SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ
ศึกษา 2552
แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เวลา
2 คาบ ส.2-1
*****************************************************
*************************
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้)
1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ได้
2. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบที่มีทั้งในเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์ได้
3. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบส่วนประกอบของเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์ได้
4. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบที่ทำาให้เซลล์พืชสร้าง
อาหารเองได้
2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
1. ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มีจิตสาธารณะ
3. แนวคิด
พืช สัตว์ มนุษย์ จะมีโครงสร้างพื้นฐานเล็กๆ เพื่อจะก่อให้
เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด โดยโครงสร้างเล็กๆ นั้นจะมา
รวมกันมีกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันจนก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิต
ต่างๆ โครงสร้างที่กล่าวถึงนี้จัดว่ามีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเราเรียกว่า
เซลล์ (Cell) เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่าง
หลายแบบแตกต่างกันตามหน้าที่โครงสร้างและส่วนประกอบของ
เซลล์นั้นๆ
4. สาระการเรียนรู้
ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุดของเซลล์พืช
ประกอบด้วยสสารพวกเซลลูโลส ทำาหน้าที่เสริมสร้างความแข็ง
แรงให้แก่เซลล์พืช
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) เป็นเยื่อบางๆ ทำาหน้าที่
ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร เช่น นำ้า อากาศ และสารละลาย
ต่างๆ ระหว่างภายนอกเซลล์กับภายในเซลล์
ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ที่
ไหลไปมาได้ มีออแกนเนลล์ปนอยู่ เช่น ไมโทคอนเดรีย
เซลล์สัตว์จะมีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างไปตามชนิดของ
อวัยวะ แต่จะมีลักษณะร่วมกันในการทำางานของอวัยวะต่างๆ เกิด
เป็นระบบการทำางานของร่างกาย ประกอบด้วย เยื่อหุ้มเซลล์ ไซ
โทพลาซึม นิวเคลียส ซึ่งในเซลล์สัตว์จะไม่พบผนังเซลล์และคลอ
โรพลาสต์
ตาราง แสดงความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์
โครงสร้าง
ของเซลล์
เซล
ล์พืช
เซลล์
สัตว์
ผนังเซลล์  
เยื่อหุ้มเซลล์  
ไซโทพลาซึม  
คลอโรพลาสต์  
นิวเคลียส  
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำา (10 นาที)
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันตอบคำาถามเพื่อทบทวนความรู้เดิม
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
2. ครูถามนักเรียนว่า “จากที่นักเรียนได้ทราบกันมาแล้วว่า
เซลล์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างและส่วนประกอบที่แตกต่างกัน
”นักเรียนคิดว่าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะแตกต่างกันอย่างไร
(เซลล์สัตว์มีรูปร่างกลมรี ไม่มีคลอโรพลาสต์ และคลอโรฟิลล์ ไม่มี
ผนังเซลล์ ส่วนเซลล์พืชจะมีรูปร่างเหลี่ยม มีคลอโรพลาสต์และ
คลอโรฟิลต์ มีผนังเซลล์)
3. ครูถามนักเรียนว่าเซลล์พืชสามารถสร้างอาหารเองได้
หรือไม่ เพราะเหตุใด (เซลล์พืชสามารถสร้างอาหารเองได้
เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์ ซึ่งภายในมีคลอโรฟิลล์ สำาหรับใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง)
4. ครูถามนักเรียนว่าเซลล์สัตว์สามารถสร้างอาหารเองได้
หรือไม่ (เซลล์สัตว์ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้)
3. ครูกล่าวว่า “ในคาบเรียนนี้เราจะมาทำากิจกรรมการ
”ทดลองในการเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ขั้นสอน (70 นาที)
1. ครูอธิบายขั้นตอนการทำากิจกรรมฝึกทักษะ 1.2 และ 1.3
ในหนังสือเรียน (หน้า 11-17) ดังนี้
1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์พืช
- หยดนำ้า 1 หยด บนสไลด์
- เลือกใบอ่อนของสาหร่างหางกระรอก 1 ใบ วางลงบนหยดนำ้า
แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ (ระวังไม่ให้มีฟองอากาศ)
- ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู โดยเลนส์ใกล้วัตถุกำาลังขยายตำ่าก่อน
และเมื่อหาโฟกัสของภาพปรับชัดแล้วจึงเปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุที่มี
กำาลังขยายเพิ่มขึ้น
- บันทึกและวาดภาพผลการศึกษาสาหร่างหางกระรอก
- ฉีกใบว่านกาบหอยให้แฉลบทางด้านหลังใบที่มีสีม่วง และใช้
มีดโกนตัดเยื่อบางๆ นำาไปวางบนสไลด์ และหยดนำ้าลงบนสไลด์
เล็กน้อย
- ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู โดยเลนส์ใกล้วัตถุกำาลังขยายตำ่าก่อน
และเมื่อหาโฟกัสของภาพปรับชัดแล้วจึงเปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุที่มี
กำาลังขยายเพิ่มขึ้น
- บันทึกและวาดภาพ ผลการศึกษาใบว่านกาบหอย
1.2 ส่วนประกอบของเซลล์สัตว์
- ใช้ไม้ที่พันสำาลี ถูบริเวณกระพุ้งแก้มเบาๆ
- ป้ายสำาลีลงบนแผ่นสไลด์
- ทิ้งไม้พันสำาลีลงในนำ้ายาฆ่าเชื้อโรค
- หยดสารละลายไอโอดีน แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์
- ศึกษาลักษณะของเซลล์ ด้วยกล้องจุลทรรศน์
- บันทึกและวาดภาพรูปร่างของเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
2. ครูแจกแผ่นสไลด์และกระจกปิดแผ่นสไลด์ให้นักเรียน
กลุ่มละ 1 ชุด
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
พร้อมบันทึกผลการทดลอง
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาสรุปผลการ
ทดลองของกลุ่ม
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการทดลอง เพื่อให้เป็นที่
เข้าใจตรงกัน
2. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องส่วนประกอบของเซลล์มาล่วง
หน้า เพื่อเตรียมตัวในคาบเรียนถัดไป (หน้า 19-20)
6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
- หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑
- ใบมีดโกน - ไม้ที่พันสำาลี
- หลอดหยด - เยื่อบุข้างแก้ม
- ใบว่านกาบหอย - นำ้ายาฆ่าเชื้อโรค
- สาหร่ายหางกระรอก - สารละลาย
ไอโอดีน
- กล้องจุลทรรศน์ - แผ่นสไลด์และ
กระจกปิดแผ่นสไลด์
7. การวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน
เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ
นักเรียน
- การจดบันทึกลงในสมุดของนักเรียน
8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน)
1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
............................. ....................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน /
เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
......................
3. ผลที่เกิดขึ้น
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
.................................... .............................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
......................
3. ผลที่เกิดขึ้น
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
.................................... .............................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 

What's hot (20)

แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่Wann Rattiya
 
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55ไชยยา มะณี
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
 
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
มคอ.3 เคมีทั้วไป ภาคต้น 55
 
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 

More from Wann Rattiya

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environmentWann Rattiya
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องWann Rattiya
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองWann Rattiya
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 

More from Wann Rattiya (11)

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environment
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : Disney
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2552 แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เวลา 2 คาบ ส.2-1 ***************************************************** ************************* 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้) 1. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้ 2. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบที่มีทั้งในเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ได้ 3. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบส่วนประกอบของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ได้ 4. นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบที่ทำาให้เซลล์พืชสร้าง อาหารเองได้ 2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มีจิตสาธารณะ 3. แนวคิด พืช สัตว์ มนุษย์ จะมีโครงสร้างพื้นฐานเล็กๆ เพื่อจะก่อให้ เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด โดยโครงสร้างเล็กๆ นั้นจะมา รวมกันมีกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันจนก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิต ต่างๆ โครงสร้างที่กล่าวถึงนี้จัดว่ามีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเราเรียกว่า เซลล์ (Cell) เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่าง หลายแบบแตกต่างกันตามหน้าที่โครงสร้างและส่วนประกอบของ เซลล์นั้นๆ 4. สาระการเรียนรู้ ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
  • 2. ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุดของเซลล์พืช ประกอบด้วยสสารพวกเซลลูโลส ทำาหน้าที่เสริมสร้างความแข็ง แรงให้แก่เซลล์พืช เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) เป็นเยื่อบางๆ ทำาหน้าที่ ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร เช่น นำ้า อากาศ และสารละลาย ต่างๆ ระหว่างภายนอกเซลล์กับภายในเซลล์ ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ที่ ไหลไปมาได้ มีออแกนเนลล์ปนอยู่ เช่น ไมโทคอนเดรีย เซลล์สัตว์จะมีรูปร่าง ลักษณะแตกต่างไปตามชนิดของ อวัยวะ แต่จะมีลักษณะร่วมกันในการทำางานของอวัยวะต่างๆ เกิด เป็นระบบการทำางานของร่างกาย ประกอบด้วย เยื่อหุ้มเซลล์ ไซ โทพลาซึม นิวเคลียส ซึ่งในเซลล์สัตว์จะไม่พบผนังเซลล์และคลอ โรพลาสต์ ตาราง แสดงความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์ โครงสร้าง ของเซลล์ เซล ล์พืช เซลล์ สัตว์ ผนังเซลล์   เยื่อหุ้มเซลล์   ไซโทพลาซึม   คลอโรพลาสต์   นิวเคลียส   5. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำา (10 นาที) 1. ครูให้นักเรียนร่วมกันตอบคำาถามเพื่อทบทวนความรู้เดิม เรื่องกล้องจุลทรรศน์ 2. ครูถามนักเรียนว่า “จากที่นักเรียนได้ทราบกันมาแล้วว่า เซลล์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างและส่วนประกอบที่แตกต่างกัน ”นักเรียนคิดว่าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะแตกต่างกันอย่างไร (เซลล์สัตว์มีรูปร่างกลมรี ไม่มีคลอโรพลาสต์ และคลอโรฟิลล์ ไม่มี ผนังเซลล์ ส่วนเซลล์พืชจะมีรูปร่างเหลี่ยม มีคลอโรพลาสต์และ คลอโรฟิลต์ มีผนังเซลล์) 3. ครูถามนักเรียนว่าเซลล์พืชสามารถสร้างอาหารเองได้ หรือไม่ เพราะเหตุใด (เซลล์พืชสามารถสร้างอาหารเองได้ เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์ ซึ่งภายในมีคลอโรฟิลล์ สำาหรับใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง) 4. ครูถามนักเรียนว่าเซลล์สัตว์สามารถสร้างอาหารเองได้ หรือไม่ (เซลล์สัตว์ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้)
  • 3. 3. ครูกล่าวว่า “ในคาบเรียนนี้เราจะมาทำากิจกรรมการ ”ทดลองในการเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ขั้นสอน (70 นาที) 1. ครูอธิบายขั้นตอนการทำากิจกรรมฝึกทักษะ 1.2 และ 1.3 ในหนังสือเรียน (หน้า 11-17) ดังนี้ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์พืช - หยดนำ้า 1 หยด บนสไลด์ - เลือกใบอ่อนของสาหร่างหางกระรอก 1 ใบ วางลงบนหยดนำ้า แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ (ระวังไม่ให้มีฟองอากาศ) - ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู โดยเลนส์ใกล้วัตถุกำาลังขยายตำ่าก่อน และเมื่อหาโฟกัสของภาพปรับชัดแล้วจึงเปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุที่มี กำาลังขยายเพิ่มขึ้น - บันทึกและวาดภาพผลการศึกษาสาหร่างหางกระรอก - ฉีกใบว่านกาบหอยให้แฉลบทางด้านหลังใบที่มีสีม่วง และใช้ มีดโกนตัดเยื่อบางๆ นำาไปวางบนสไลด์ และหยดนำ้าลงบนสไลด์ เล็กน้อย - ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู โดยเลนส์ใกล้วัตถุกำาลังขยายตำ่าก่อน และเมื่อหาโฟกัสของภาพปรับชัดแล้วจึงเปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุที่มี กำาลังขยายเพิ่มขึ้น - บันทึกและวาดภาพ ผลการศึกษาใบว่านกาบหอย 1.2 ส่วนประกอบของเซลล์สัตว์ - ใช้ไม้ที่พันสำาลี ถูบริเวณกระพุ้งแก้มเบาๆ - ป้ายสำาลีลงบนแผ่นสไลด์ - ทิ้งไม้พันสำาลีลงในนำ้ายาฆ่าเชื้อโรค - หยดสารละลายไอโอดีน แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ - ศึกษาลักษณะของเซลล์ ด้วยกล้องจุลทรรศน์ - บันทึกและวาดภาพรูปร่างของเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม 2. ครูแจกแผ่นสไลด์และกระจกปิดแผ่นสไลด์ให้นักเรียน กลุ่มละ 1 ชุด 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง พร้อมบันทึกผลการทดลอง 4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาสรุปผลการ ทดลองของกลุ่ม ขั้นสรุป (10 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการทดลอง เพื่อให้เป็นที่ เข้าใจตรงกัน 2. ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องส่วนประกอบของเซลล์มาล่วง หน้า เพื่อเตรียมตัวในคาบเรียนถัดไป (หน้า 19-20)
  • 4. 6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ - หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑ - ใบมีดโกน - ไม้ที่พันสำาลี - หลอดหยด - เยื่อบุข้างแก้ม - ใบว่านกาบหอย - นำ้ายาฆ่าเชื้อโรค - สาหร่ายหางกระรอก - สารละลาย ไอโอดีน - กล้องจุลทรรศน์ - แผ่นสไลด์และ กระจกปิดแผ่นสไลด์ 7. การวัดและประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ นักเรียน - การจดบันทึกลงในสมุดของนักเรียน
  • 5. 8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน) 1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ............................. .................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ 2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน / เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... ..................................................................................
  • 6. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ...................... 3. ผลที่เกิดขึ้น .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................... ............................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท ศก์สถานศึกษา ลงชื่อ...................................................วิชาการ
  • 7. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ...................... 3. ผลที่เกิดขึ้น .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................... ............................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท ศก์สถานศึกษา ลงชื่อ...................................................วิชาการ