SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
โรคบาดทะยัก
Tetanus
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
ลักษณะโรค
 เป็นโรคติดเชื้อที่จัดอยู่ในกลุ่มของโรคทางประสาทและ
กล้ามเนื้อ
 เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani ซึ่ง
ผลิต exotoxin ที่มีพิษต่อเส้นประสาทที่ควบคุมการ
ทางานของกล้ามเนื้อ
 เริ่มแรกกล้ามเนื้อขากรรไกรจะเกร็ง ทาให้อ้าปากไม่ได้
จึงมีชื่อเรียกอีกว่า โรคขากรรไกรแข็ง (lockjaw)
21-Jul-14 2
 เกิดจากเชื้อ Clostridium tetani
ซึ่งเป็น anaerobic bacteria
 เชื้อสามารถสร้าง exotoxin ที่ไปจับ
และมีพิษต่อระบบประสาท
สาเหตุ
21-Jul-14 3
การติดต่อ
 เชื้อโรคจะเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังจากบาดแผล
ถูกของแหลมของมีคมตาหรือบาด โดยเฉพาะตะปู
หรือมีดที่เป็นสนิม
21-Jul-14 4
การติดต่อ
 สาหรับทารกเชื้อมักจะเข้าทางรอยแผลที่เกิดจาก
การตัดสายสะดือ
 ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับสัตว์ โดยเฉพาะม้า หรือทางาน
บนพื้นดินที่มีเชื้อของโรคนี้อยู่
 บาดทะยักจะไม่แพร่เชื้อสู่ผู้อื่นโดยตรง ต่างจาก
โรคติดต่อชนิดอื่นๆ
21-Jul-14 5
บาดแผลที่ต้องได้รับจากการฉีดวัคซีน
21-Jul-14 6
ระยะฟักตัวของโรค
 ประมาณ 4 วันถึง 3 อาทิตย์
 โดยเฉลี่ยประมาณ 10 วัน ขึ้นอยู่กับ
สิ่งแวดล้อม ตาแหน่งของแผล และเชื้อโรค
ที่เข้าสู่ร่างกาย
21-Jul-14 7
ระยะติดต่อ
 เชื้อบาดทะยักจะไม่ติดต่อจากบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลหนึ่ง
โดยตรง
 ความไวต่อโรคและความต้านทาน ผู้ได้รับเชื้อมีโอกาส
เป็นโรคบาดทะยักได้ทุกคน
 ผู้ป่วยที่หายจากโรคจะไม่มีภูมิต้านทานชนิดถาวร ควร
ฉีดวัคซีนป้ องกันสาหรับผู้เสี่ยงต่อการติดเชื้อ โดยเฉพาะ
ในมารดาที่ตั้งครรภ์และในทารก
21-Jul-14 8
อาการ
 ปวดเกร็ง หรือมีอาการเจ็บ และปวดบริเวณ
บาดแผล
 มีอาการกระวนกระวาย ปวดศีรษะ
 มีอาการเกร็ง โดยมากเป็นที่กล้ามเนื้อของ
ขากรรไกร ทาให้ขากรรไกรแข็งเคลื่อนไหวลาบาก
21-Jul-14 9
อาการปวดเกร็งกล้ามเนื้อ
21-Jul-14 10
อาการ
 อ้าปากไม่ขึ้น (Lockjaw)
 กล้ามเนื้อส่วนคางและคอหดเกร็งมองดูคล้ายยิ้มแสยะ
(Risus Sardonicus)
 คอเริ่มแข็งกลืนอาหารลาบาก
 ปวดกล้ามเนื้อเกร็ง ทาให้การหายใจและการควบคุม
การทางานของหัวใจไม่ปกติ
 มีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อตามร่างกาย แขน และขา
21-Jul-14 11
กล้ามเนื้อส่วนคางและคอหดเกร็งมองดูคล้ายยิ้มแสยะ
(Risus Sardonicus)
21-Jul-14 12
อาการ
 ในรายที่มีอาการรุนแรง จะไวต่อความรู้สึกที่มากระทบ
เช่น เสียงดัง หรือ แสงสว่าง จะมีอาการชักกระตุกทันที
 ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับวัคซีนป้ องกันโรคจะมีอัตราการตายสูง
ตั้งแต่ 35- 70%
 สาหรับเด็กเกิดใหม่ จะมีภูมิคุ้มกันจากแม่แต่เพียงชั่ว
ระยะสั้น
 เด็กโตหากไม่ได้รับภูมิคุ้มกันจะทาให้เกิดโรคได้ง่ายเมื่อ
รับเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
21-Jul-14 13
กล้ามเนื้อที่ได้รับผลกระทบจากบาดทะยักอย่างรุนแรง
21-Jul-14 14
การรักษา
 Tetanus Antitoxin ขนาด 10,000 หน่วย ฉีดเข้าเส้นโลหิตดา
หรือใช้ Tetanus immune globulin (Human) ขนาด 5,000
หน่วย ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
 ควรให้ผู้ป่วยนอนพักในห้องที่ไม่มีแสงสว่าง และไม่ให้มีการรบกวน ทั้ง
แสงและความ กระเทือน
 ยาที่ใช้รักษาตามอาการ ให้ยาระงับประสาท เช่น Diazepam
Valium เพื่อการลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ และ ให้ยากันชักกระตุก
เช่น Chorpromazine 50-100 มก. วันละ 4 ครั้ง
21-Jul-14 15
Tetanus Antitoxin
21-Jul-14 16
Tetanus immune globulin
(Human)
21-Jul-14 17
ยาระงับประสาท
21-Jul-14 18
การปฏิบัติตน
1.ควรแยกผู้ป่วยไว้ต่างหาก เพราะผู้ป่วยต้องการความ
เงียบไม่มีแสงและ เสียงรบกวน เนื่องจากจะทาให้ได้
พักผ่อนเต็มที่
2.ให้ทาลายเชื้อโรคจากสิ่งขับถ่ายของผู้ป่วย
3. ควรรักษาแผลของผู้ป่วยให้สะอาด และควรให้แผลเปิด
ได้รับออกซิเจนได้มากที่สุด
21-Jul-14 19
การป้ องกันและควบคุมโรค
1. ผู้ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ หรือถูก
ของมีคมบาด ผู้ทางานคลุกคลีกับสิ่งสกปรกอยู่
เสมอ ควรฉีดวัคซีนป้ องกันโรคไว้
2. สตรีที่ตั้งครรภ์และบุตรที่คลอดควรได้รับ
วัคซีนป้ องกันบาดทะยักตามกาหนด
21-Jul-14 20
การป้ องกันและควบคุมโรค
3. เมื่อมีบาดแผลต้องทาแผลให้สะอาดทันที โดยการ
ฟอกด้วยสบู่ล้างด้วยน้าสะอาด เช็ดด้วยยาฆ่าเชื้อ
4. รักษาความสะอาดของสะดือโดยการเช็ดด้วย
แอลกอฮอล์ 70% เช็ดวันละ 1-2 ครั้ง ห้ามใช้แป้ งหรือ
ผงยาต่าง ๆ โรยสะดือ ไม่ควรห่อหุ้มพันท้อง หรือปิด
สะดือ
21-Jul-14 21
การฉีดวัคซีน
ผลข้างเคียงของการฉีดบาดทะยัก
ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นภายในไม่กี่ชั่วโมง
อาจมีสีแดง, บวม, แข็ง หรือผื่นที่อาจ
นานถึง 3 วัน
21-Jul-14 22
'สสจ.เลย'เร่งป้ องกันโรคบาดทะยัก
21-Jul-14 23
'สสจ.เลย'เร่งป้ องกันโรคบาดทะยัก
วันที่ 14 มี.ค.55 นายวิวรรธน์ ก่อวิริยกมล นายแพทย์
สาธารณสุขจังหวัด กล่าวว่า จากข้อมูลงานควบคุมโรค
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเลยในเดือนก.พ.ที่ผ่านมา
 มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคบาดทะยักแล้ว 3 คน
 คนแรกอยู่ที่ อ.ท่าลี่ สาเหตุจากการเหยียบตะปู
 คนที่ 2 จากอ.เมืองเลย สาเหตุไม่ทราบแน่ชัด
 คนที่ 3 จากอ.ผาขาว สาเหตุมีประวัติปั่นจักรยานล้มมีแผลที่
นิ้วกลางมือขวาบวม
21-Jul-14 24
“ รู้เตรียม รู้ระวัง รู้สะอาด แคล้วคลาดบาดทะยัก ”
21-Jul-14 25
ช่องทางการติดต่อ…
Facebook
prachaya56@hotmail.com
ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 26

More Related Content

What's hot

สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013Utai Sukviwatsirikul
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx pop Jaturong
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับPanda Jing
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 

What's hot (20)

สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
คำแนะนำการวินิจฉัยและการรักษาไข้เดงกีและไข้เลือดออกเดงกีในผู้ใหญ่ Rcpt 2013
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับมารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
มารู้จักโรคไข้เลือดออก กันครับ
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Viewers also liked

หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการkkkkon
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าsucheera Leethochawalit
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
Platelet apocalypse 2015
Platelet apocalypse 2015Platelet apocalypse 2015
Platelet apocalypse 2015derosaMSKCC
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 

Viewers also liked (20)

หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ไอกรน Ppt.1
ไอกรน Ppt.1ไอกรน Ppt.1
ไอกรน Ppt.1
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
Platelet apocalypse 2015
Platelet apocalypse 2015Platelet apocalypse 2015
Platelet apocalypse 2015
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
Blood transfusion
Blood transfusionBlood transfusion
Blood transfusion
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 
Fracture Clavicle
Fracture ClavicleFracture Clavicle
Fracture Clavicle
 

More from Prachaya Sriswang

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 

Ppt. บาดทะยัก

Editor's Notes

  1. ซึ่งมักจะมีเชื้อบาดทะยักติดอยู่ เชื้อจะเข้าทางบาดแผลแล้วเจริญเติบโตแบ่งจำนวนมากขึ้น พร้อมขับถ่ายสารพิษที่เป็นพิษต่อร่างกายออกมา