SlideShare a Scribd company logo
1 of 82
ใบงานที่ 2
เรื่อง
ความหมายและความสาคัญของโครงงาน
Present by..
นางสาวนิราภรณ์ พัวศิริ เลขที่ 8
และ นางสาว วริศรา อัมพะเศวต เลขที่ 15
มัธยมศึกษาปีที่ 6/3
เสนอ
คุณครู นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
โรงเรียน ยุพราช วิทยาลัย
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาปีที่ 2557
ความหมายของโครงงาน
Meaning of Project
ความหมายของโครงงาน
โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ
ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือ
กระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้น
แนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
ค้นคว้า ดาเนินงานตามแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงานและการนาเสนอ
ผลงาน ซึ่งอาจทาเป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
โครงงาน คือ การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลายๆสิ่งที่
อยากรู้คาตอบให้ลึกซึ้ง หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ
วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน มีการวางแผนในการศึกษาอย่าง
ละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคาตอบใน
เรื่องนั้นๆ
ความหมายของโครงงาน (ต่อ)
คาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้
กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทากิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา
ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง
โครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและ
การประเมินผล
สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายโครงงานว่าเป็นการศึกษาค้นคว้า
ตามความสนใจ ความถนัด ตามความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงาน ซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว โดยนักเรียนเป็นผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า
ดาเนินการด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็น
เพียงผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น
เปรี่อง กิจรัตนี ให้ความหมายว่า โครงงานเป็นกิจกรรมของนักเรียนเองที่อาศัยกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ต้องมีการวางแผนการปฏิบัติอย่างชัดเจน ในการทากิจกรรมโครงงานนั้นก็ต้องอาศัย
เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ ในการปฏิบัติงาน ครูมีบทบาทในการอานวยความสะดวกเป็นที่
ปรึกษา และช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ในการทางานที่นักเรียนมาขอคาปรึกษา
ความสาคัญของโครงงาน
Important of Project
ความสาคัญของโครงงาน
ความสาคัญของโครงงานในแง่ของการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมเสริมตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น
พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) มีดังนี้
• ด้านนักเรียน
• ด้านโรงเรียน และครู – อาจารย์
• ด้านท้องถิ่น
1. ด้านนักเรียน ก่อให้เกิดคุณค่าต่างๆ ดังนี้
1.1 ช่วยสร้างความหวังใหม่ในการริเริ่มงาน ที่จะนาไปสู่อาชีพ และการศึกษาต่อ ที่ตนเองมีความถนัดและสนใจ
1.2 สร้างเสริมประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง ด้วยชีวิตจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอย่างซาบซึ้ง ในโครงงานที่สร้างสรรค์ขึ้นมา
1.3 ได้มีโอกาสทดสอบความถนัดของตนเอง และการแก้ปัญหาในการงานที่ตนเองสนใจและมีความพร้อม ส่งผลให้เกิดความมั่นใจ
ในการดาเนินงานต่อไป
1.4 ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ที่ได้สร้างเกียรติประวัติในโครงงานที่ได้ริเริ่มสร้างสรรค์
1.5 ก่อให้เกิดความรัก ความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีงามต่อกัน ระหว่างเพื่อนนักเรียนที่ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
1.6 ก่อให้เกิดความรู้ทางวิชาการที่กว้างขวางขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ได้รับความสาเร็จในการศึกษาตามหลักสูตร และตรงกับ
จุดหมายที่กาหนดไว้
ความสาคัญของโครงงาน (ต่อ)
2. ด้านโรงเรียน และ ครู-อาจารย์ ก่อให้เกิดคุณค่าต่าง ๆ ดังนี้
2.1 เกิดการประสานงานทางวิชาการที่ผสมผสาน หรือ บูรณการเกิดขึ้นใน โรงเรียน ตรง
กับหลักสูตรมัธยมศึกษา และแนวทางพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เกิดความเข้าใจที่ตรงกันว่า การเรียนการสอนในปัจจุบันขึ้นอยู่กับการฝึกปฏิบัติจริง
ในโครงงานของนักเรียนมากกว่าที่จะเรียนอยู่แต่ในห้องเรียนเท่านั้น
2.3 เกิดศูนย์รวมสื่อสารการเรียนการสอน หรือศูนย์วัสดุ – อุปกรณ์การสอนสาหรับใน
หมวดวิชาต่าง ๆ ในโรงเรียนได้ใช้ร่วมกัน ส่งผลให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกใช้สื่อการสอน
อย่างแท้จริงและหลากหลาย
2.4 เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน ครู – อาจารย์ผู้สอน และโรงเรียนอาจารย์ที่
มีโอกาสปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะช่องว่างที่
ต่างกัน
ความสาคัญของโครงงาน (ต่อ)
3. ด้านท้องถิ่น ก่อให้เกิดคุณค่าต่าง ๆ ดังนี้
3.1 การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานในเชิงปฏิบัติของโครงงาน ที่
ประสบผลสาเร็จไปสู่ท้องถิ่น ทาให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนมีความเข้าใจ และ
ประสานสัมพันธ์กันดียิ่ง
3.2 ช่วยลดปัญหาวันรุ่นในท้องถิ่นเกี่ยวกับความประพฤติ จรรยามารยาท และ
ศีลธรรม เพราะนักเรียนที่มีโครงงานมักจะเป็นนักเรียนที่มีความประพฤติดีมุ่งมั่น
และสนใจการศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น
3.3 ทาให้ประชาชนในท้องถิ่นมีพื้นฐานทางการศึกษาดี โดยเฉพาะงานอาชีพที่
หลากหลาย และการพัฒนาการศึกษา ที่มุ่งเน้นให้เยาวชนของชาติ มีนิสัยรักการ
ทางานไม่เป็นคนหยิบโหย่ง และช่วยเหลือพ่อแม่ผู้ปกครองด้วยดี
แหล่งอ้างอิง
• http://www4.srp.ac.th/~kitima/lesson/Project
/standard/p01.html
• http://www.gotoknow.org/posts/314096
• http://www.gotoknow.org/posts/314097
ใบงานที่ 3
เรื่อง
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์
เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา
มีองค์ประกอบดังนี้
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทาง
ทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็น
ภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเอง
ตามความถนัด สนใจ และความพร้อม
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล
รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้ง
การใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
ประเภทของโครงงาน
Kind of Project
ประเภทของโครงงาน
โครงงานวิทยาศาสตร์และโครงงานคณิตศาสตร์สามารถจาแนกประเภทออก
เป็น 2 ประเภทได้ดังต่อไปนี้
1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้
เป็นการใช้บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ทักษะและเป็นพื้นฐานในการกาหนดโครงงานและปฏิบัติ
2. โครงงานตามความสนใจ
เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกาหนดขั้นตอนความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใช้ทักษะความรู้
จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ มาบูรณาการเป็นโครงงานและปฏิบัติ
สามารถแบ่งได้ 4 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์ คือ
1. โครงงานประเภทการสารวจรวบรวมข้อมูล (Servey research project)
2. โครงงานประเภทการค้นคว้าทดลอง (Experimental research project)
3. โครงงานประเภทการศึกษาทฤษฎีหลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ (Theoretical research
project)
4. โครงงานประเภทการประดิษฐ์คิดค้น (Developmental research project or
invention project)
1. โครงงานประเภทการสารวจ รวบรวมข้อมูล
(Servey research project)
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใด
เรื่องหนึ่งจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรืออาจเป็นการสารวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากความ
อยากรู้อยากเห็น แล้วนาข้อมูลเหล่านั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ในรูปแบบที่เหมาะสม
แล้วนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบ
บันทึก ตาราง กราฟ แผนภูมิ และคาอธิบายประกอบ เป็นต้น เพื่อให้เห็นลักษณะหรือ
ความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน หรือนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนางาน
หรือดาเนินการพัฒนาปรับปรุงเพิ่มเติมผลงานและส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น
โดยข้อมูลนั้นอาจเคยมีผู้จัดทามาก่อนแต่ปัจจุบันได้มีการแปรเปลี่ยนไปแล้วต้องสารวจ
จัดทาขึ้นมาใหม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ในการทาโครงงานประเภทสารวจข้อมูล ไม่จาเป็นจะต้องมีตัวแปรเข้ามา
เกี่ยวข้อง นักเรียนเพียงแต่สารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดให้เป็น
หมวดหมู่และนาเสนอก็ถือว่าเป็นการสารวจรวบรวมข้อมูลแล้ว
1. โครงงานประเภทการสารวจ รวบรวมข้อมูล (ต่อ)
• การสารวจและรวบรวมข้อมูลอาจทาได้หลายรูปแบบแล้วแต่รายวิชานั้นๆ เช่น
• สารวจคาราชาศัพท์ ในวิชาภาษาไทย
• สารวจชื่อพืชเศรษฐกิจของจังหวัดที่นักเรียนอยู่ ในวิชาสังคมศึกษา
• สารวจคาศัพท์ ในวิชาภาษาอังกฤษ
• สารวจชนิดของกีฬาท้องถิ่น ในวิชาพลศึกษา
• สารวจสารเคมีภายในบ้าน ในวิชาวิทยาศาสตร์
• สารวจวิธีบวกเลขที่ชาวบ้านนิยมใช้ ในวิชาคณิตศาสตร์
• โครงงานสารวจวัสดุอุปกรณ์ในชุมชน ในวิชาสังคมศึกษา
• การสารวจราคาผลผลิตเกษตรในท้องถิ่น ในวิชาคณิตศาสตร์
• การสารวจราคาสินค้าอุปโภคบริโภคในท้องถิ่น ในวิชาคณิตศาสตร์
• โครงงานสารวจสถานประกอบการช่างในชุมชน ในวิชาสังคมศึกษา
• การสารวจมลภาวะในชุมชน ในวิชาวิทยาศาสตร์
2. โครงงานประเภทการค้นคว้า ทดลอง
(Experimental research project)
เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ
ด้วยการเปรียบเทียบสิ่งสองสิ่ง (หรือมากกว่า) หรือวิธีการทางาน สองวิธี(หรือ
มากกว่า) โดยดาเนินการทดลองหรือพิสูจน์ความจริงตามหลักวิชาการอย่าง
เป็นเหตุเป็นผล หรือค้นหาข้อเท็จจริงในสิ่งที่ต้องการรู้หรือหาคาตอบของ
ปัญหา เป็นการศึกษาที่เกิดจากปัญหาต้องการรู้ถึงผลของการเปรียบเทียบหา
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล แล้วนาผลที่ได้แต่ละอย่างมาเปรียบเทียบ
กัน การทาโครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องมีการกาหนดรูปแบบในการทดลอง
โดยออกแบบในรูปผลการทดลอง เพื่อศึกษาตัวแปรหนึ่งจะมีผลต่ออีกตัวแปรที่
ต้องการศึกษาอย่างไร ด้วยการควบคุมตัวแปร โดยกาหนดตัวแปรต่างๆ ไว้ให้
ชัดเจนเพื่อจะปฏิบัติการได้ถูกต้อง ศึกษาค้นคว้าและทดลอง เพื่อนาผลที่ได้มา
ยืนยันหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2. โครงงานประเภทการค้นคว้า ทดลอง (ต่อ)
ขั้นตอนการดาเนินงานประกอบด้วย การกาหนดปัญหา การตั้งวัตถุประสงค์หรือสมมุติฐาน การออกแบบ
ทดลอง การรวบรวมข้อมูล การดาเนินการทดลอง การแปรผล และสรุปผลการทดลอง เป็นการศึกษาโดยเฉพาะ เป็น
โครงงานที่เกิดขึ้นเพื่อยืนยันทฤษฎีหรือหลักการ เช่น
• โครงงานปลูกผักลอยฟ้ าไร้สารพิษ
• โครงงานศึกษาสูตรอาหารไก่ตอน
• โครงงานการศึกษาขนมอบชนิดต่างๆ
• โครงงานทดลองปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
• โครงงานการใช้ฮอร์โมนกับกิ่งกุหลาบ
• โครงงานศึกษาวัสดุก่อสร้างประเภทไม้
• โครงงานการยืดอายุของกุหลาบตัดดอก
• โครงงานสารในพืชชนิดใดใช้ฆ่าแมลงสาบ
• โครงงานศึกษาสูตรน้ายากัดกระจกจากผลไม้
• โครงงานการศึกษาเครื่องดื่มที่ผลิตจากผลไม้
3. โครงงานประเภทการศึกษาทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ๆ
(Theoretical research project)
เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้หรือหลักการใหม่ๆ
เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครเคยคิดหรือขัดแย้ง หรือขยายจาก
ของเดิมที่มีอยู่ ซึ่งต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการก่อน เป็นโครงงานที่
เกิดจากปัญหาความต้องการทฤษฎีใหม่ๆ หลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ มาใช้
ประโยชน์ในโอกาสอื่นๆ จึงดาเนินการสร้างทฤษฎีใหม่ๆขึ้น โดยอาศัย
ทฤษฎี หลักการ หลักการทางวิทยาศาสตร์ หรือทฤษฎีอื่นๆ ตลอดจน
ข้อมูลอื่นๆ สนับสนุนโครงงานประเภทนี้
3. โครงงานประเภทการศึกษาทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ๆ (ต่อ)
เป็นโครงงานทางคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ เช่น
• การเกษตรทฤษฎีใหม่
• การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์
• การผลิตแท่งเชื่อเพลิงเขียว
• ความมหัศจรรย์ของเลข 9
• คณิตคิดลัด
• เกษตรผสมผสาน
4. โครงงานประเภทการประดิษฐ์ คิดค้น
(Developmental research project or
invention project)
เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์คือ การนาความรู้ ทฤษฎี หลักการมา
ประยุกต์ใช้ อาจเป็นโครงงานที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ขึ้นใหม่หรือ
หลังจากที่ได้ศึกษาทฤษฎีหรือพบเห็นผลงานของผู้อื่นแล้วต้องการพัฒนา
ผลงานนั้น จึงทาการดัดแปลง สร้างแบบจาลองขึ้นเพื่ออธิบายแนวคิด
บางอย่าง หรือประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ แล้ว
ศึกษาคุณภาพหาประสิทธิภาพและอายุการใช้งาน ซึ่งอาจเป็นการ
ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้นก็ได้
4. โครงงานประเภทการประดิษฐ์ คิดค้น (ต่อ)
ตัวอย่างของโครงงานประเภทการประดิษฐ์ เช่น
• ถังขยะจากยางรถยนต์
• ผลิตภัณฑ์กระดาษสา
• แบบจาลองพัดลมไอน้า
• กระดาษจากว่านหางจระเข้
• โครงงานประดิษฐ์โคมไฟฟ้ า
• กระถางต้นไม้จากกระดาษใช้แล้ว
• น้ายาบ้วนปากจากสมุนไพรธรรมชาติ
• ดอกไม้ประดิษฐ์จากใบไม้ประเภทต่างๆ
• โครงงานการสร้างแบบจาลองบ้านประหยัดไฟ
• โครงงานประดิษฐ์สิ่งของประดับบ้านด้วยไม้ไผ่
หากไม่มีการกาหนดหรือบังคับของครูประจาวิชาว่าจะต้องทาโครงงาน
ประเภทใด ก็สามารถเลือกรูปแบบใดก็ได้ตามความสนใจและสามารถทา
ไหว เพราะแต่ละแบบมีความยากง่ายแตกต่างกัน หากไม่ชอบนั่งจดบันทึก
เก็บข้อมูลทุกวัน อาจจะเลือกทาสิ่งประดิษฐ์หรือทดลอง เป็นต้น
แหล่งอ้างอิง
• http://www.gotoknow.org/posts/314100
• http://www.vcharkarn.com/project/article/56
767
ใบงานที่ 4
เรื่อง
โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ความหมายของโครงงานประเภท
“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ความหมายของโครงงานประเภท
“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้าง
โปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและ
คาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง
อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ
โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการ
พัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล
โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภท
“การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์
ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน
ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียน
สามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ
ออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถ
พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่
เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น
การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชา
กิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการสร้าง
โปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บท
ทบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือ
รายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์
การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษา
ด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนใน
วิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา
สื่อเพื่อการศึกษา เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล หลัก
ภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนา
เว็บไซต์ วิถีชีวิตของคนไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรม ความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรมสานวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออก
เสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้คณิตศาสตร์
ตัวอย่าง
“โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
Examples for Educational
Media Project
1. โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก
ผู้พัฒนา : นางสาว อัญชลี เตมีประเสริฐกิจ
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ชนารัตน์ คาอ่อน
สถานศึกษา : โรงเรียนระยองวิทยาคม
2. โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ผู้พัฒนา : นายเทพ รัตนเรืองจารูญ และนายพงศกร พันธุ์พงษ์สิทธิ์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์สโรชา สายเนตร
สถานศึกษา : ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ
3. โปรแกรมสนุกไปกับตารางธาตุ
ผู้พัฒนา: เด็กหญิงวริศรา พรหมมณี และเด็กหญิงกมลวรรณ ทองงาน
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ทัศนีย์ ระลึกมูล
สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จ.พิษณุโลก
4. โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
ผู้พัฒนา : เด็กหญิงวรรณรวัส ยินดีเดช
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ศรา หรูจิตตวิวัฒน์
สถานศึกษา : โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ กรุงเทพฯ
5.โปรแกรมสานวนไทยพาสนุก
ผู้พัฒนา : เด็กหญิงจิราพร แจ้งไพร และเด็กหญิงกนิษฐา สุริเมือง
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์วิรุบล จันตา
สถานศึกษา : โรงเรียนภัทรวิทยา จ.ตาก
แหล่งอ้างอิง
• http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog-
post.html
• http://st.mengrai.ac.th/users/9134/u1.doc
• http://www.thaigoodview.com/node/17030?p
age=0%2C7
• http://www.rayongwit.ac.th/chanarat/unit1/u
nit1-3.html
• http://tc.mengrai.ac.th/kruyuy
ใบงานที่ 5
เรื่อง
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ความหมายของโครงงาน
ประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ความหมายของโครงงาน
ประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาดดยการ
สร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะมีแบบฝึกหัด คาถาม
คาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือกลุ่มการสอนโดย
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งอาจพัฒนาในรูปบทเรียนออนไลน์ให้ผู้เรียนเข้า
มาศึกษาด้วยตัวเอง โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้
ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก
มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การ
เคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชา
กิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น
ตัวอย่างชื่อโครงงาน
• โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย
• โปรแกรมอ่านอักษรไทย
• โปรแกรมวาดภาพสามมิติ
• โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล
• โปรแกรมบีบอัดข้อมูล
• โปรแกรมประมวลผลคาไทยบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
• โปรแกรมการออกแบบผังงาน
• พอร์ตแบบขนานของไทย
• การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่าง
“โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
Examples for Educational Media
Project
• โครงงานโปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน
• โครงงานระบบสุริยะจักรวาล
• โครงงานโปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่างๆ
• โครงงานสถานที่สาคัญของประเทศไทย
• โครงงานหลักภาษาไทย
แหล่งอ้างอิง
http://blog.eduzones.com/lipatar/85915
ใบงานที่ 6
เรื่อง
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ความหมายโครงงาน
ประเภท “การทดลองทฤษฎี”
ความหมาย
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ
ทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด
เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ
อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ
สูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่
ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงาน
ประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลอง
ทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และ
การทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
ตัวอย่าง
โครงงานประเภท
การทดลองทฤษฎี
เลขทะเบียน คง 2543 ต002
โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2543
เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กาหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH
จานวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่
อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดาเนินการทดลองคือ ทาการวัดระดับความ
ดังของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่าง
ระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน ทาการบันทึก แล้วนาความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้
ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทาการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟจากผลการทดลอง
พบว่า เครื่องมือดังกล่าวสามารถทางานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทาการ
ดับไฟ และไม่มีเสียงดังเกินค่าที่ตั้งไว้เครื่องมือก็จะทาการปิดไฟได้อย่างถูกต้องโดยอาจมีความ
ผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออดระหว่างคาบเรียน
หัวเรื่อง สวิทซ์
ไฟฟ้า
เลขทะเบียน คง 2542 ต041
โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2542
เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 1 กาหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่อง MOTER SPRAYER IV
จานวนหน้า 31 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือในการทา
การเกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทาการทดลอง ได้แก่ Motor Sprayer IV ซึ่งเป็นเครื่องมือทาสเปรย์ที่ใช้
ในการพ่นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกาจัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการ
พัฒนามาจาก Motor Sprayer 3 ซึ่ง Motor Sprayer 3 ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์
ทาให้เกษตรกรต้องแบกเป็นเวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อMotor ส่วนท้ายชารุดจะมีผล
ทาให้ Motor หมุนช้าลงและละอองน้ายาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่สม่าเสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดย
การเพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยงแรงดันไฟเพียง 4.8 โวลต์ เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความ
เข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อลดการใช้พลังงานพลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อ
ลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้ายาลงทาให้ปริมาณยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัว
ของยาที่ฉีดพ่น ลดขนาดถังน้ายาและใช้แบตเตอรี่เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม สรุปแล้วพบว่า
เครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทาการปรับปรุงนี้สามารถใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่น
ก่อนเป็นอย่างมาก
หัวเรื่อง มอเตอร์
sprayer
เลขทะเบียน คง 2549 ป057
โรงเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญลาปาง จังหวัดลาปาง 2549
เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ภาคเหนือตอนบน
ชื่อเรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง)
จานวนหน้า 19 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนาหลักการทางด้าน
วิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อเป็นการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่ง
ขั้นตอนการทาก็เริ่มจากดาเนินการศึกษาจากอุปกรณ์จริง คือ เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการทางาน
อย่างไร ผลที่ได้คือ หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของวัตถุนั้น
ออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการสะท้อน และถ้าเรานาฉากไปรับสามารถเกิดภาพได้ จึงนาหลักการดังกล่าว
มาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการประดิษฐ์เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัวกลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบ
แผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉากเพื่อให้ได้ภาพหัวตั้ง จากการนาโครงงานทาให้เราสามารถผลิตสื่ออุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและมี
คุณสมบัติที่สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทาต้องการศึกษา และได้ทาการทดลองใช้งานพร้อมกับทาการทดลองหาความ
ชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ และขนาดเลนส์ที่ใหญ่เราก็จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากกว่า
การใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วยด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่
เราใช้ต้องมีน้อย นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้นการผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็
เป็นการที่สามารถทาให้เกิดแนวทางในการนาไปพัฒนาในต่อๆ ไปมากขึ้น
หัวเรื่อง เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง
VIisualizer
เลขทะเบียน คง 2545 ต064
โรงเรียน โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2545
เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ภาคเหนือตอนบน
ชื่อเรื่อง Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อนภายในบ้าน
จานวนหน้า 22 หน้า : ภาพประกอบ
สาระสังเขป ทางคณะผู้จัดทาได้แนวคิดที่จะลดขยะโดยนามาทาเป็นกระดาษบุผนังหรือWallpaper ซึ่งสามารถดูดความ
ร้อนได้จึงแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 นาชานอ้อยมาทาWallpaper ขั้นแรกเติมโซดาไฟเพื่อให้
ชานอ้อยนิ่ม นาไปต้มเพื่อให้แยกออกเป็นเส้นๆ หลังจากนั้นบดให้ละเอียด และนาเยื่อของชานอ้อยที่ได้ไปตากแห้ง
ให้เป็นแผ่น และทาแชลแลคในขั้นตอนสุดท้ายเพื่อความแข็งทนทานและเป็นมันวาว ตอนที่ 2 ทาบ้านจาลองโดยใช้
กล่อง 2 ใบซึ่งมีขนาดและความหนาเท่ากันและติด Wallpaperจากชานอ้อย หนึ่งใบ วัดอุณหภูมิของกล่องทั้ง
สองใบ จากการทดลองตอนที่ 1 พบว่า เยื่อของชานอ้อยสามารถเกาะติดกันเป็นแผ่นเดียวกัน แต่ไม่สวยสมบูรณ์มาก
นักเนื่องจากการทดลองครั้งนี้ทาเพื่อให้เห็นถึงการยึดเกาะของเยื่อจากชานอ้อย แต่ไม่ได้พิถีพิถันตกแต่งให้เกิดความ
สวยงาม และตอนที่ 2พบว่า กล่องที่ติด Wallpaper จากชานอ้อยจะมีอุณหภูมิต่ากว่ากล่องที่ไม่
ติด Wallpaper สรุปได้ว่าเยื่อของชานอ้อยมีคุณสมบัติในการดูดความร้อนได้จริง
หัวเรื่อง การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
ชานอ้อย
เลขทะเบียน คง 2546 ป106
โรงเรียน โรงเรียนนิยมศิลป์ อนุสรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 2546
เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่อง My Injet
จานวนหน้า 32 หน้า : ภาพประกอบ
สาระสังเขป ศึกการนาส่วนต่างๆของพืชที่ให้สีต่างกัน มาผสมตามหลักทฤษฎีสีเพื่อให้เกิดสีดา โดยทดลองเปรียบเทียบวิธี
สกัดสีจากพืช พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือการสกัดด้วยเมธานอล จากนั้นสกัดสีจากส่วนต่างๆของพืช โดยสี
แดงสกัดได้จากใบประดับเฟื่องฟ้ า สีเหลืองได้จากขมิ้น และสีน้าเงินได้จากดอกอัญชัน นาน้าสีที่สกัดได้ไปอบ
ด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ตัวสีที่เข้มข้น จากนั้นนาตัวสีแต่ละสีมา 0.5 กรัม นา
แต่ละสีไปผสมน้าอย่างละ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในอัตราส่วนระหว่าง สีแดง : สีเหลือง : สีน้าเงิน เท่ากับ 3 : 1 :
4 จะได้สีดาที่สุดแล้วนาไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เมื่อได้สารสีดาที่เข้มข้นแล้ว
นาไปผสมเอทานอล 50% ที่อัตราส่วนคือ หมึก 1 กรัม : เอทานอล 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นเติมน้ายาล้าง
จาน 0.1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อลดแรงตึงผิว แล้วนาไปปั่นให้ตกตะกอน 3 ครั้ง นาหมึกบรรจุในคาร์ทริดจ์แล้ว
สั่งพิมพ์ พบว่าสามารถพิมพ์ได้แต่สีดายังดาไม่สนิท เนื่องจากเป็นสีจากธรรมชาติจึงไม่เข้มเหมือนกับหมึก
สังเคราะห์
หัวเรื่อง หมึกพิมพ์
ขั้นตอนการทาโครงงาน
การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้
๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่า
อยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือ
ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและ
ชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัวเรื่อง
ของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จาก
การอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชม
นิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกต
ปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
- ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
- วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
- งบประมาณ
- ระยะเวลา
- ความปลอดภัย
- แหล่งความรู้
๒ การวางแผน
การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การ
ดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อน
ดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน
ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน
๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไร มี
หลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร
เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทา
ได้ชัดเจนขึ้น
๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูก
หรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทาง
ในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูล
อะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑๐) เอกสารอ้างอิง
๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลง
มือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และ
สถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน
ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายาม
บันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน
๔ การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด
วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงาน
ควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
๕ การนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอ
ผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของ
ผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัด
นิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่ง
สาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความ
ถูกต้องของเนื้อหา
การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษา
ค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุก
โครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน
องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย
๑) ชื่อโครงงาน
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา
๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
๔) คานา
๕) สารบัญ
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา
ระยะเวลา และ
สรุปผล
๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมี
ส่วนเกี่ยวข้อง
๒. ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน
๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรง
ตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผัง
โครงงานต่อไปนี้
ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่
ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้ง
บอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธี
การศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถาม
ล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่
บุคคล
๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่า
เป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่
๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี)
พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
๓. ส่วนท้าย
ส่วนท้าย ประกอบด้วย
๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ
ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น
หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์
บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี.
คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน
เดือน ปี. หน้า.
๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์
ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด
คือ
• ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ
• ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น
• ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป
• ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผล
แทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป
แหล่งอ้างอิง
เนื้อหา
• http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7
• http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0
• http://www.prc.ac.th/SBM/p2.htm
ตัวอย่างโครงงานทดลอง
• http://scienceproject.makewebeasy.com/customize-
%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%
B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B
8%A0%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0
%B8%87-42696-1.html
ใบงานที่ 7
เรื่อง
โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ความหมาย
โครงงานประเภท
การประยุกต์ใช้งาน
ความหมาย
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็น
โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน
อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับ
การผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการ
ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของ
ขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพ
สูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้ว
นาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ
ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความ
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษา
โปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่าง
โครงงานประเภท
การประยุกต์ใช้งาน
ตัวอย่างโครงงาน 1
ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทา
โครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ
hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern)
ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบน recording
medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3
มิติได้
จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการแทรกสอด
และเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะสามารถคานวณรูปแบบ
การแทรกสอดบน recording medium, นั้นได้จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เราคานวณได้ด้วยวิธี Laser
writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่ง hologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer Generated
Hologram (CGH)
การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคานวณ Interference
pattern และการ lithography เพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ในการบังคับ
ลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทาเป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนาประยุกต์ใช้งาน
เป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS System หรือการทา Holographic Solar
Concentrator เป็นต้น
ตัวอย่างโครงงาน 2
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย
สรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข
สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551
บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using
Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและ
ค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้
ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้
มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการ
ซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ระบบจะทาการแจ้งเตือน
เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนาข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า
จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้โดยระบบนี้จะแบ่งการทางานออกเป็น
ส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดง
รายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนดยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ
และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้น
ตรงกับราคาที่ต้องชาระจริงซึ่งจะอานวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้
ตัวอย่างโครงงาน 3
ชื่อโครงงาน การ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์The
Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อ
ประยุกต์การใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล , นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.สโรช ไทรเมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/
เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของวัตถุที่
เราสนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึงข้อมูลต่างๆ
อันได้แก่ ตาแหน่ง ตาแหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกาลังถูกพัฒนาให้สามารถทางานได้ตาม
ดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้แต่ยังไม่สามารถระบุตาแหน่งที่ชัดเจนได้
เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จาเป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมีมากกว่า 1 ส่วนที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วน
หนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้า อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลัง เป็นต้น
This software is a work developed for study the
movement of object by input video file from a
standing video recorder. It will work by analyze
position, coordinating system, velocity and rotation.
We have developed this program until this program
can detect the different in 2 or more images. But it is
not totally work for detect a right position, because
an object may have some part move freely from
others, for example, some moves forward while the
other moves backward.
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8

More Related Content

What's hot

ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ฟาน. ฟฟฟ
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมporpia
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานAusa Suradech
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
กุลนันท์
กุลนันท์กุลนันท์
กุลนันท์Fary Love
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 Fary Love
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2mathitopanam
 

What's hot (18)

ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
กุลนันท์
กุลนันท์กุลนันท์
กุลนันท์
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
K3
K3K3
K3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 

Similar to ใบงานที่2-8

ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3Mashmallow Korn
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)Nothern Eez
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Opp Phurinat
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Singto Theethat
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทNong Max Z Kamilia
 
ใบงานคอมม
ใบงานคอมมใบงานคอมม
ใบงานคอมมkonosor
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1ohmzariffer
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 

Similar to ใบงานที่2-8 (20)

ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภท
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Com 2-8
Com 2-8Com 2-8
Com 2-8
 
ใบงานคอมม
ใบงานคอมมใบงานคอมม
ใบงานคอมม
 
ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 

More from Niraporn Pousiri

โครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้ง
โครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้งโครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้ง
โครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้งNiraporn Pousiri
 
โครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำ
โครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำโครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำ
โครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำNiraporn Pousiri
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์Niraporn Pousiri
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษ
ข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษ
ข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษNiraporn Pousiri
 
เฉลยสังคม 7 วิชาสามัญ
เฉลยสังคม 7 วิชาสามัญเฉลยสังคม 7 วิชาสามัญ
เฉลยสังคม 7 วิชาสามัญNiraporn Pousiri
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยNiraporn Pousiri
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsNiraporn Pousiri
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยNiraporn Pousiri
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตNiraporn Pousiri
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษNiraporn Pousiri
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคมNiraporn Pousiri
 

More from Niraporn Pousiri (16)

โครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้ง
โครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้งโครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้ง
โครงงานผมดกดำกลับมาอีกครั้ง
 
โครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำ
โครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำโครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำ
โครงงานคอมสมุนไพรบำรุงผมให้ดกดำ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
ข้อสอบพร้อมเฉลยฟิสิกส์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษ
ข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษ
ข้อสอบพร้อมเฉลยภาษาอังกฤษ
 
เฉลยสังคม 7 วิชาสามัญ
เฉลยสังคม 7 วิชาสามัญเฉลยสังคม 7 วิชาสามัญ
เฉลยสังคม 7 วิชาสามัญ
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลยคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ พร้อมเฉลย
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
วิชาเคมี
วิชาเคมีวิชาเคมี
วิชาเคมี
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
 
Biology เฉลย
Biology เฉลยBiology เฉลย
Biology เฉลย
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 

ใบงานที่2-8

  • 2. Present by.. นางสาวนิราภรณ์ พัวศิริ เลขที่ 8 และ นางสาว วริศรา อัมพะเศวต เลขที่ 15 มัธยมศึกษาปีที่ 6/3 เสนอ คุณครู นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โรงเรียน ยุพราช วิทยาลัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาปีที่ 2557
  • 4. ความหมายของโครงงาน โครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทาการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือ กระบวนการอื่นๆ ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้น แนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินงานตามแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงานและการนาเสนอ ผลงาน ซึ่งอาจทาเป็นบุคคลหรือเป็นกลุ่ม โครงงาน คือ การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลายๆสิ่งที่ อยากรู้คาตอบให้ลึกซึ้ง หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน มีการวางแผนในการศึกษาอย่าง ละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นคาตอบใน เรื่องนั้นๆ
  • 5. ความหมายของโครงงาน (ต่อ) คาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทากิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง โครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและ การประเมินผล สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ความหมายโครงงานว่าเป็นการศึกษาค้นคว้า ตามความสนใจ ความถนัด ตามความสามารถของผู้เรียนเอง ภายใต้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบหรือผลงาน ซึ่งมีความสมบูรณ์ในตัว โดยนักเรียนเป็นผู้วางแผนการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็น เพียงผู้ให้คาปรึกษาเท่านั้น เปรี่อง กิจรัตนี ให้ความหมายว่า โครงงานเป็นกิจกรรมของนักเรียนเองที่อาศัยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ต้องมีการวางแผนการปฏิบัติอย่างชัดเจน ในการทากิจกรรมโครงงานนั้นก็ต้องอาศัย เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ ในการปฏิบัติงาน ครูมีบทบาทในการอานวยความสะดวกเป็นที่ ปรึกษา และช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ในการทางานที่นักเรียนมาขอคาปรึกษา
  • 7. ความสาคัญของโครงงาน ความสาคัญของโครงงานในแง่ของการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมเสริมตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) มีดังนี้ • ด้านนักเรียน • ด้านโรงเรียน และครู – อาจารย์ • ด้านท้องถิ่น 1. ด้านนักเรียน ก่อให้เกิดคุณค่าต่างๆ ดังนี้ 1.1 ช่วยสร้างความหวังใหม่ในการริเริ่มงาน ที่จะนาไปสู่อาชีพ และการศึกษาต่อ ที่ตนเองมีความถนัดและสนใจ 1.2 สร้างเสริมประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง ด้วยชีวิตจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอย่างซาบซึ้ง ในโครงงานที่สร้างสรรค์ขึ้นมา 1.3 ได้มีโอกาสทดสอบความถนัดของตนเอง และการแก้ปัญหาในการงานที่ตนเองสนใจและมีความพร้อม ส่งผลให้เกิดความมั่นใจ ในการดาเนินงานต่อไป 1.4 ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ที่ได้สร้างเกียรติประวัติในโครงงานที่ได้ริเริ่มสร้างสรรค์ 1.5 ก่อให้เกิดความรัก ความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีงามต่อกัน ระหว่างเพื่อนนักเรียนที่ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม 1.6 ก่อให้เกิดความรู้ทางวิชาการที่กว้างขวางขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ได้รับความสาเร็จในการศึกษาตามหลักสูตร และตรงกับ จุดหมายที่กาหนดไว้
  • 8. ความสาคัญของโครงงาน (ต่อ) 2. ด้านโรงเรียน และ ครู-อาจารย์ ก่อให้เกิดคุณค่าต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 เกิดการประสานงานทางวิชาการที่ผสมผสาน หรือ บูรณการเกิดขึ้นใน โรงเรียน ตรง กับหลักสูตรมัธยมศึกษา และแนวทางพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 2.2 เกิดความเข้าใจที่ตรงกันว่า การเรียนการสอนในปัจจุบันขึ้นอยู่กับการฝึกปฏิบัติจริง ในโครงงานของนักเรียนมากกว่าที่จะเรียนอยู่แต่ในห้องเรียนเท่านั้น 2.3 เกิดศูนย์รวมสื่อสารการเรียนการสอน หรือศูนย์วัสดุ – อุปกรณ์การสอนสาหรับใน หมวดวิชาต่าง ๆ ในโรงเรียนได้ใช้ร่วมกัน ส่งผลให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกใช้สื่อการสอน อย่างแท้จริงและหลากหลาย 2.4 เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน ครู – อาจารย์ผู้สอน และโรงเรียนอาจารย์ที่ มีโอกาสปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะช่องว่างที่ ต่างกัน
  • 9. ความสาคัญของโครงงาน (ต่อ) 3. ด้านท้องถิ่น ก่อให้เกิดคุณค่าต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานในเชิงปฏิบัติของโครงงาน ที่ ประสบผลสาเร็จไปสู่ท้องถิ่น ทาให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนมีความเข้าใจ และ ประสานสัมพันธ์กันดียิ่ง 3.2 ช่วยลดปัญหาวันรุ่นในท้องถิ่นเกี่ยวกับความประพฤติ จรรยามารยาท และ ศีลธรรม เพราะนักเรียนที่มีโครงงานมักจะเป็นนักเรียนที่มีความประพฤติดีมุ่งมั่น และสนใจการศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น 3.3 ทาให้ประชาชนในท้องถิ่นมีพื้นฐานทางการศึกษาดี โดยเฉพาะงานอาชีพที่ หลากหลาย และการพัฒนาการศึกษา ที่มุ่งเน้นให้เยาวชนของชาติ มีนิสัยรักการ ทางานไม่เป็นคนหยิบโหย่ง และช่วยเหลือพ่อแม่ผู้ปกครองด้วยดี
  • 13. ขอบข่ายของโครงงาน ขอบข่ายของโครงงานดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา มีองค์ประกอบดังนี้ 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทาง ทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็น ภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้ง การใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
  • 15. ประเภทของโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์และโครงงานคณิตศาสตร์สามารถจาแนกประเภทออก เป็น 2 ประเภทได้ดังต่อไปนี้ 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นการใช้บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ทักษะและเป็นพื้นฐานในการกาหนดโครงงานและปฏิบัติ 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกาหนดขั้นตอนความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใช้ทักษะความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ มาบูรณาการเป็นโครงงานและปฏิบัติ สามารถแบ่งได้ 4 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์ คือ 1. โครงงานประเภทการสารวจรวบรวมข้อมูล (Servey research project) 2. โครงงานประเภทการค้นคว้าทดลอง (Experimental research project) 3. โครงงานประเภทการศึกษาทฤษฎีหลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ (Theoretical research project) 4. โครงงานประเภทการประดิษฐ์คิดค้น (Developmental research project or invention project)
  • 16. 1. โครงงานประเภทการสารวจ รวบรวมข้อมูล (Servey research project) โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใด เรื่องหนึ่งจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรืออาจเป็นการสารวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากความ อยากรู้อยากเห็น แล้วนาข้อมูลเหล่านั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ในรูปแบบที่เหมาะสม แล้วนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบ บันทึก ตาราง กราฟ แผนภูมิ และคาอธิบายประกอบ เป็นต้น เพื่อให้เห็นลักษณะหรือ ความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน หรือนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนางาน หรือดาเนินการพัฒนาปรับปรุงเพิ่มเติมผลงานและส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น โดยข้อมูลนั้นอาจเคยมีผู้จัดทามาก่อนแต่ปัจจุบันได้มีการแปรเปลี่ยนไปแล้วต้องสารวจ จัดทาขึ้นมาใหม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ในการทาโครงงานประเภทสารวจข้อมูล ไม่จาเป็นจะต้องมีตัวแปรเข้ามา เกี่ยวข้อง นักเรียนเพียงแต่สารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดให้เป็น หมวดหมู่และนาเสนอก็ถือว่าเป็นการสารวจรวบรวมข้อมูลแล้ว
  • 17. 1. โครงงานประเภทการสารวจ รวบรวมข้อมูล (ต่อ) • การสารวจและรวบรวมข้อมูลอาจทาได้หลายรูปแบบแล้วแต่รายวิชานั้นๆ เช่น • สารวจคาราชาศัพท์ ในวิชาภาษาไทย • สารวจชื่อพืชเศรษฐกิจของจังหวัดที่นักเรียนอยู่ ในวิชาสังคมศึกษา • สารวจคาศัพท์ ในวิชาภาษาอังกฤษ • สารวจชนิดของกีฬาท้องถิ่น ในวิชาพลศึกษา • สารวจสารเคมีภายในบ้าน ในวิชาวิทยาศาสตร์ • สารวจวิธีบวกเลขที่ชาวบ้านนิยมใช้ ในวิชาคณิตศาสตร์ • โครงงานสารวจวัสดุอุปกรณ์ในชุมชน ในวิชาสังคมศึกษา • การสารวจราคาผลผลิตเกษตรในท้องถิ่น ในวิชาคณิตศาสตร์ • การสารวจราคาสินค้าอุปโภคบริโภคในท้องถิ่น ในวิชาคณิตศาสตร์ • โครงงานสารวจสถานประกอบการช่างในชุมชน ในวิชาสังคมศึกษา • การสารวจมลภาวะในชุมชน ในวิชาวิทยาศาสตร์
  • 18. 2. โครงงานประเภทการค้นคว้า ทดลอง (Experimental research project) เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ด้วยการเปรียบเทียบสิ่งสองสิ่ง (หรือมากกว่า) หรือวิธีการทางาน สองวิธี(หรือ มากกว่า) โดยดาเนินการทดลองหรือพิสูจน์ความจริงตามหลักวิชาการอย่าง เป็นเหตุเป็นผล หรือค้นหาข้อเท็จจริงในสิ่งที่ต้องการรู้หรือหาคาตอบของ ปัญหา เป็นการศึกษาที่เกิดจากปัญหาต้องการรู้ถึงผลของการเปรียบเทียบหา ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล แล้วนาผลที่ได้แต่ละอย่างมาเปรียบเทียบ กัน การทาโครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องมีการกาหนดรูปแบบในการทดลอง โดยออกแบบในรูปผลการทดลอง เพื่อศึกษาตัวแปรหนึ่งจะมีผลต่ออีกตัวแปรที่ ต้องการศึกษาอย่างไร ด้วยการควบคุมตัวแปร โดยกาหนดตัวแปรต่างๆ ไว้ให้ ชัดเจนเพื่อจะปฏิบัติการได้ถูกต้อง ศึกษาค้นคว้าและทดลอง เพื่อนาผลที่ได้มา ยืนยันหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
  • 19. 2. โครงงานประเภทการค้นคว้า ทดลอง (ต่อ) ขั้นตอนการดาเนินงานประกอบด้วย การกาหนดปัญหา การตั้งวัตถุประสงค์หรือสมมุติฐาน การออกแบบ ทดลอง การรวบรวมข้อมูล การดาเนินการทดลอง การแปรผล และสรุปผลการทดลอง เป็นการศึกษาโดยเฉพาะ เป็น โครงงานที่เกิดขึ้นเพื่อยืนยันทฤษฎีหรือหลักการ เช่น • โครงงานปลูกผักลอยฟ้ าไร้สารพิษ • โครงงานศึกษาสูตรอาหารไก่ตอน • โครงงานการศึกษาขนมอบชนิดต่างๆ • โครงงานทดลองปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน • โครงงานการใช้ฮอร์โมนกับกิ่งกุหลาบ • โครงงานศึกษาวัสดุก่อสร้างประเภทไม้ • โครงงานการยืดอายุของกุหลาบตัดดอก • โครงงานสารในพืชชนิดใดใช้ฆ่าแมลงสาบ • โครงงานศึกษาสูตรน้ายากัดกระจกจากผลไม้ • โครงงานการศึกษาเครื่องดื่มที่ผลิตจากผลไม้
  • 20. 3. โครงงานประเภทการศึกษาทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ๆ (Theoretical research project) เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้หรือหลักการใหม่ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครเคยคิดหรือขัดแย้ง หรือขยายจาก ของเดิมที่มีอยู่ ซึ่งต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการก่อน เป็นโครงงานที่ เกิดจากปัญหาความต้องการทฤษฎีใหม่ๆ หลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ มาใช้ ประโยชน์ในโอกาสอื่นๆ จึงดาเนินการสร้างทฤษฎีใหม่ๆขึ้น โดยอาศัย ทฤษฎี หลักการ หลักการทางวิทยาศาสตร์ หรือทฤษฎีอื่นๆ ตลอดจน ข้อมูลอื่นๆ สนับสนุนโครงงานประเภทนี้
  • 21. 3. โครงงานประเภทการศึกษาทฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ๆ (ต่อ) เป็นโครงงานทางคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ เช่น • การเกษตรทฤษฎีใหม่ • การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ • การผลิตแท่งเชื่อเพลิงเขียว • ความมหัศจรรย์ของเลข 9 • คณิตคิดลัด • เกษตรผสมผสาน
  • 22. 4. โครงงานประเภทการประดิษฐ์ คิดค้น (Developmental research project or invention project) เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์คือ การนาความรู้ ทฤษฎี หลักการมา ประยุกต์ใช้ อาจเป็นโครงงานที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ขึ้นใหม่หรือ หลังจากที่ได้ศึกษาทฤษฎีหรือพบเห็นผลงานของผู้อื่นแล้วต้องการพัฒนา ผลงานนั้น จึงทาการดัดแปลง สร้างแบบจาลองขึ้นเพื่ออธิบายแนวคิด บางอย่าง หรือประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ แล้ว ศึกษาคุณภาพหาประสิทธิภาพและอายุการใช้งาน ซึ่งอาจเป็นการ ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้นก็ได้
  • 23. 4. โครงงานประเภทการประดิษฐ์ คิดค้น (ต่อ) ตัวอย่างของโครงงานประเภทการประดิษฐ์ เช่น • ถังขยะจากยางรถยนต์ • ผลิตภัณฑ์กระดาษสา • แบบจาลองพัดลมไอน้า • กระดาษจากว่านหางจระเข้ • โครงงานประดิษฐ์โคมไฟฟ้ า • กระถางต้นไม้จากกระดาษใช้แล้ว • น้ายาบ้วนปากจากสมุนไพรธรรมชาติ • ดอกไม้ประดิษฐ์จากใบไม้ประเภทต่างๆ • โครงงานการสร้างแบบจาลองบ้านประหยัดไฟ • โครงงานประดิษฐ์สิ่งของประดับบ้านด้วยไม้ไผ่
  • 28. ความหมายของโครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา” โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้าง โปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและ คาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการ พัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 29. ลักษณะเด่นของโครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา” ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียน สามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน นี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ ออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่ เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชา กิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น
  • 30. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการสร้าง โปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บท ทบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือ รายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษา ด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนใน วิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา สื่อเพื่อการศึกษา เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล หลัก ภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนา เว็บไซต์ วิถีชีวิตของคนไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรม ความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรมสานวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออก เสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้คณิตศาสตร์
  • 32. 1. โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก ผู้พัฒนา : นางสาว อัญชลี เตมีประเสริฐกิจ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ชนารัตน์ คาอ่อน สถานศึกษา : โรงเรียนระยองวิทยาคม
  • 33. 2. โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ผู้พัฒนา : นายเทพ รัตนเรืองจารูญ และนายพงศกร พันธุ์พงษ์สิทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์สโรชา สายเนตร สถานศึกษา : ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ
  • 34. 3. โปรแกรมสนุกไปกับตารางธาตุ ผู้พัฒนา: เด็กหญิงวริศรา พรหมมณี และเด็กหญิงกมลวรรณ ทองงาน อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ทัศนีย์ ระลึกมูล สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จ.พิษณุโลก
  • 35. 4. โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ผู้พัฒนา : เด็กหญิงวรรณรวัส ยินดีเดช อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ศรา หรูจิตตวิวัฒน์ สถานศึกษา : โรงเรียนเซนต์ฟรังซิสซาเวียร์คอนแวนต์ กรุงเทพฯ 5.โปรแกรมสานวนไทยพาสนุก ผู้พัฒนา : เด็กหญิงจิราพร แจ้งไพร และเด็กหญิงกนิษฐา สุริเมือง อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์วิรุบล จันตา สถานศึกษา : โรงเรียนภัทรวิทยา จ.ตาก
  • 36. แหล่งอ้างอิง • http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog- post.html • http://st.mengrai.ac.th/users/9134/u1.doc • http://www.thaigoodview.com/node/17030?p age=0%2C7 • http://www.rayongwit.ac.th/chanarat/unit1/u nit1-3.html • http://tc.mengrai.ac.th/kruyuy
  • 39. ความหมายของโครงงาน ประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ” เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาดดยการ สร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะมีแบบฝึกหัด คาถาม คาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือกลุ่มการสอนโดย ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่งอาจพัฒนาในรูปบทเรียนออนไลน์ให้ผู้เรียนเข้า มาศึกษาด้วยตัวเอง โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การ เคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชา กิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น
  • 40. ตัวอย่างชื่อโครงงาน • โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย • โปรแกรมอ่านอักษรไทย • โปรแกรมวาดภาพสามมิติ • โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล • โปรแกรมบีบอัดข้อมูล • โปรแกรมประมวลผลคาไทยบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ • โปรแกรมการออกแบบผังงาน • พอร์ตแบบขนานของไทย • การส่งสัญญาณควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
  • 42. • โครงงานโปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน • โครงงานระบบสุริยะจักรวาล • โครงงานโปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่างๆ • โครงงานสถานที่สาคัญของประเทศไทย • โครงงานหลักภาษาไทย
  • 46. ความหมาย โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ ทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ สูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงาน ประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลอง ทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และ การทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
  • 48. เลขทะเบียน คง 2543 ต002 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2543 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กาหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH จานวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดาเนินการทดลองคือ ทาการวัดระดับความ ดังของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่บันทึกไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่าง ระหว่างเวลากลางวันและกลางคืน ทาการบันทึก แล้วนาความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ ไปตั้งค่ากับเครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทาการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟจากผลการทดลอง พบว่า เครื่องมือดังกล่าวสามารถทางานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทาการ ดับไฟ และไม่มีเสียงดังเกินค่าที่ตั้งไว้เครื่องมือก็จะทาการปิดไฟได้อย่างถูกต้องโดยอาจมีความ ผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออดระหว่างคาบเรียน หัวเรื่อง สวิทซ์ ไฟฟ้า
  • 49. เลขทะเบียน คง 2542 ต041 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์ 2542 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 1 กาหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง MOTER SPRAYER IV จานวนหน้า 31 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือในการทา การเกษตร อุปกรณ์ที่ใช้ทาการทดลอง ได้แก่ Motor Sprayer IV ซึ่งเป็นเครื่องมือทาสเปรย์ที่ใช้ ในการพ่นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืชเพื่อกาจัดแมลงศัตรูพืช ให้ปุ๋ ย ฮอร์โมน ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นจากการ พัฒนามาจาก Motor Sprayer 3 ซึ่ง Motor Sprayer 3 ต้องใช้แบตเตอรี่ขนาด 6 โวลต์ ทาให้เกษตรกรต้องแบกเป็นเวลานานและไม่สะดวกต่อการใช้งาน เมื่อMotor ส่วนท้ายชารุดจะมีผล ทาให้ Motor หมุนช้าลงและละอองน้ายาที่ฉีดพ่นกระจายตัวไม่สม่าเสมอ จึงได้มีการปรับปรุง โดย การเพิ่มประสิทธิภาพ Motor ให้ใช้ไฟเลี้ยงแรงดันไฟเพียง 4.8 โวลต์ เปลี่ยนแม่เหล็กเป็นแบบความ เข้มข้นของสนามแม่เหล็กสูง เพื่อลดการใช้พลังงานพลังงานไฟฟ้ า เปลี่ยนแกนหมุนเป็นแบบลูกปืน เพื่อ ลดการเสียดทาน ลดอัตราการไหลของน้ายาลงทาให้ปริมาณยาฉีดพ่นและเพิ่มประสิทธิการกระจายตัว ของยาที่ฉีดพ่น ลดขนาดถังน้ายาและใช้แบตเตอรี่เลียนแบบถ่านนิเกิล แคดเมียม สรุปแล้วพบว่า เครื่อง Motor Sprayer 4 ที่ทาการปรับปรุงนี้สามารถใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่ารุ่น ก่อนเป็นอย่างมาก หัวเรื่อง มอเตอร์ sprayer
  • 50. เลขทะเบียน คง 2549 ป057 โรงเรียน โรงเรียนอัสสัมชัญลาปาง จังหวัดลาปาง 2549 เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ภาคเหนือตอนบน ชื่อเรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จานวนหน้า 19 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง VISUALIZER (เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง) จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนาหลักการทางด้าน วิทยาศาสตร์เรื่องแสงตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุออกมา เพื่อเป็นการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอนในชั้นเรียน ซึ่ง ขั้นตอนการทาก็เริ่มจากดาเนินการศึกษาจากอุปกรณ์จริง คือ เครื่อง VISUALIZER ในห้องปฏิบัติการว่ามีคุณสมบัติ และวิธีการทางาน อย่างไร ผลที่ได้คือ หลักการสะท้อนของแสง เมื่อมีแสงมาตกกระทบวัตถุ แสงจะสะท้อนวัตถุนั้นและเกิดภาพหรือลักษณะของวัตถุนั้น ออกมา ในลักษณะของการสมมาตรคือ การตกกระทบเท่ากับการสะท้อน และถ้าเรานาฉากไปรับสามารถเกิดภาพได้ จึงนาหลักการดังกล่าว มาประยุกต์ใช้ และเราได้ใช้เลนส์นูนร่วมกับการประดิษฐ์เนื่องจากมีคุณสมบัติรวมแสง แต่ภาพที่เกิดภาพหัวกลับ เราจึงใช้กระจกเงาราบ แผ่นหนึ่งสะท้อนไปยังฉากเพื่อให้ได้ภาพหัวตั้ง จากการนาโครงงานทาให้เราสามารถผลิตสื่ออุปกรณ์ ที่เกิดจากวัสดุที่ราคาไม่แพงและมี คุณสมบัติที่สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์ที่ทางคณะผู้จัดทาต้องการศึกษา และได้ทาการทดลองใช้งานพร้อมกับทาการทดลองหาความ ชัด โดยพบว่าถ้าเราใช้แสงไฟที่เข้มเพียงพอ และขนาดเลนส์ที่ใหญ่เราก็จะสามารถฉายภาพที่ขนาดใหญ่ได้แล้วภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากกว่า การใช้ความเข้มแสงน้อย และเลนส์ขนาดเล็ก นอกจากนี้เราต้องอาศัยปัจจัยภายนอกเข้ามาช่วยด้วย คือ ความสว่างของบริเวณภายในห้องที่ เราใช้ต้องมีน้อย นั้นคือความสามารถเกิดภาพที่ชัดเจนได้ในที่มืด เพราะฉะนั้นการผลิตเครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง (VISUALIZER)นี้ก็ เป็นการที่สามารถทาให้เกิดแนวทางในการนาไปพัฒนาในต่อๆ ไปมากขึ้น หัวเรื่อง เครื่องฉายภาพวัตถุทึบแสง VIisualizer
  • 51. เลขทะเบียน คง 2545 ต064 โรงเรียน โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2545 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลชมเชย สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ภาคเหนือตอนบน ชื่อเรื่อง Wallpaper จากเศษวัสดุธรรมชาติช่วยลดความร้อนภายในบ้าน จานวนหน้า 22 หน้า : ภาพประกอบ สาระสังเขป ทางคณะผู้จัดทาได้แนวคิดที่จะลดขยะโดยนามาทาเป็นกระดาษบุผนังหรือWallpaper ซึ่งสามารถดูดความ ร้อนได้จึงแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 นาชานอ้อยมาทาWallpaper ขั้นแรกเติมโซดาไฟเพื่อให้ ชานอ้อยนิ่ม นาไปต้มเพื่อให้แยกออกเป็นเส้นๆ หลังจากนั้นบดให้ละเอียด และนาเยื่อของชานอ้อยที่ได้ไปตากแห้ง ให้เป็นแผ่น และทาแชลแลคในขั้นตอนสุดท้ายเพื่อความแข็งทนทานและเป็นมันวาว ตอนที่ 2 ทาบ้านจาลองโดยใช้ กล่อง 2 ใบซึ่งมีขนาดและความหนาเท่ากันและติด Wallpaperจากชานอ้อย หนึ่งใบ วัดอุณหภูมิของกล่องทั้ง สองใบ จากการทดลองตอนที่ 1 พบว่า เยื่อของชานอ้อยสามารถเกาะติดกันเป็นแผ่นเดียวกัน แต่ไม่สวยสมบูรณ์มาก นักเนื่องจากการทดลองครั้งนี้ทาเพื่อให้เห็นถึงการยึดเกาะของเยื่อจากชานอ้อย แต่ไม่ได้พิถีพิถันตกแต่งให้เกิดความ สวยงาม และตอนที่ 2พบว่า กล่องที่ติด Wallpaper จากชานอ้อยจะมีอุณหภูมิต่ากว่ากล่องที่ไม่ ติด Wallpaper สรุปได้ว่าเยื่อของชานอ้อยมีคุณสมบัติในการดูดความร้อนได้จริง หัวเรื่อง การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ ชานอ้อย
  • 52. เลขทะเบียน คง 2546 ป106 โรงเรียน โรงเรียนนิยมศิลป์ อนุสรณ์ จ.เพชรบูรณ์ 2546 เกียรติบัตร ม.ปลาย ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง My Injet จานวนหน้า 32 หน้า : ภาพประกอบ สาระสังเขป ศึกการนาส่วนต่างๆของพืชที่ให้สีต่างกัน มาผสมตามหลักทฤษฎีสีเพื่อให้เกิดสีดา โดยทดลองเปรียบเทียบวิธี สกัดสีจากพืช พบว่าวิธีที่เหมาะสมที่สุดคือการสกัดด้วยเมธานอล จากนั้นสกัดสีจากส่วนต่างๆของพืช โดยสี แดงสกัดได้จากใบประดับเฟื่องฟ้ า สีเหลืองได้จากขมิ้น และสีน้าเงินได้จากดอกอัญชัน นาน้าสีที่สกัดได้ไปอบ ด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ตัวสีที่เข้มข้น จากนั้นนาตัวสีแต่ละสีมา 0.5 กรัม นา แต่ละสีไปผสมน้าอย่างละ 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในอัตราส่วนระหว่าง สีแดง : สีเหลือง : สีน้าเงิน เท่ากับ 3 : 1 : 4 จะได้สีดาที่สุดแล้วนาไปอบด้วยความร้อน 60 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เมื่อได้สารสีดาที่เข้มข้นแล้ว นาไปผสมเอทานอล 50% ที่อัตราส่วนคือ หมึก 1 กรัม : เอทานอล 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นเติมน้ายาล้าง จาน 0.1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อลดแรงตึงผิว แล้วนาไปปั่นให้ตกตะกอน 3 ครั้ง นาหมึกบรรจุในคาร์ทริดจ์แล้ว สั่งพิมพ์ พบว่าสามารถพิมพ์ได้แต่สีดายังดาไม่สนิท เนื่องจากเป็นสีจากธรรมชาติจึงไม่เข้มเหมือนกับหมึก สังเคราะห์ หัวเรื่อง หมึกพิมพ์
  • 54. การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่า อยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือ ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและ ชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัวเรื่อง ของโครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จาก การอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชม นิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกต ปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้
  • 55. ๒ การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การ ดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อน ดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญอย่างไร มี หลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทา ได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูก หรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทาง ในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูล อะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง
  • 56. ๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลง มือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และ สถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายาม บันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงาน ควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน ๕ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอ ผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของ ผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัด นิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่ง สาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความ ถูกต้องของเนื้อหา
  • 57. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุก โครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะเวลา และ สรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมี ส่วนเกี่ยวข้อง
  • 58. ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรง ตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการเขียนแผนผัง โครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้ง บอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธี การศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถาม ล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่า เป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
  • 59. ๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ • ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ • ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น • ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป • ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผล แทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป
  • 60. แหล่งอ้างอิง เนื้อหา • http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 • http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0 • http://www.prc.ac.th/SBM/p2.htm ตัวอย่างโครงงานทดลอง • http://scienceproject.makewebeasy.com/customize- %E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8% B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B 8%A0%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0 %B8%87-42696-1.html
  • 63. ความหมาย โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็น โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับ การผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการ ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของ ขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพ สูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้ว นาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษา โปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 65. ตัวอย่างโครงงาน 1 ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทา โครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการแทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบน recording medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะสามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้ จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการแทรกสอด และเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะสามารถคานวณรูปแบบ การแทรกสอดบน recording medium, นั้นได้จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เราคานวณได้ด้วยวิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่ง hologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer Generated Hologram (CGH) การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคานวณ Interference pattern และการ lithography เพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ในการบังคับ ลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทาเป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนาประยุกต์ใช้งาน เป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS System หรือการทา Holographic Solar Concentrator เป็นต้น
  • 66. ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย สรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและ ค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการ ซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการ ตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ระบบจะทาการแจ้งเตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนาข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคาสินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้โดยระบบนี้จะแบ่งการทางานออกเป็น ส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการโดยแสดง รายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนดยกเลิกสินค้าที่ไม่ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของสินค้านั้น ตรงกับราคาที่ต้องชาระจริงซึ่งจะอานวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภคได้
  • 67. ตัวอย่างโครงงาน 3 ชื่อโครงงาน การ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์The Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อ ประยุกต์การใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล , นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สโรช ไทรเมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/ เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของวัตถุที่ เราสนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึงข้อมูลต่างๆ อันได้แก่ ตาแหน่ง ตาแหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกาลังถูกพัฒนาให้สามารถทางานได้ตาม ดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้แต่ยังไม่สามารถระบุตาแหน่งที่ชัดเจนได้ เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จาเป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมีมากกว่า 1 ส่วนที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วน หนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้า อีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลัง เป็นต้น This software is a work developed for study the movement of object by input video file from a standing video recorder. It will work by analyze position, coordinating system, velocity and rotation. We have developed this program until this program can detect the different in 2 or more images. But it is not totally work for detect a right position, because an object may have some part move freely from others, for example, some moves forward while the other moves backward.