Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
หนังสือเรียน
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
(สค21002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
สาระการพัฒนาสังคม
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับ...
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
เอกสารทางวิชาการหมายเลข 38/25...
คำนำ
สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดำเนินการ
จัดทำหนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้นเพื่อสำหรับใชในการ...
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Loading in …3
×

Check these out next

1 of 165 Ad

More Related Content

Slideshows for you (20)

Similar to ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002 (20)

Advertisement

Recently uploaded (20)

Advertisement

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002

  1. 1. หนังสือเรียน รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการพัฒนาสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หามจำหนาย หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ลิขสิทธิ์เปนของ สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
  2. 2. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เอกสารทางวิชาการหมายเลข 38/2554
  3. 3. คำนำ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดำเนินการ จัดทำหนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้นเพื่อสำหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนา ผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษา ตอในระดับที่สูงขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดย ผูเรียนสามารถนำหนังสือเรียนไปใชในการเรียนการศึกษาดวยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้ง แบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา และเมื่อศึกษาหนังสือเรียนนี้ ดวยการ นำความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนที่รู และจากสื่ออื่นๆ ในการดำเนินการจัดทำหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือดวยดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูที่เกี่ยวของ หลายทาน ซึ่งชวยกันคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดหนังสือเรียนที่ สอดคลองกับหลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบโรงเรียนอยางแทจริง สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณที่ปรึกษา คณะ ผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทำทุกทานที่ใหความรวมมือดวยดีไว ณ.โอกาสนี้ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ ขอบคุณยิ่ง สำนักงาน กศน.
  4. 4. สารบัญ หนา คำนำ คำแนะนำการใชหนังสือเรียน โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง สค 21002 ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย 1 บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย 69 บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 89 บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย 115 อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน 139 บรรณานุกรม คณะผูจัดทำ
  5. 5. คำแนะนำในการใชหนังสือเรียน หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยม ศึกษาตอนตนเปนหนังสือเรียนที่จัดทำขึ้น สำหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบใชประกอบ การศึกษารายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) จำนวน 2 หนวยกิต 80 ชั่วโมง ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ผูเรียนควรปฎิบัติดังนี้ 1) ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอ สาระสำคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหา 2) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในตอนนั้นๆ อีกครั้ง โดยผูเรียน สามารถนำไปตรวจสอบ กับครู เพื่อนๆ ที่เรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได 3) หนังสือเลมนี้มี 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกัน ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน
  6. 6. โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระสำคัญ ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข มีประชากรอาศัยอยูหลายเชื้อชาติ มีภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อ ที่แตกตางกัน การใหความรูเกี่ยวกับความสำคัญ หลักธรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม คานิยม ของประเทศตางๆ ตลอดจนความเปนมา หลักการ ความสำคัญของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน และหลักสิทธิมนุษยชน จะทำใหคนในสังกัดสามารถ นำหลักการ คำสอนและกฎระเบียบตางๆ ของสังคมมาปรับใชในการใชในการดำเนินชีวิต ของตนไดอยางถูกตอง มีความสุข อันจะสงผลตอความสันติสุขของสังคม ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. อธิบายความเปนมา ความสำคัญ หลักคำสอน ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชียได 2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข ในสังคมที่มีความ หลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี 3. อนุรักษและสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนปฏิบัติคามคานิยมที่พึง ประสงคของไทย และอธิบายวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของชาติตางๆ ในเอเชีย 4. อธิบายความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง สาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญได 5. อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชน ได 6. อธิบายสิทธิ เสรีภาพและคุณธรรม จริยธรรม การอยูรวมกันตามวิถีทาง ประชาธิปไตยได 7. อธิบายการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และมีสวนรวมการเมืองการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขได 8. อธิบายหลักสิทธิมนุษยชน ตระหนักถึงประโยชนและมีสวนรวมตามหลักสิทธิ มนุษยชนได
  7. 7. ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน สื่อประกอบการเรียนรู 1. ซีดีศาสนาสากล 2. ซีดีวัฒนธรรม ประเพณีไทยและประเทศตางๆในเอเชีย 3. เอกสารที่เกี่ยวของกับศาสนา วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง สิทธิมนุษยชน 4. อินเทอรเน็ต 5. แหลงเรียนรู ภูมิปญญาในทองถิ่น
  8. 8. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 1 สาระสำคัญ เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความเปนมาของศาสนาตางๆในประเทศไทยและประเทศในทวีป เอเซีย หลักธรรมสำคัญของศาสนาตางๆ การอยูรวมกับคนตางศาสนาไดอยางมีความสุข กรณี ตัวอยางของบุคคลตัวอยางในแตละศาสนา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ประวัติ ความสำคัญ หลักคำสอน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศใน ทวีปเอเซีย 2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลาก หลายทางศาสนา ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย เรื่องที่ 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเซีย เรื่องที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตางๆ สื่อการเรียนรู 1. ใบงาน 2. หนังสือเรียน บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในทวีปเอเชีย
  9. 9. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน2
  10. 10. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 3 เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย ศาสนาในประเทศไทยที่รัฐบาลใหการอุปถัมภ ดูแลมีทั้งสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนา พุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมี องคประกอบหลักที่สำคัญๆ 5 ประการ คือ 1. ศาสดา หมายถึง ผูทีคนพบศาสนาและเผยแผคำสั่งสอน หรือหลักธรรมของ ศาสนา 2. ศาสนธรรม หรือหลักธรรมของศาสนา เปนคำสั่งสอนของแตละศาสนา 3. ศาสนิกชน หมายถึง บุคคลและปวงชนที่ใหการยอมรับนับถือในคำสั่งสอนของ ศาสนานั้นๆ 4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานที่อยูอาศัยของนักบวช ใชเปนที่ประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา รวมถึงการเปนที่ที่ใหศาสนิกชนไปปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา 5. ศาสนพิธี หมายถึง พิธีทางศาสนาตางๆ ที่ถูกกำหนดขึ้นจากศาสดาโดยตรงหรือ จากการคิดคนของผูปฏิบัติ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู ความกลัว ความอัตคัด สนองความตองการในสิ่งที่ตนขาดแคลน จึงจำเปนตอง มีวัตถุประสงคของการศึกษาคนควา ปฏิบัติตามหลักของศาสนา ประเทศไทยมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจำชาติ และมีผูนับถือจำนวนมากที่สุดใน ประเทศ รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม คริสต และฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา ดังกลาวในประเทศไทย มีความสำคัญและจำเปน เพราะทำใหเกิดความเขาใจในศาสนาที่ตน นับถือและเพื่อรวมศาสนาอื่นๆในประเทศ อันจะสงผลใหสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข
  11. 11. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน4 1.1 ศาสนาพุทธในประเทศไทย พุทธประวัติ ศาสดาผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคำสั่งสอนหรือหลักธรรมของศาสนาพุทธ คือ พระพุทธเจา พระพุทธเจา พระนามเดิมวา "สิทธัตถะ" เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะ และพระนางสิริมหามายาแหงกรุงกบิลพัสดุแควนสักกะ พระองคทรงถือกำเนิดในศากยวงศ สกุลโคตมะ พระองคประสูติในวันศุกร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ปจอ กอน พุทธศักราช 80 ป ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยูระหวางกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะกับกรุง เทวทหะ แควนโกลิยะ (ปจจุบันคือ ตำบลรุมมินเด ประเทศเนปาล) ทั้งนี้ เปนเพราะธรรมเนียม ที่สตรีจะตองไปคลอดบุตรที่บานบิดามารดาของตน พระนางสิริมหามายาจึงตองเดินทางไป กรุงเทวทหะ หลังจากประสูติได 5 วัน พระเจาสุทโธทนะโปรดใหประชุมพระประยูรญาติ และเชิญ พราหมณผูเรียนไตรเพท จำนวน 108 คน เพื่อมาทำนายพระลักษณะของพระราชกุมาร พระ ประยูรญาติไดพรอมใจกันถวายพระนามวา "สิทธัตถะ" มีความหมายวา "ผูมีความสำเร็จสม ประสงคทุกสิ่งทุกอยางที่ตนตั้งใจจะทำ" สวนพราหมณเหลานั้น คัดเลือกกันเองเฉพาะผูที่ ทรงวิทยาคุณประเสริฐกวาพราหมณทั้งหมดได 8 คน เพื่อทำนายพระราชกุมาร พราหมณ 7 คนแรก ตางก็ทำนายไว 2 ประการ คือ "ถาพระราชกุมารเสด็จอยูครองเรือนก็จักเปนพระเจา จักรพรรดิผูทรงธรรม หรือถาเสด็จออกผนวชเปนพรรพชิตจักเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ผูไมมีกิเลสในโลก" สวนโกณทัญญะพราหมณ ผูมีอายุนอยกวาทุกคน ไดทำนายเพียงอยางเดียว วา พระราชกุมารจักเสด็จออกจากพระราชวังผนวชเปนบรรพชิต แลวตรัสรูเปนพระอรหันต สัมมาสัมพุทธเจาผูไมกิเลสในโลก" เมื่อเจาชายสิทธัตถะ ประสูติได 7 วัน พระราชมารดา ก็เสด็จสวรรคต พระเจาสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพระนางมหาปชาบดีโคตมี ซึ่งเปน พระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา เปนผูถวายอภิบาลเลี้ยงดูเมื่อพระสิทธัตถะทรงพระเจริญ มีพระชนมายุได 8 พรรษา ไดทรงศึกษาในสำนักอาจารยวิศวามิตร ซึ่งมีเกียรติคุณแผขจรไกล ไปยังแควนตางๆ เจาชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหลานี้ไดอยางวองไวและเชี่ยวชาญจน หมดความสามารถของพระอาจารย ดวยพระราชบิดามีพระราชประสงคมั่นคงที่จะใหเจาชายสิทธัตถะทรงครองเพศ ฆราวาสเปนพระจักรพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสำราญ แวดลอมดวย ความบันเทิงนานาประการแกพระราชโอรสเพื่อผูกพระทัยใหมั่งคงในทางโลก เมื่อเจาชาย สิทธัตถะเจริญพระชนมได 16 พรรษา พระเจาสุทโธทนะมีพระราชดำริวาพระราชโอรส สมควรจะไดอภิเษกสมรส จึงโปรดใหสรางประสาทอันวิจิตรงดงามขึ้น 3 หลัง สำหรับให พระราชโอรสไดประทับอยางเกษมสำราญตามฤดูกาลทั้ง 3 คือ ฤดูรอน ฤดูฝนและฤดูหนาว
  12. 12. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 5 และทรงสูขอพระนางพิมพายโสธรา พระราชธิดาของพระเจาสุปปพุทธะและพระนางอมิตา แหงเทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงศใหอภิเษกดวย เจาชายสิทธัตถะไดเสวยสุขสมบัติ จนพระชนมายุได 29 พรรษา พระนางพิมพายโสธราจึงประสูติพระโอรส พระองคมีพระราช หฤทัยสิเนหาในพระโอรสเปนอยางยิ่ง เมื่อพระองคทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรส พระองคตรัสวา “ราหุล ชาโต พันธนา ชาต” แปลวา “บวงเกิดแลว เครื่องจองจำเกิดแลว” ถึงแมเจาชายสิทธัตถะจะทรงพรั่งพรอมดวยสุขสมบัติมหาศาล ก็มิไดพอพระทัย ในชีวิตคฤหัสถ พระองคยังทรงมีพระทัยฝกใฝใครครวญถึงสัจธรรมที่จะเปนเครื่องนำทางซึ่ง ความพนทุกขอยูเสมอ พระองคไดเคยเสด็จประพาสอุทยาน ไดทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง 4 คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองคจึงสังเวชพระทัยในชีวิต และพอพระทัยในเพศ บรรพชิต มีพระทัยแนวแนที่จะทรงออกผนวช เพื่อแสวงหาโมกขธรรมอันเปนทางดับทุกข ถาวรพนจากวัฏสงสารไมกลับมาเวียนวายตายเกิดอีก พระองคจึงตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวช โดยพระองคทรงมากัณฐกะ พรอมดวยนายฉันนะ มุงสูแมน้ำอโนมานที แควนมัลละ รวม ระยะทาง 30 โยชน (ประมาณ 480 กิโลเมตร) เสด็จขามฝงแมน้ำอโนมานทีแลวทรงอธิษฐาน เพศเปนบรรพชิต และทรงมอบหมายใหนายฉันนะนำเครื่องอาภรณและมากัณฐกะกลับนคร กบิลพัสดุ การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแลว สมณสิทธัตถะไดทรงศึกษาใน สำนักอาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ณ กรุงราชคฤห แควนมคธ พระองคไดทรงประพฤติพรหมจรรยในสำนักของอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงไดสมาบัติ คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอากิญจัญญายตน ฌาน สวนการประพฤติพรหมจรรยในสำนักอุทกดาบส รามบุตร นั้นทรงไดสมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สำหรับฌานที่ 1 คือ ปฐมฌานนั้น พระองคทรงไดขณะกำลัง ประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกัมมัฏฐานอยูใตตนหวาเนื่องในพระราชพิธีวัปปมงคล (แรกนาขวัญ) เมื่อครั้งทรงพระเยาว เมื่อสำเร็จการศึกษาจากทั้งสองสำนักนี้แลวพระองคทรง ทราบวามิใชหนทางพนทุกข บรรลุพระโพธิญาณ ตามที่ทรงมุงหวัง พระองคจึงทรงลาอาจารย ทั้งสอง เสด็จไปใกลบริเวณแมน้ำเนรัญชรา ที่ตำบลอุรุเวลาเสนานิคมกรุงราชคฤห แควนมคธ เมื่อพระองคทรงหันมาศึกษาคนควาดวยพระปญญาอันยิ่งดวยพระองคเองแทนการ ศึกษาเลาเรียนในสำนักอาจารย ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกลลามแมน้ำเนรัญชรานั้น พระองคไดทรง บำเพ็ญทุกรกิริยา คือการบำเพ็ญอยางยิ่งยวดในลักษณะตางๆ เชน การอดพระกระยาหาร การทรมานพระวรกายโดยการกลั้นพระอัสสาสะ พระปสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระทนต การกดพระตาลุ (เพดาน) ดวยพระชิวหา (ลิ้น) เปนตน พระมหาบุรุษไดทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา เปนเวลาถึง 6 ป ก็ยังมิไดคนพบสัจธรรมอันเปนทางหลุดพนจากทุกข พระองคจึงทรงเลิกการ บำเพ็ญทุกรกิริยา แลวกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบำรุงพระวรกายใหแข็งแรง ในการคิดคน
  13. 13. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน6 วิธีใหม ในขณะที่พระมหาบุรุษทรงบำเพ็ญทุกรกิริยานั้น ไดมีปญจวัคคีย คือ พราหมณทั้ง 5 คน ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหามานะ และอัสสชิ เปนผูคอยปฏิบัติรับใช ดวย หวังวาพระมหาบุรุษตรัสรูแลวพวกตนจะไดรับการสั่งสอนถายทอดความรูบาง และเมื่อ พระมหาบุรุษเลิกลมการบำเพ็ยทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละทิ้งพระองคไปอยู ณ ปา อิสิปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เปนผลใหพระองคไดประทับอยูตามลำพังในที่อันสงบเงียบ ปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง พระองคไดทรงตั้งพระสติดำเนินทางสายกลาง คือ การปฏิบัติใน ความพอเหมาะพอควร นั่นเอง พระพุทธเจาทรงตรัสรู เวลารุงอรุณ ในวันเพ็ญเดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ประกา กอน พุทธศักราช 45 ป นางสุชาดาไดนำขาวธุปายาสเพื่อไปบวงสรวงเทวดา ครั้นเห็นพระมหา บุรุษประทับที่โคนตนอชปาลนิโครธ (ตนไทร) ดวยอาการอันสงบ นางคิดวาเปนเทวดา จึง ถวายขาวมธุปายาส แลวพระองคเสด็จไปสูทาสุปดิษฐริมฝงแมน้ำเนรัญชรา หลังจากเสวยแลว พระองคทรงจับถาดทองคำขึ้นมาอธิษฐานวา “ถาเราจักสามารถตรัสรูไดในวันนี้ ก็ขอใหถาด ทองคำใบนี้จงลอยทวนกระแสน้ำไปไกลถึง 80 ศอก จึงจมลงตรงที่กระแสน้ำวน” ในเวลาเย็น พระองคเสด็จกลับมายังตนโพธิ์ที่ประทับ คนหาบหญาชื่อ โสตถิยะไดถวายปูลาดที่ประทับ ณ ใตตนโพธิ์ พระองคประทับหันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และทรงตั้งจิตอธิษฐานวา “แมวาเลือดในกายของเราจะเหือดแหงไปเหลือแตหนัง เอ็น กระดูกก็ตาม ถายังไมบรรลุ ธรรมวิเศษแลว จะไมยอมหยุดความเพียรเปนอันขาด” เมื่อทรงตั้งจิตอธิษฐานเชนนั้นแลว พระองคก็ทรงสำรวมจิตใหสงบแนวแน มีพระสติตั้งมั่น มีพระวรกายอันสงบ มีพระหทัย แนวแนเปนสมาธิบริสุทธิ์ผุดผองปราศจากกิเลสปราศจากความเศราหมอง มีความตั้งมั่น ไมหวั่นไหว ในปฐมยามแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูปุพเพนิวาสญาณ คือ ญาณที่ระลึกถึงชาติ ตางๆในปางกอน ตอมาในมัชฌิมยามคือยามกลางแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ คือ ญาณกำหนดรูการเกิดของสัตวทั้งหลาย และในยามสุดทายคือปจฉิมยาม พระองคทรง ตรัสรูอาสวักขยญาณ คือ ญาณหยั่งรูในการสิ้นไปแหงอาสาวกิเลสทั้งหลาย พระองคทรงตรัสรู อริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค วันที่พระองคทรงตรัสรูในวันเพ็ญเดือน 6 ประกา พระชนมายุได 35 พรรษา นับแตวันที่ออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเปนเวลา 6 ป หลังจากตรัสรูแลว พระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปน เวลา 7 สัปดาห ทรงรำพึงวา ธรรมะของพระองคเปนเรื่องยากสำหรับคนทั่วไปจะรู พระองค นอมพระทัยที่จะไมประกาศศาสนา แตเมื่อพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคล เปรียบเสมือนดอกบัว 4 เหลา คือ พวกที่ฟงธรรมแลวรูเขาใจโดยงาย คือ บัวที่อยูพนน้ำ พวกที่ฟงธรรมที่อธิบายขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวที่อยูปริ่มน้ำ พวกที่ฟงธรรมแลวตองใช ระยะเวลานานไตรตรองทบทวนไปมาจึงจะเขาใจ เหมือนบัวที่อยูใตน้ำ และพวกสุดทายคือ
  14. 14. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 7 พวกที่ฟงธรรมแลวทำอยางไรก็ไมเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตตมเปนอาหารเตา ปู ปลา จากนั้นดวย พระเมตตาของพระองคจึงประกาศเผยแผศาสนา พระองคทรงพิจารณาจะสอนพระธรรม ใหกับใครกอนเปนคนแรก ครั้งแรกคิดจะสอนพระธรรมแกอาฬารดาบส แตอาจารยทั้งสอง ทานตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียทั้ง 5 ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน พระองค ทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ) เรียกวา ธรรมจักกัปปวัตตน สูตร ทานโกณทัญญะฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็นธรรม คือบรรลุโสดาบัน จึงทูลขออุปสมบท เรียกการบวชครั้งนี้วา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนพระสงฆที่พระพุทธเจาบวชให ค่ำ เดือน 8 เปนวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ครบ เรียกวา อาสาฬหบูชา เปนครั้งแรก การเผยแผศาสนา เมื่อพระพุทธเจาไดโปรดปญจวัคคีย และสาวกอื่นๆ ซึ่งเลื่อมใส นับถือศาสนาพุทธ ตอมาพระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพุทธสาวก สามารถบวชใหกับผูที่เลื่อมใส ในศาสนาพุทธได เรียกวิธีบวชเชนนี้วา "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ การบวชดวยการปฏิญาณ ตนเปนผูถึงไตรสรณคมน พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกในดินแดนสุวรรณภูมิ เชน ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน ประเทศเนปาล เปนตนมา พระพุทธเจาประกาศเผยแผ คำสอนจนเกิดพุทธบริษัท 4 อันมี ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา และพุทธบริษัท 4 นี้ จะ ทำหนาที่เผยแผคำสอนของพระพุทธเจาและสืบทอดพระพุทธศาสนาใหคงอยูตอไป เมื่อพระพุทธเจามีพระชนมายุ 80 พรรษา พระองคเสด็จจำพรรษาสุดทาย ณ เมือง เวสาลี ในวาระนั้น พระพุทธองคทรงชราภาพและประชวรหนัก พระองคไดทรงดำเนินจาก เวสาลีสูเมืองกุสินารา เพื่อเสด็จดับขันปรินิพพาน ณ เมืองนั้น พระองคเสวยอาหารมื้อสุดทาย ที่นายจุนทะปรุงดวยเนื้อสุกรถวาย พระองคเสวยและใหนำอาหารนั้นไปฝง ทรงมีอาการ ประชวร ถายเปนพระโลหิต กอนที่พระองคจะเสด็จปรินิพพาน ซึ่งหมายถึงการไมมาเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร พระองคทรงมีพระดำรัสกับพระอานนท ซึ่งเปนพุทธอนุชาและเปนพระอุปฏฐากของ พระพุทธเจา ความวา “โย โว อานฺท ธมฺม จ วินฺโย มหาเทสิโต ปฺญตโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา” แปลวา “ดูกอนอานนท ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยนั้น จักเปนศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไปแลว” และพระพุทธองคไดแสดงปจฉิมโอวาทแกพระภิกษุสงฆวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี่เปนวาจาครั้งสุดทาย ที่เราจะกลาวแกทานทั้งหลาย สังขารทั้งหลายทั้งปวงมีความสิ้นไปและ เสื่อมไปเปนธรรมดา ทานทั้งหลายจงทำความรอดพนใหบริบูรณถึงที่สุดดวยความไมประมาท เถิด" พระพุทธเจา ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน ในวันเดือนกัน คือ วันเพ็ญเดือน 6 เรียกวา วัน “วิสาขบูชา”
  15. 15. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน8 วันวิสาขบูชา ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน การเผยแผพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย พระพุทธศาสนาเผยแผเขามาในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 270 หลังจาก พระพุทธเจาเสด็จปรินิพพาน พระเจาอโศกมหาราชสถาปนาศาสนาพุทธเปนปกแผนและสง พระเถระไปเผยแผพระพุทธศาสนายังประเทศตางๆ รวมทั้งประเทศไทย พระเถระที่เขามามี 2 รูป คือ พระโสณเถระ และพระอุตตระเถระ ซึ่งเปนนิกายเถรวาท ขณะนั้นไทยอยูบนดินแดน ที่เรียกวาสุวรรณภูมิ มีขอบเขตประเทศที่รวมกันคือ ไทย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และสันนิษฐานวาใจกลางอยูที่จังหวัดนครปฐม มีหลักฐานคือพระปฐมเจดียและรูปธรรมจักร กวางหมอบ สมัยนี้เรียกวา สมัยทวารวดี ตอมา สมัยอาณาจักรอายลาว ศาสนาพุทธนิกายมหายานเผยแผมายังอาณาจักรนี้เพราะ พระเจามิ่งตี่ กษัตริยจีน ทรงรับพระพุทธศาสนา ไปเผยแผในประเทศจีนและสงฑูตมาเจริญ สัมพันธไมตรีกับอาณาจักรอายลาว จึงทำใหไทยนับถือศาสนาพุทธแบบมหายานเปนครั้งแรก แทนการนับถือเทวดาแบบดั้งเดิม ในพุทธศตวรรษที่ 13 พ.ศ. 1300 สมันอาณาจักรศรีวิชัยในเกาะสุมาตรา ไดเจริญ รุงเรือง และนำพระพุทธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผ ดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยูคือพระ บรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี และพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในพุทธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจักรลพบุรี เจริญรุงเรือง ในขณะเดียวกัน อาณาจักรขอมก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมัน เรืองอำนาจ พระองครับเอา พุทธศาสนาแบบมหายานผสมผสานกับศาสนาพราหมณ และทรงสรางศาสนาสถานเปน พระปรางคและปราสาทอาณาจักรลพบุรีของไทย รับอิทธิพลนี้มาดวย มีภาษาสันสกฤตเปน
  16. 16. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 9 ภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลในภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นสิ่งกอสราง คือ พระปรางคสามยอดจังหวัดลพบุรี ประสาทหินพิมายที่จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหิน พนมรุงที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม เชน ศิลปะแบบขอม พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกามประเทศพมาเจริญรุงเรือง กษัตริย ผูปกครองชื่อ พระเจาอนุรุทธิ์มหาราช กษัตริยพุกามเรืองอำนาจทรงรวบรวมเอาพมากับมอญ เขาเปนอาณาจักรเดียวกัน และแผขยายอาณาจักรถึงลานนา ลานชาง คือ เชียงใหม ลำพูน เชียงราย จึงรับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท หลักฐานที่ปรากฏ คือ การกอสรางเจดียแบบพมา ซึ่งปรากฏอยูตามวัดตางๆ ตอมาสมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผน มีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนา และอาณาจักรสุโขทัย พอขุนรามคำแหงมหาราชทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซึ่ง เผยแผศาสนาอยูที่นครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัยนับเปนจุดสำคัญที่ทำใหพุทธศาสนา ดำรงมั่นคงมาในประเทศไทยสืบมาจนทุกวันนี้ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศไดเขามาเผยแผ ในประเทศไทยถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในสมัยพอขุนรามคำแหงมหาราช ในสมัยที่ 2 คือ สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองคปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวย ความผาสุก ศิลปะสุโขทัยมีความงดงามโดยเฉพาะพระพุทธรูปไมมีศิลปะสมัยใดงามเสมือน สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังรายทรงสรางราชธานี ชื่อ นพบุรีศรีนครพิงค เชียงใหม ตั้งถิ่นฐานที่ลุมแมน้ำปง สนับสนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร นาน พะเยา ในสมัยพระเจาติโลกราชแหงเชียงใหมทำการสังคายนาพระไตรปฎก เปนครั้งแรกในประเทศไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก พิธีกรรมตางๆจึงปะปนกับพิธีพราหมณ ประชาชนทำบุญกุศล สรางวัด บำรุงศาสนา พระมหา กษัตริยที่ทรงผนวช คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและทรงริเริ่มใหเจานายและขาราชการ บวชเรียน ทรงรจนาหนังสือมหาชาติคำหลวงขึ้นในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม ไดพบรอยพระพุทธบาทที่ จ. สระบุรี จึงโปรดใหสรางมณฑป วรรณคดีในสมัยนี้ไดแก กาพย มหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกษฐ พ.ศ. 2275-2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก พระเจาแผนดินของลังกามีพระราชสาสนมาทูลของพระภิกษุสงฆไปเผยแผศาสนาที่ลังกา เพราะศาสนาพุทธที่เรียกวาลังกาวงศนั้นเสื่อมลง ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและ เผยแผ ศาสนาจนรุงเรืองอีกครั้ง และเรียกศาสนาพุทธในครั้งนี้วา นิกายสยามวงศ สมัยกรุงธนบุรี ป 2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมายกทัพเขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน วัดวาอารามถูกทำลายยอยยับ พระเจาตากสินมหาราชทรงเปนผูนำในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้ง เมืองหลวงที่กรุงธนบุรีและทรงบูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม และสรางวัดเพิ่มเติมอีกมากและ ไดอัญเชิญ พระแกวมรกตจากเวียงจันทนมายังประเทศไทย
  17. 17. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน10 สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 (พ.ศ. 2325-2352) พระองคยายเมืองหลวงมาตั้งที่ กรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตางๆ คือ การสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และโปรดใหมีการ สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 9 และถือเปนครั้งที่ 2 ในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน รัชกาลที่ 2 (พ.ศ. 2352-2367) ทรงบูรณะวัดอรุณราชวราราม วัดสุทัศนเทพวราราม และฟนฟูประเพณีวิสาขบูชา รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367-2394) ทรงสราง 3 วัด คือ วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดเทพธิดาราม และวัดราชนัดดาราม และทรงบูรณะปฏิสังขรณ วัดมีจำนวนมากถึง 50 วัด พระองคเชิดชูกำเนิดธรรมยุติกนิกายในป 2376 เนื่องจากพระองค เลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญซึ่งเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศนเปนศูนยกลาง ทรงสรางพระไตรปฎกเปนจำนวนมากยิ่งกวารัชกาลใดๆ ตอมาสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394-2411) ทรง สรางพระไตรปฎก ปฏิสังขรณวัด กำเนิดการบำเพ็ญกุศลพิธีมาฆบูชา เปนครั้งแรกที่วัด พระศรีศาสดาราม และสงสมณฑูตไปลังกา สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2411-2453) ทรง สรางพระไตรปฎกแปลจากอักษรขอม เปนอักษรไทย ปฏิสังขรณวัดตางๆ ทรงตราพระราช บัญญัติคณะสงฆและสถาปนาการศึกษาสำหรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฎราชวิทยาลัย ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่วัดมหาธาตุ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2453-2468) ทรง ประกาศใชพุทธศักราชทางราชการตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรางโรงเรียน และบูรณะวัดตางๆทรงพระราชนิพนธหนังสือทางพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธเจาตรัสรูอะไร และเทศนาเสือปา สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2468-2477) ทรง พิมพพระไตรปฎก เรียกวา "พระไตรปฎกสยามรัฐ" มีตราชางเปนเครื่องหมายเผยแพร ทรง ประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนาสำหรับเด็ก ทรงเพิ่มหลักสูตรจริยศึกษา (อบรมใหมี ศีลธรรมดีงามขึ้น แตเดิมมีเพียงหลักสูตรพุทธิศึกษา (ใหมีปญญาความรู) และพลศึกษา (ฝกหัด ใหเปนผูมีรางกายสมบูรณ) สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477-2489) มีการ แปลพระไตรปฎกเปนภาษาไทย ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 เลิกการปกครอง สงฆแบบมหาเถรสมาคมที่ใชมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 สมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489-ปจจุบัน) มีการจัดงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในป พ.ศ. 2500 มีการสรางพุทธมณฑลไวที่ตำบลศาลายา
  18. 18. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 11 จังหวัดนครปฐม มีการสงพระสงฆไปเผยแผศาสนาพุทธในตางประเทศ เสด็จออกผนวชที่วัด บวรนิเวศ วรวิหาร และมีโรงเรียนพุทธศาสนาในวันอาทิตย 1.2 ศาสนาอิสลามในประเทศไทย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด เปนบุตรของอับดุลลอหแหงอารเบีย ทานไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮพระผูเปนเจา ทานศาสดามุฮัมมัด เกิดที่มหานครมักกะห (เมกกะ) ตรงกับวันจันทร ที่ 17 (บางก็วา 12) เดือนร็อบีอุลเอาวัล ในป ค.ศ. 570 (พ.ศ. 1113) ในตอนแรกเกิดวรกายของมุฮัมมัด มีรัศมีสวางไสวและมีกลิ่นหอมเปนศุภนิมิตบงถึงความพิเศษของทารก ปที่ทานเกิดนั้นเปนปที่ อุปราชอับร็อฮะหแหงอบิสสิเนีย (เอธิโอเปยปจจุบัน) กรีฑาทัพชางเขาโจมตีมหานครมักกะห เพื่อทำลายกะอบะหอันศักดิ์สิทธิ์ แตอัลลอหไดทรงพิทักษมักกะห ดวยการสงกองทัพนกที่คาบ กรวดหินลงมาทิ้งบนกองทัพนี้ จนไพรพลตองลมตายระเนระนาด เนื้อตัวทะลุดุจดั่งใบไมที่ถูก หนอน กัดกิน อุปราชอัมร็อฮะหจึงจำตองถอยทัพกลับไป
  19. 19. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน12 ในปเดียวกันนั้นมีแผนดินไหวเกิดขึ้นในเปอรเซีย เปนเหตุใหราชวังอะนูชิรวานของ จักรพรรดิเปอรเชียสั่นสะเทือนถึงรากเหงาและพังทลายลง ยังผลใหไฟศักดิ์สิทธิ์ในวิหาร บูชาไฟของพวกโซโรแอสเตอรที่ลุกอยูเปนพันปนั้นตองดับลงไปดวย เมื่อมูฮัมมัดมีอายุได 20 ป กิตติศัพทแหงคุณธรรม และความสามารถในการคาขาย ก็เขาถึงหูของคอดีญะหเศรษฐีนีหมาย ผูมีเกียรติจากตระกูลอะซัดแหงเผากุเรช นางจึงเชิญ ใหทานเปนผูจัดการในการคาของนาง โดยใหทานนำสินคาไปขายยังประเทศซีเรีย ในฐานะ หัวหนากองคาราวาน ปรากฏผลวาการคาดำเนินไปดวยความเรียบรอย และไดกำไรเกินความ คาดหมาย จึงทำใหนางพอใจในความสามารถและความซื้อสัตยของทานเปนอยางมาก เมื่ออายุ 30 ป ทานไดเขารวมเปนสมาชิกในสหพันธ ฟุฎล อันเปนองคการพิทักษ สาธารณภัยประชาชน เพื่อขจัดทุกขบำรุงสุขใหประชาชน กิจการประจำวันของทาน ก็คือ ประกอบแตกุศลกรรมปลดทุกขขจัดความเดือดรอน ชวยเหลือผูตกยาก บำรุงสาธารณกุศล เมื่ออายุ 40 ป ทานไดรับวา วะฮยู (การวิวรณ) จากอัลลอหพระผูเปนเจาในถ้ำฮิรออ ซึ่งอยูบนภูเขาลูกหนึ่งนอกเมืองมักกะห โดยฑูตญิบรีลเปนผูนำมาบอกเปนครั้งแรก เรียกรองให ทานรับหนาที่เปนผูเผยแผศาสนาของอัลลอหดั่งที่ศาสดามูซา (โมเสส) อีซา (เยซู) เคยทำมา นั่นคือประกาศใหมวลมนุษยนับถือพระเจาเพียงองคเดียว ทาไดรับพระโองการติดตอกันเปน เวลา 23 ป พระโองการเหลานี้รวบรวมขึ้นเปนเลมเรียกวา คัมภีรอัลลกุรอาน ในตอนแรกทานเผยแผศาสนาแกวงศญาติและเพื่อนใกลชิดเปนภายในกอน ทาน ค็อดีญะหเองไดสละทรัพยสินเงินทองของทานไปมากมาย และทานอบูฎอลิบก็ไดปกปอง หลานชายของตนดวยชีวิต ตอมาทานไดรับโองการจากพระเจาใหประกาศเผยแผศาสนา โดยเปดเผย ทำใหญาติพี่นองในตระกูลเดียวกันชาวกุเรชและอาหรับเผาอื่นๆที่เคยนับถือทาน พากันโกรธแคน ตั้งตนเปนศัตรูกับทานอยางรุนแรงถึงกับวางแผนสังหารทานหลายครั้ง แตก็ ไมสำเร็จ ชนมุสลิมถูกคว่ำบาตรไมสามารถทำธุรกิจกับผูใด จนตองอดอยาก เพราะขาดรายได และไมมีเงินที่จะซื้ออาหาร อบูซุฟยานแหงตระกูลอุมัยยะหและอบูญะฮัล คือ สองในจำนวน หัวหนามุชริกูนที่ไดพยายามทำลายลางศาสนาอิสลาม เมื่อชาวมุชริกูนเอาชนะรัฐอิสลามไมไดก็ไดมีการทำสัญญาสงบศึกกันในเดือน มีนาคม ค.ศ. 628 เรียกสัญญาสงบศึกครั้งนั้นวา สัญญาฮุดัยบียะห ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือน มกราคม ป ค.ศ. 630 ทานนบีจึงนำทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศ นิรโทษกรรมใหชาวมักกะหเกือบทั้งหมด ยกเวนบางคน ในจำนวนนั้นมีอัลฮะกัม แหงตระกูล อุมัยยะหที่ทานนบีประกาศใหทุกคนคว่ำบาตรเขา การนิรโทษกรรมครั้งนี้ มีผลใหชาวมักกะห ซาบซึ้งในความเมตตาของทาน จึงพากันหลั่งไหลเขานับถือศาสนาอิสลามเปนจำนวนมาก ทาน นบีมูฮัมมัด ไดสิ้นชีวิตที่เมืองมดีนะห เมื่อวันจันทรที่ 12 ป ค.ศ. 632 รวมอายุได 63 ป
  20. 20. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 13 การเผยแผศาสนาอิสลามเขามาสูประเทศไทย จากบันทึกทางประวัติศาสตรของมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ได เดินทางมาทางทะเลมาทำการคาขายกับเมืองไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย แตไมมีผูใดรับราชการใน ราชสำนักไทยนอกจากชาวมุสลิมในทองถิ่นภาคใต นับตั้งแตนครศรีธรรมราชลงไปจรด ปลายแหลมมลายู สิงคโปรและมะละกานั้นเจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมา แตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัยสงคนทางสุโขทัยไปปกครองแมแตคนเดียว และเมืองตางๆ ทางภาคใตเปนประเทศราชของกรุงสุโขทัย ตองสงดอกไมเงิน ดอกไมทอง เปนเครื่อง บรรณาการตามกำหนด หากเมืองใดแข็งเมือง ทางเมืองหลวงจะยกกองทัพไปปราบเปน ครั้งคราวและอยูรวมกันอยางมีความปกติสุข เปนเวลาหลายรอยป เจาพระยาบวรราชนายกตำแหนงวางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนำศาสนาอิสลาม นิกายชีอะหเขามาสูประเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เมื่อทานถึงแกกรรม ศพทาน ฝงไวที่สุสานบริเวณทากายี ปจจุบันเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทานเปน ตนตระกูลอะหมัดจุฬา จุฬารัตน บุญนาค ศรีเพ็ญ บุรานนท ศุภมิตร ในสมัยพระเจาทรงธรรม มีชาวเปอรเซียชื่อวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง เนื่องจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกำลังสรางปอมคายที่บานหัวเขาแดง จังหวัด สงขลา เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราชซึ่งมีหนาที่ดูแลหัวเมือง ภาคใตไดรายงานเรื่องนี้ใหกรุงศรีอยุธยาทราบเรื่อง พระเจาทรงธรรมโปรดเกลาฯ แตงตั้งให ทานโมกอลเปนขาหลวงผูสำเร็จราชการเมืองสงขลา เมื่อทานโมกอลถึงแกอสัญกรรม บุตรชาย คือทานสุลัยมานเปนผูสำเร็จราชการตอมา และเมื่อเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศปราบดาภิเษก โดยทำการประหารพระเชษฐาธิราช คือ พระเจาทรงธรรมและพระโอรสสิ้นชีวิตและสถาปนา ตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวาพระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง เมื่อ พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปนสุลตาน ชื่อ สุลตาน สุลัยมานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปนเมืองทาสำคัญ มีกำลังทหารเขมแข็งทั้งทางน้ำ และทางบก กรุงศรีอยุธยาเคยยกกองทัพไปปราบ2ครั้ง แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห ปกครองสงขลาอยู 46 ป สรางความเจริญกาวหนา ทั้งดานการคามีโกดังสินคามากมายและ การทางคมนาคม ทำใหไมตองออมเรือไปยังสิงคโปร ทำใหยนระยะทางไดมาก ทานถึง แกกรรม เมื่อ พ.ศ. 2211 ศพทานฝงไว ณ สุสานบริเวณเขาแดง ปจจุบันขึ้นทะเบียนเปน โบราณสถานของชาติ คนทั่วไปนับถือทานมาก เรียกทานวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะ ผูลวงลับนั่นเอง ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชดำริวาในพระราชอาณาจักรของพระองค ไมควรมีกษัตริยองคอื่นอีก จึงยกทัพไปปราบนครสงขลา ซึ่งสุลตานมุตตาฟาบุตรของสุลตาน สุลัยมานชาหครองอยูและรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราชจึงใหทานสุลตานมุตตาฟาและ ครอบครัวยายไปอยูเมืองไชยา และสลายเมืองสงขลาเสีย สมเด็จพระนารายณมิไดถือโทษ
  21. 21. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน14 สุลตานมุตตาฟาเพราะถือวาเปนชวงผลัดแผนดิน ตอมาพระองคโปรดเกลาฯ ใหสุลตาน มุตตาฟาเปนพระไชยา ภาษาถิ่นนามวายามีตำแหนงเปน “พระยาพิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม” ที่ไชยา เกิดเปนหมูบางสงขลา มีการปกหลักประตูเมือง เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมือง เปนหลักฐานมาจนทุกวันนี้ สวนนองชายของพระชายาคือ ทานหะซัน และทานรูเซ็น โปรด เกลาฯ ใหรับราชการในกรุงศรีอยุธยา พรอมกับบุตรชายคนโตคือเตาฟค ทานหะซันชำนาญการ เดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปนพระยาราชบังสัน วาที่แมทัพเรือของกรุงศรีอยุธยา และตำแหนงนี้ไดสืบทอดตอเนื่องในสายสกุลของทาน นับวาโชคดีของประเทศไทย ที่ตลอด ระยะเวลาของกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร จนถึงสมัยของสมเด็จพระ จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตำแหนงสำคัญๆนับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย เชน ตำแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง รัตนโกสินทร เปนตำแหนงที่แตงตั้งเฉพาะคนมุสลิมเทานั้น เปนที่นาสังเกตอีกอยางหนึ่งวา ศาสนาอิสลามนิกายซุนหนี่และนิกายชีอะหในประเทศ ไทยอยูรวมกันมาตั้งแตสมัยพระเจาทรงธรรมแหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหนี่นั้นมีมาแตเดิมใน แผนดินสุวรรณภูมิ สวนนิกายชีอะหนั้น ไดเขามาพรอมกับทานเฉกอะหมัดสมัยพระเจา ทรงธรรม ทั้งสองนิกายนี้ผูกมิตรกันโดยมีการแตงงานระหวางกัน หัวเมืองชายแดนภาคใตตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลาย หัวเมืองในประเทศมาเลเซียปจจุบัน คือ ไทรบุรี (เคดาห) กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ สวน ดินแดนในเขตประเทศไทยปจจุบัน มีปตตานีเปนเมืองใหญครอบคลุมไปถึงยะลา นราธิวาส สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนบรรณาการมายัง กรุงศรีอยุธยามาโดยตลอด บางครั้งเมื่อมีการผลัดแผนดินโดยการปราบดาภิเษก เจาเมือง เหลานั้นมักถือ โอกาสแข็งเมืองตั้งตนเปนอิสระบอยครั้งทางกรุงศรีอยุธยาตองสงกองทัพ ไปปราบ เมื่อปราบแลวไดกวาดตอนคนมากรุงศรีอยุธยาดวย เชน ที่ตำบลคลองตะเคียน จังหวัด นครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิม เชื้อสายปตตานีจำนวนมาก สวนชาวมุสลิมแขกเทศหรือแขกแพ เชื้อสายเปอรเซียหรืออาหรับ มีภูมิลำเนาอยูแถบหัวแหลมหรือทากายี เปนชาวมุสลิมชีอะห เชื้อสายเปอรเซีย ในปจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยสามารถอยูรวมกับคนไทยพุทธได โดยมีกิจกรรม ที่สำคัญๆ รวมกันคือการติดตอคาขาย การศึกษา รัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับปรากฏขอความ สำคัญ คือพระมหากษัตริยไทย ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกทุกศาสนา แตในปจจุบันมีปญหา ที่ 3 จังหวัดภาคใต คือ ยะลา ปตตานี นราธิวาส ซึ่งไมไดเกิดจากปญหาความแตกตางทาง ศาสนา แตเกิดจากคนบางกลุมยังไมเขาใจกันดีเพียงพอจึงเกิดการปะทะกัน และรัฐบาลไทย ทุกสมัย พยายามแกไขปญหานี้โดยตลอด
  22. 22. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 15 ในป พ.ศ. 1847-1921 อิบนีบาตูเตาะห ชาวโมร็อกโก เชื้อสายอาหรับทำการเผยแพร ศาสนาอิสลามนิกายซุนหนี่ขึ้นทางเกาะสุมาตรา ตะวันตกเฉียงเหนือ โดยทำใหราชาซอและห ยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม เพราะในคัมภีรอัลกุรอานนั้นมีบทบัญญัติทั้งทางโลก ทางธรรม มีหลักวิชาเศรษฐศาสตร นิติศาสตร วิทยาศาสตร ปรัชญา การเมือง การสังคม การอาชีพ การคาขาย การแพทย การเปนหนี้สิน การบริโภคอาหาร การสมรส การหยาราง การครองเรือน การแบงมรดก การศึกษา การทูต การสงคราม และกิจวัตรประจำวันของบุคคลแตละคน ดังนั้น เมื่อมีพระราชาศรัทธาในศาสนาจึงเผยแผศาสนาอิสลามไปในหมูพสกนิกร และจัดระบบ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การสมรส การครองเรือน ตามพระราชบัญญัติ พระคัมภีรอัลกุรอาน และพระราชาธิบดี เปลี่ยนจากราชาซอและหมาเปนสุลตานซอและห ที่ เขมแข็งและเด็ดขาด และจากนั้นศาสนาอิสลามเผยแผไปยังรัฐใกลเคียงจนกลายเปนรัฐอิสลาม และขยายขึ้นมาจากตอนเหนือของมลายูเขามาสูตอนใตของประเทศไทยและปรากฏหลักฐาน วาเจาผูครองนครทางภาคใตของประเทศไทยจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งสิ้น ศาสนาอิสลามจากอินเดียใตเขามาสูมาเลเซียภาคใตของประเทศไทย สุมาตรา ชวา บอรเนียว แบบพิธีของศาสนาอิสลามในสวนนี้ของโลกเปนแบบอินโด-เปอรเซียนเชนเดียวกับ ในอินเดียและเปอรเซีย ซึ่งตางจากศาสนาอิสลามในอาระเบีย ประมาณคริสตศตวรรษที่ 9 อิสลาม ไดมาถึงฝงมะละกา เมื่อมารโคโปโลเดินทางเรือผานชวา เขาเขียนวาผูคนตามเมืองทา เปนมุสลิมทั้งสิ้น 1.3 ศาสนาคริสตในประเทศไทย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาคริสต คือ พระเยซู เกิดในชนชาติฮีบรู หรือยิว หรือ อิสราเอล พระเยซูคริสตถือเปนพระบุตรของพระเจามาบังเกิดในชาตินี้ เมื่อจัดศาสนาของพระเจา คือ พระยะโฮวาคริสตมีรากศัพทมาจากภาษาโรมันหรือภาษากรีกที่แปลมาจากคำวา เมสสิอาหใน ภาษฮีบรู แปลวาผูปลดเปลื้องทุกขภัย พระเยซูเกิดที่หมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรุงเยรูซาเล็ม ในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ. 543 แตไปเติบโตที่เมืองนาซเรท แควนกาลินี หางจากนครยูซาเล็ม ประมาณ 55 ไมล มารดา ของพระเยซูชื่อมาเรีย หรือมารีย บิดาชื่อ โยเซฟ อาชีพชางไม ตามประวัติ มาเรียมารดาพระ เยซูนั้นตั้งครรภมากอนขณะที่โจเซฟยังเปนคูหมั้นมิไดอยูกินดวยกัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา หรือพระยะโฮวาห คือเทวาคาเบรียลตองมาเขาฝนบอกโยเซฟใหรูวาบุตรในครรภของมาเรียเปน บุตรของพระเจาเปนผูมีบุญมากใหตั้งชื่อวาพระเยซูตอไปคนผูนี้จะชวยไถบาปใหชาวยิวรอดพน จากความทุกขทั้งปวง โยเซฟปฏิบัติตามคำของฑูตแหงพระเจา รับมาเรียมาอยูดวยกันโดยมิได

×