) ง23104 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการออกแบบ 3 และการออกแบบ 4 อ23105 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 5 1.5 (60) อ23106 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 11.0 (440) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาเพิมเติม ่ รายวิชาเพิมเติม ่ ค23201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.0 (40) ค23202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม ส23201 กฎหมายน่ารู ้ 1 0.5 (20) ส23202 กฎหมายน่ารู ้ 2 พ23201 ตะกร้อ 1.0 (40) พ23202 บาสเกตบอล รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 2.5 (100) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี 40 กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสา รวมเวลาเรียนทั้งหมด 13.5 (600) รวมเวลาเรียนทั้งหมด เวลาเรียน นก. ( ชม.) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5(20) 0.5 (20) 0.5 (20) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5(20) 1.5 (60) 11.0 (440) 1.0 (40) 0.5 (20) 1.0 (40) 2.5 (100) 60 20 40 13.5 (600)
  • 11. โครงสร้ างเวลาเรียนของโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางระดับมัธยมศึกษาศึกษา (ม.4 - 6) กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกกรม • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาและศาสนาวัฒนธรรม สุ ขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียนพืนฐาน ้ • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • รายวิชา / กิจกรรมทีสถานศึกษาจัด ่ เพิมเติมตามความพร้ อมและจุดเน้ น ่ รวมเวลาเรียนทั้งหมด เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 4-6 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 1,590 (39 นก.) 360 ไม่นอยกว่า 1,680 ชัวโมง ้ ่ รวม 3 ปี ไม่นอยกว่า 3,600 ชัวโมง/ปี ้ ่
  • 12. โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 (นักเรียนทีมีความสามารถด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ) ่ เวลาเรียน เวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 (หน่ วยกิต / ภาคเรียนที่ 2 (หน่ วยกิต / ชั่ วโมง) ชั่ วโมง) รายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาพืนฐาน ้ ท31101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ท31102 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ค31101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.0 (40) ค31102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.0 (40) ว31101 ฟิ สิ กส์พ้ืนฐาน 1.5 (60) ว31121 เคมีพ้ืนฐาน 1.5 (60) ส31101 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส31102 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส31103 ประวัติศาสตร์ 1 0.5 (20) ส31104 ประวัติศาสตร์ 2 0.5 (20) พ31101 สุ ขศึกษาและพละศึกษา 0.5 (20) พ31102 สุ ขศึกษาและพละศึกษา 0.5 (20) ศ31101 ศิลปะ 0.5 (20) ศ31102 ศิลปะ 0.5 (20) ง31101 การดํารงชีวต ิ 0.5 (20) ง31102 เทคโนโลยีสารสนเทศและ 0.5 (20) การสื่ อสาร 1 ง31103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5(20) ง31104 การอาชีพ 0.5 (20) อ31101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 1.0 (40) อ31102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 1.0 (40) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 8.0 (320) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 8.0 (320) รายวิชาเพิมเติม ่ รายวิชาเพิมเติม ่ ค31201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.5 (60) ค31202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.5 (60) ว31221 เคมีเพิ่มเติม 1.5(60) ค31203 คณิ ตเพิ่มพูนประสบการณ์ 1 0.5 (20) ว31241 ชีววิทยาเพิ่มเติม 1.5 (60) ว31201 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 2.0 (80) ว31281 เทคนิคปฏิบติการ 1 ั 1.0(40) ว31242 ชีววิทยาเพิ่มเติม 1.5 (60) อ31201 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 1 1.5(60) อ31202 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 2 1.5(60) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 7.0 (280) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 7.0 (280)
  • 13. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร รวมเวลาเรียนทั้งหมด 60 20 40 15.0(660) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร รวมเวลาเรียนทั้งหมด 60 20 40 15.0(660)
  • 14. โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 (นักเรียนทีมีความสามารถด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ) ่ เวลาเรียน เวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 (หน่ วยกิต / ภาคเรียนที่ 2 (หน่ วยกิต/ ชั่วโมง) ชั่ วโมง) รายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาพืนฐาน ้ ท32101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ท32102 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ค32101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.0 (40) ค32102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.0 (40) ว32161 โลกดาราศาสตร์ และอวกาศ 1.5 (60) ว32141 ชีววิทยาพื้นฐาน 1.5 (60) ส32101 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส32102 สังคมศึกษา 1.0 (40) พ32101 สุ ขศึกษาและพละศึกษา 0.5 (20) พ32102 สุ ขศึกษา 0.5 (20) ศ32101 ศิลปะ 0.5 (20) ศ32102 ศิลปะ 0.5 (20) ง32103 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ 0.5 (20) อ32104 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4 1.0 (40) สื่ อสาร 2 ง32104 โครงงานอาชีพ 0.5 (20) อ32103 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 1.0 (40) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 7.5 (300) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 6.5 (260) รายวิชาเพิมเติม ่ รายวิชาเพิมเติม ่ ค32201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.5 (60) ค32202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.5 (60) ค32204 คณิ ตเพิ่มพูนประสบการณ์ 2 0.5 (20) ค32205 โครงงานคณิ ตศาสตร์ 1* 1.0 (40) ว32202 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 2.0 (80) ว32203 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 2.0 (80) ว32222 เคมีเพิ่มเติม 1.5 (60) ว32223 เคมีเพิ่มเติม 1.5 (60) อ32203 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 3 1.5 (60) ว32283 ระเบียบวิธีวจยเบื้องต้น ิั 0.5 (20) ว32286 โครงงานวิทยาศาสตร์ 1* 1.0(40) ง32241 โครงงานคอมพิวเตอร์ 1* 1.0(40) อ32204 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 4 1.5 (60) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 7.0 (280) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 8.0 (320)
  • 15. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี 40 กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสา รวมเวลาเรียนทั้งหมด 14.5 (640) รวมเวลาเรียนทั้งหมด หมายเหตุ * รายวิชาโครงงานให้ นักเรียนเลือกเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง 60 20 40 14.5 (640)
  • 16. โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 (นักเรียนทีมีความสามรถด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ) ่ เวลาเรียน เวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 (หน่ วยกิต / ภาคเรียนที่ 2 (หน่ วยกิต/ ชั่ วโมง) ชั่ วโมง) รายวิชาพืนฐาน ้ รายวิชาพืนฐาน ้ ท33101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ท33102 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ค33101 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.0 (40) ค33102 คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน 1.0 (40) ส33101 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส33102 สังคมศึกษา 1.0 (40) ส33103 ประวัตศาสตร์ 3 0.5 (20) ส33103 ประวัตศาสตร์ 4 0.5 (20) พ33101 สุ ขศึกษาและพละศึกษา 0.5 (20) พ33102 สุ ขศึกษาและพละศึกษา 0.5 (20) ศ33101 ศิลปะ 0.5 (20) ศ33102 ศิลปะ 0.5 (20) อ33105 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 5 1.0 (40) อ33106 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 1.0 (40) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 5.5 (220) รวมเวลาเรียนรายวิชาพืนฐาน ้ 5.5 (220) รายวิชาเพิมเติม ่ รายวิชาเพิมเติม ่ ค33201 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.5 (60) ค33202 คณิ ตศาสตร์ เพิ่มเติม 1.5 (60) ค33206 โครงงานคณิ ตศาสตร์ 2* 1.0 (40) ว33205 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 2.0 (80) ว33204 ฟิ สิ กส์เพิมเติม 2.0 (80) ว33225 เคมีเพิมเติม 1.5 (60) ่ ่ ว33224 เคมีเพิ่มเติม 1.5 (60) ว33244 ชีววิทยาเพิ่มเติม 1.5 (60) ว33243 ชีววิทยาเพิ่มเติม 1.5 (60) ว33285 ระเบียบวิธีวจยเบื้องต้น ิั 0.5 (20) ว33284 ระเบียบวิธีวจยเบื้องต้น ิั 0.5 (20) ว33282 เทคนิคปฏิบติการ 2 ั 1.0 (40) ว33287 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2* 1.0(40) อ33206 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 6 1.5 (60) ง33242 โครงงานคอมพิวเตอร์ 2* 1.0(40) อ33205 ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน 5 1.5 (60) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 9.5 (380) รวมเวลาเรียนรายวิชาเพิมเติม ่ 9.5 (380) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี 40 40 กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสา
  • 17. รวมเวลาเรียนทั้งหมด 15.0 (660) รวมเวลาเรียนทั้งหมด 15.0 (660) สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล กําหนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ใน 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ จํานวน 67 ู มาตรฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ดังนี้ 1. กลุ่มสาระภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่ าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนําไปใช้ตดสิ นใจ แก้ปัญหา ั ในการดําเนินชีวตและมีนิสัยรักการอ่าน ิ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราว ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด ิ ความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณ และสร้างสรรค์ ิ สาระที่ 4 หลักการใช้ ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่าและนํามาประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ 2. กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใช้จานวนในชีวตจริ ง ํ ิ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดําเนินการต่าง ๆ และใช้การดําเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคํานวณและแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช้
  • 18. สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการวัด ้ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 31 อธิ บายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจําลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป(pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน ั มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนําไปใช้แก้ปัญหา สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอมูล ิ ้ มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้ ิ อย่างสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ั ทางคณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิด ริ เริ่ มสร้างสรรค์ 3. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่ งมีชีวตกับกระบวนการดํารงชี วต ิ ิ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ิ ั ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวตที่ทางานสัมพันธ์กน มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ ิ ํ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ในการดํารงชีวตของตนเองและดูแล ิ สิ่ งมีชีวต ิ
  • 19. มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสําคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ กรรม วิวฒนาการของสิ่ งมีชีวต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่ ั ิ มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนําความรู ้ ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 2 ชี วตกับสิ่ งแวดล้ อม ิ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมีชีวต ิ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ ิ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนําความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยังยืน ่ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่ เรี ยนรู ้ และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 4 แรงและการเคลือนที่ ่ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวตและ ิ สิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้และ นําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
  • 20. สาระที่ 6 : กระบวนการเปลียนแปลงของโลก ่ มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้ และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์ และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน ั ระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ ิ จิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ในการสํารวจอวกาศและ ํ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะ หา ความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่าง มีคุณธรรมต่อชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสื บเสาะหาความรู ้ การ ่ แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบ ที่ ่ แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูใน ้ ช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม ั มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน 4. กลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู ้ และเข้าใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน และปฏิบติตาม ั ่ ่ หลักธรรม เพื่ออยูร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษา ั พระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ 2 หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวตในสั งคม ่ ิ มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ั ธํารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวตอยูร่วมกันในสังคมไทย และ ิ ่ สังคมโลกอย่างสันติสุข
  • 21. มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธํารง ั ่ รักษาไว้ซ่ ึ งการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ น ์ ประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้ ่ํ ทรัพยากรที่มีอยูจากัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุมค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ ้ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวตอย่างมีดุลยภาพ ิ มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจําเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบน ในด้านความสัมพันธ์และ ั การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธํารงความเป็ นไทย สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล ต่อกัน และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ในการ ค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ ั มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสํานึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากร ั และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงยืน ั่ 5. กลุ่มสาระสุ ขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ สาระที่ 2 ชี วตและครอบครัว ิ มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกษะในการดําเนินชีวต ั ิ สาระที่ 3 การเคลือนไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ่ มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทกษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ั
  • 22. มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบติเป็ นประจําอย่าง ั สมํ่าเสมอ มีวนย เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน ิ ั ํ การแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา สาระที่ 4 การสร้ างเสริมสุ ขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค ้ มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดํารงสุ ขภาพ การป้ องกัน ั โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชี วต ิ มาตรฐาน พ 5.1 ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบติเหตุ การใช้ ั ยาสารเสพติด และความรุ นแรง 6. กลุ่มสาระศิลปะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวตประจําวัน ิ มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากล สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วจารณ์คุณค่า ิ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ ใช้ในชีวตประจําวัน ิ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ 3 นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวตประจําวัน ิ มาตรฐาน ศ3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ นาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
  • 23. 7. กลุ่มสาระการงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ 1 การดํารงชี วตและครอบครัว ิ มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทํางาน ั ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู ้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดํารงชีวตและครอบครัว ิ สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการ ิ จัดการเทคโนโลยีที่ยงยืน ั่ สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม สาระที่ 4 การอาชี พ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ั ํ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ 8. กล่ มสาระภาษาต่ างประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพือการสื่ อสาร ่ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อประเภทต่างๆ และแสดงความคิเห็น ด อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทกษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึกและ ั ความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นําเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนําไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  • 24. สาระที่ 3 ภาษากับความสั มพันธ์ กบกลุ่มสาระการเรียนรู้ อน ั ื่ ั มาตรฐาน ต3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อและเป็ น ื่น พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสั มพันธ์ กบชุ มชนและโลก ั มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ ั และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบสังคมโลก ตัวชี้วด ั โรงเรี ยนดอกบัววิทยานุกล กําหนดตัวชี้วดเป็ นชั้นปี และตัวชี้วดเป็ นช่วงชั้น ตามหลักสู ตรแกนกลาง ู ั ั การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็ นเป้ าหมายพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ใช้ในระดับการศึกษาภาคบังคับและเป็ น เป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยน 1.ตัวชี้วดชั้ นปี เป็ นเป้ าหมายพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ใช้ในระดับการศึกษาภาคบังคับ ั - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษาปี ที่ 1- 3) 2.ตัววัดช่ วงชั้ น เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6) หลักสู ตรได้มีการกําหนดรหัสกํากับมาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วด เพื่ อความเข้าใจและให้ ั สื่ อสารตรงกัน ดังนี้ ว 1.1 ม. 1/2 ม.1 / 2 ตัวชี้วดชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ข้อที่ 2 ั 1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานข้อที่ 1 ว กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทยาศาสตร์ ิ ต 2.2 ม.4 – 6/3 ม.4-6/3 ตัวชี้วดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3 ั 2.3 สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2 ต กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ
  • 25. จํานวนตัวชี้วดระดับมัธยมศึกษา ั กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.ภาษาไทย 2.คณิตศาสตร์ 3.วิทยาศาสตร์ 4.สั งคมศึกษาฯ 5.สุ ขศึกษาฯ 6.ศิลปะ 7.การงานอาชี พฯ 8.ภาษาต่ างประเทศ รวม ม.1 35 27 42 45 23 27 9 20 228 ตัวชี้วดชั้นปี ั ม.2 ม.3 32 36 26 25 37 40 44 49 25 24 27 32 14 12 21 21 226 239 รวม 103 78 119 138 72 86 35 62 693 ตัวชี้วดช่ วงชั้น ั ม.4-6 36 32 67 63 29 39 29 21 316
  • 26. บทที่ 3 คําอธิบายรายวิชา โรงเรียนดอกบัววิทยานุกูล ได้ นํารายวิชาพืนฐานในโครงสร้ างหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น ้ พืนฐาน พ.ศ.2551 และได้ จัดทํารายวิชาเพิมเติมตามรู ปแบบดังนี้ ้ ่ โครงสร้ างหลักสู ตรสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้ น เวลาเรียน รายวิชา รายวิชา นก. (ชม) ม.1 พืนฐาน ้ พืนฐาน ้ ท 21101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.5 (60) ท 21102 ภาษาไทยพื้นฐาน ม.2 พืนฐาน ้ พืนฐาน ้ ท 22101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.5 (60) ท 22102 ภาษาไทยพื้นฐาน ม.3 พืนฐาน ้ พืนฐาน ้ 1.5 (60) ท 23102 ภาษาไทยพื้นฐาน ท 23101 ภาษาไทยพื้นฐาน ม.4 พืนฐาน ้ พืนฐาน ้ 1.0 (40) ท 31102 ภาษาไทยพื้นฐาน ท 31101 ภาษาไทยพื้นฐาน เพิมเติม ่ เพิมเติม ่ ท31201 การพูด 1 1.0 (40) ท31202 ภาษาเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ ม.5 พืนฐาน ้ พืนฐาน ้ ท 32101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ท 32102 ภาษาไทยพื้นฐาน เพิมเติม ่ เพิมเติม ่ 1.0 (40) ท32204 ส่ งเสริ มสมรรถภาพการอ่าน ท32203 การเขียน ม.6 พืนฐาน ้ พืนฐาน ้ ท 33101 ภาษาไทยพื้นฐาน 1.0 (40) ท 33102 ภาษาไทยพื้นฐาน เพิมเติม ่ เพิมเติม ่ ท33205 หลักไทย 1.0 (40) ท33206 ภาษาพาสนุก เวลาเรียน นก. (ชม) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.5 (60) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40) 1.0 (40)
  • 27. รายวิชา ภาษาไทยพืนฐาน ้ รหัสวิชา ท21101 คําอธิบายรายวิชา จํานวน ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 60 ชั่ วโมง จํานวน 1.5 หน่ วยกิต อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง จับใจความสําคัญจากเรื่ องที่อ่าน ระบุเหตุผลข้อเท็จจริ ง กับข้อคิดเห็นจากบทความ อธิ บายคําเปรี ยบเทียบและคําที่มีหลายความหมายในบริ บทต่างๆ จากงานเขียน เชิงสร้างสรรค์ เรื่ องเล่า เรื่ องสั้น บทความ นิทาน บันเทิงคดี เอกสารทางวิชาการ และวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับ จากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนําไปใช้แก้ปัญหาชีวต มีมารยาทในการอ่าน ิ ใช้กระบวนการเขียนเรี ยงความเชิงพรรณนา เขียนสื่ อสาร โดยใช้คาถูกต้อง การคัดลายมือตัวบรรจง ํ ตามรู ปแบบการเขียนตัวอักษรไทย บรรยายประสบการณ์ ย่อความจากเรื่ องที่อ่าน มีความสามารถในการ สื่ อสาร มีมารยาทในการเขียน พูดสรุ ปใจความสําคัญของเรื่ องที่ฟังและดู มีทกษะในการพูดเล่าเรื่ องย่อและเรื่ องที่ฟังและดู พูด ั สรุ ปความรู ้และแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู มีมารยาทในการฟัง การดูและ การพูด อธิ บายลักษณะของเสี ยงในภาษาไทย การสร้างคํา วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค และ ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทต่างๆ พร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิ บายคุณค่าของ วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุ ปความรู ้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ ใช้กระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม การสาธิ ต การสื บค้นข้อมูล การ อภิปราย การแสวงหาความรู ้ เพื่อให้นกเรี ยนเห็นคุณค่าของการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด สามารถนําความรู ้ไปใช้ ั แก้ปัญหาในชีวตประจําวัน ใช้เทคโนโลยีการสื่ อสาร มีความรักความภาคภูมิใจในภาษาไทย มีมารยาทการ ิ อ่านเขียน มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด และมีคุณธรรมจริ ยธรรม ตามหลักแนวคิดและเศรษฐกิจพอเพียง รหัสตัวชี้วด ั ท 1.1 ม.1/1 ท 1.1 ม.1/2 ท 1.1 ม.1/3 ท 1.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/1 ท 2.1 ม.1/2 ท 2.1 ม.1/3 ท 2.1 ม.1/4 ท 2.1 ม.1/5 ท 3.1 ม.1/1 ท 3.1 ม.1//2 ท 3.1 ม.1/3 ท 4.1 ม.1 /1 ท 4.1 ม.1/2 ท 4.1 ม.1/3 ท 5.1 ม.1/1 ท 5.1 ม.1// 2 ท 5.1 ม.1/3
  • 28. รายวิชา ภาษาไทยพืนฐาน ้ รหัสวิชา ท21102 คําอธิบายรายวิชา จํานวน ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 60 ชั่ วโมง จํานวน 1.5 หน่ วยกิต อ่านตีความคํายากในเอกสารทางวิชาการ โดยพิจารณาจากบริ บท ระบุขอสังเกตและความ ้ สมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ ปฏิบติตามคู่มือแนะนําวิธีการใช้งานของเครื่ องมือหรื อ ั เครื่ องใช้ในระดับที่ยากขึ้น และวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนําไปใช้ แก้ปัญหาชีวต มีมารยาทในการอ่าน ิ เขียนแสดงความคิดเห็น จดหมายส่ วนตัวและจดหมายกิจธุระ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าแล โครงงาน มีมารยาทในการเขียน พูดรายงานจากการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ หรื อประเด็นที่ศึกษาจากการฟัง การดู และ การสนทนา ประเมินความน่าเชื่อถือของสื่ อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ มีทกษะในการสื่ อสาร และมีมารยาทใน ั การฟัง การดู และการพูด วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดกับภาษาเขียน แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี 11 จําแนก และใช้สานวนที่เป็ นคําพังเพยและสุ ภาษิต ํ ํ ท่องจําบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ สรุ ปความรู ้และข้อคิด จากการอ่านเพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง ิ ใช้กระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม การสาธิ ต การสื บค้นข้อมูล การ อภิปราย การแสวงหาความรู ้ เพื่อให้นกเรี ยนเห็นคุณค่าของการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด สามารถนําความรู ้ไปใช้ ั แก้ปัญหาในชีวตประจําวัน ใช้เทคโนโลยีการสื่ อสาร มีความรักความภาคภูมิใจในภาษาไทย มีมารยาทการ ิ อ่านเขียน มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด และมีนิสัยรักการอ่านเขียน ฟัง ดู พูด และมีคุณธรรมจริ ยธรรม ตามหลักแนวคิดและเศรษฐกิจพอเพียง รหัสตัวชี้วด ั ท 1.1 ม.1/5 ท 1.1 ม.1/6 ท 1.1 ม.1/7 ท 1.1 ม.1/8 ท 1.1 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/6 ท 2.1 ม.1/7 ท 2.1 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/4 ท 3.1 ม.1/5 ท 3.1 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/4 ท 5.1 ม.1/ 5
  • 29. รายวิชา ภาษาไทยพืนฐาน ้ รหัสวิชา ท22101 คําอธิบายรายวิชา จํานวน ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 60 ชั่ วโมง จํานวน 1.5 หน่ วยกิต อ่านบทร้อยแก้วที่เป็ นบทบรรยายและบทพรรณนา อ่านคําประพันธ์ชนิดต่างๆ กลอนบทละคร กลอนนิทาน กาพย์ห่อโคลง อ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ จับใจความสําคัญ และคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู ้ที่ได้จากการอ่าน ใช้แผนผังความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรี ยนต่างๆ อภิปรายแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน มุ่งมันในการทํางาน ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน ใช้ทกษะกระบวนการทาง ั ่ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสารรู ปแบบต่างๆ การคัดลายมือตัวบรรจงตามรู ปแบบการเขียน อักษรไทย มีความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด การเขียน ั เรี ยงความเกี่ยวกับประสบการณ์ ย่อความจากสื่ อต่างๆ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า และสามารถนํากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ ดําเนินชีวตประจําวัน มีมารยาทในการเขียน มีวนย ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมันในการทํางานและรักความเป็ นไทย ิ ิ ั ่ การฟัง การดู และการพูด สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด ิ และความรู ้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจารณญาณ และสร้างสรรค์ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ิ พูดเกี่ยวกับความรู ้สึกจากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดสรุ ปความจากเรื่ องที่ฟังและดู การพูดวิเคราะห์และวิจารณ์ จากเรื่ องที่ฟังและดู มีความสามารถในการรับและส่ งสาร รวมทั้งเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความ ขัดแย้ง มีมารยาทในการฟัง ดูและการพูด หลักการใช้ภาษา เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักของภาษาไทย การสร้างคําไทย วิเคราะห์ โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน วรรณคดีและวรรณกรรม เข้าใจและแสดงความคิดเห็น จากวรรณคดีหรื อวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์วจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ อย่างสร้างสรรค์ ิ คิดอย่างมีวจารณญาณ เพื่อนําไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีจิตสาธารณะ ิ และรักความเป็ นไทย รหัสตัวชี้วด ั ท 1.1 ม.2/1 ท 1.1 ม.2/2 ท 1.1 ม.2/3 ท 1.1 ม.2/4 ท 1.1 ม.2/8 ท 2.1 ม.2/1 ท 2.1 ม.2/2 ท 2.1 ม.2/3 ท 2.1 ม.2/4 ท 2.1 ม.2/5 ท 2.1 ม.2/6 ท 2.1 ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1 ท 3.1 ม.2/2 ท 3.1 ม.2/3 ท 3.1 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1 ท 4.1 ม.2/2 ท 5.1 ม.2/1 ท 5.1 ม.2/2 ท 5.1 ม.2/3