SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
โดย
นส. นพรัตน์ น้าคา 533050406-1
นส. นับเดือน บุตรละคร 533050432-0
นส. พิมพ์พลอย ศรไชย 533050438-8
ชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์
สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างปะเทศ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อ
ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ที่
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
ภารกิจ
เหตุผลที่ไม่ตรงตามเป้ าประสงค์
แนวทางแก้ไขที่ทาให้สื่อและการ
เรียนรู้มีความสอดคล้องกัน
ครูสมศรีเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนการสอนเพราะ
กระแสหรือได ้ยินข่าวทางการศึกษาว่าต ้องมีการเปลี่ยน
วิธีการสอนใหม่เพื่อให ้สอดคล ้องกับความเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน โดยต ้องนาสื่อเข ้า
มาใช ้ในการเรียนการสอน จึงทาให ้ครูสมศรีสร ้างสื่อขึ้นมา
ตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเองจากัดการ
เรียนรู้ของเด็กมากเกินไป ว่าต ้องเรียนรู้ตามที่ครูจัดขึ้นมา
เท่านั้น ลืมคานึงว่าการใช ้สื่อเข ้ามาในการเรียนการสอน
ไม่ได ้มีเพียงแค่การหาเนื้อหามาบรรจุ , ใช ้รูปภาพแทน
การบอกจากครู หรือการใช ้เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข ้า
ไป เพื่อให ้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิดของตน
เท่านั้น แต่ควรสร ้างองค์ความรู้ให ้เหมาะสมกับบริบท
หรือสถานการณ์ต่างของผู้เรียนด ้วย เพราะถ ้าใช ้สื่อไม่ถูก
วิธีหรือใช ้สื่อที่ซ้าๆก็จะทาให ้นักเรียนไม่มีแรงจูงใจในการ
เรียนรู้และเกิดความเบื่อหน่ายในที่สุด
ควรศึกษาโปรแกรมที่พัฒนาการ
เรียนรู้ที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น
นอกเหนือจากรูปแบบสื่อเดิม เช่น
การสร้างบทเรียนใน e-
learning , edmodo , google
search หรือให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
การออกแบบสื่อการเรียนรู้ เป็นต ้น
ซึ่งจะทาให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างสรรค์
ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ เป็นการเรียนรู้
ร่วมกับครูมากกว่าการรับความรู้จาก
ครูเพียงอย่างเดียว
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ :
1. ครูสมศรี จากัดความรู้ของผู้เรียน โดยสร ้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด
และประสบการณ์ของตนเอง
เหตุผลที่ไม่ตรงตามเป้ าประสงค์
แนวทางแก้ไขที่ทาให้สื่อและการ
เรียนรู้มีความสอดคล้องกัน
บทบาทของผู้เรียนเป็นเพียงผู้ที่รอรับ
(Passively) ความรู้ เพียงอย่างเดียว ไม่มีการ
การออกขั้นตอนของการเรียนรู้ที่ชัดเจน และไม่
ฝึกฝนให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ นอกเหนือเนื้อหา
ความรู้ที่ได ้รับ ซึ่งในบทเรียนของครูสมศรีต ้อง
จาหมดทุกอย่างไม่มีการแบ่งความรู้หลัก หรือ
ความรู้ย่อยทาให ้ผู้เรียนยิ่งมีความสับสน
มากกว่าการเรียนแบบปกติ ส่งผลให ้ผู้เรียนไม่
สามารถสร ้างองค์ความรู้ของตนเองได ้
- ผู้สอนควรศึกษาหลักพฤติกรรมต่างๆ
ของผู้เรียนเพราะ การเรียนรู้ควรมี
จัดเตรียมสิ่งแวดล ้อมที่ให ้ผู้เรียนได ้
กระตุ้นให ้ผู้เรียนเป็นผู้สร ้างความรู้ด ้วย
ตนเอง
- ฝึกให ้ผู้เรียนจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่
เรียนรู้ต่างๆให ้เป็นระเบียบ เพื่อให ้
สามารถถ่ายโยง ความรู้ และทักษะเดิม
หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล ้วไปสู่บริบทและ
ปัญหาใหม่ได ้
ดังนั้นการทาความเข ้าใจว่าคนเรา
เรียนรู้ได ้อย่างไรจึงเป็นหัวใจสาคัญที่จะ
นาไปเป็นพื้นฐานในการออกแบบการ
สอน สื่อ และนวัตกรรมทางการศึกษา
อื่นๆ ให ้มีความเหมาะสมและสอดคล ้อง
กับผู้เรียน
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ :
2. ครูสมศรีไม่ได้ศึกษาหลักการ/ทฤษฏี พฤติกรรมต่างๆในการเรียนรู้ของผู้เรียนมาก่อน
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิด
ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอน
ว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ?
ภารกิจ
คือ แบบแผนการดาเนินการสอนที่ได ้รับการจัดระบบอย่าง
สัมพันธ์กับทฤษฎี/หลัก การเรียนรู้หรือการสอนที่รูปแบบนั้น
ยึดถือ และได ้รับการพิสูจน์ ทดสอบว่ามี
ประสิทธิภาพ สามารถช่วยให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
จุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ โดยมีแนวคิดมาจาก...
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม (Behaviorism หรือ
S-R Associationism) มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง (Response) หรือ
พฤติกรรมที่แสดงออกมา
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม
(Stimulus) (Response)
มุ่งเน้นการ
ออกแบบ
เพื่อให ้ผู้เรียน
สามารถจดจา
ความรู้ให ้ได ้ใน
ปริมาณมาก
ที่สุด
บทบาทของ
ผู้เรียนเป็น
ผู้รับข ้อมูล
สารสนเทศ
งานของ
ครูผู้สอนจะ
เป็นผู้นาเสนอ
ข ้อมูล
สารสนเทศ
ข ้อมูลข่าวสาร
จะถูก
ถ่ายทอด
โดยตรงจาก
ครูผู้สอนไป
ยังผู้เรียน
ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยม
(Newby, T.J. and Others, 2000)
การออกแบบ
สื่อตามแนว
พฤติกรรม
นิยม
1) ระบุวัตถุประสงค์การ
สอนที่ชัดเจน
2) การสอนในแต่ละขั้นตอน นา
ไปสู่การเรียนแบบรอบรู้
(Mastery learning)
3) ให ้ผู้เรียนได ้
เรียนไปตาม
อัตราการเรียนรู้
ของตนเอง
4) ดาเนินการ
สอนไปตาม
โปรแกรม
5) การออกแบบการ
เรียนเป็นลักษณะเชิง
เส ้นที่เป็นลาดับขั้นตอน
6) การให ้ผลตอบ
กลับทันทีทันใด
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism)
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด ้านปริมาณ
และด ้านคุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล ้ว
ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให ้เป็น
ระเบียบ เพื่อให ้สามารถเรียกกลับมาใช ้ได ้ตามที่ต ้องการ และ
สามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล ้ว
ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่ (Mayer, 1992)
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม
ให ้ความสาคัญกับการปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง สิ่งเร้าภายนอก
(ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับ สิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความ
เข ้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด (Cognitive Process)
สิ่งเร้าภายนอก
(ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ)
สิ่งเร้าภายใน
(ความรู้ความเข ้าใจ /กระบวนการรู้คิด)
การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อ
ตามแนวพุทธิปัญญา
การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร ้างโครงสร ้างสารสนเทศ
ให ้กับผู้เรียน
การสร ้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม
ใช ้เทคนิคเพื่อแนะนาและสนับสนุนให ้ผู้เรียนใส่ใจ
- การมุ่งเน้นคาถาม (Focusing question) ซึ่งนามาใช ้ในขั้นนาเข ้าสู่
บทเรียนเพื่อกระตุ้นให ้ผู้เรียนใส่ใจในสิ่งที่จะเรียนรู้
- การเน้นคาหรือข้อความ (Highlighting) เป็นเทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให ้
ผู้เรียนใส่ใจสานสนเทศได ้โดยตรง
- การใช้ Mnemonic เป็นวิธีการที่ช่วยให ้ผู้เรียนสามารถบันทึกสารสนเทศ
และเรียกกลับมาใช ้ได ้ง่าย
- การสร้างภาพ (Imagery) เป็นการสร ้างภาพที่เป็นตัวแทนสารสนเทศใหม่
ได ้รับ
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ อธิบายว่า
การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วย
ตนเองโดยพยายามสร ้างความเข ้าใจ (Understanding)
นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได ้รับ โดยการสร ้างสิ่งแทนความรู้
(Representation) ขึ้นมา
 ผู้เรียนคือลงมือกระทาการเรียนรู้
 ครูคือผู้สร ้างสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่ให ้ผู้เรียน
มีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญาตามแนวคิดของเพียเจต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมตามแนวคิดของไวกอตสกี้
แสดงกระบวนการสร ้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัค
ติวิสต์เชิงปัญญา ตามแนวคิดของเพียเจต์
แสดงกระบวนการสร ้างความรู้ตามแนวทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นรูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกัน
ระหว่าง "สื่อ" (Media) กับ "วิธีการ" (Methods) โดยการนา
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ
ร่วมกับสื่อ มีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อ
ที่สนับสนุนการสร ้างความรู้ของ ผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ
และหลักการสาคัญที่ใช ้ในการออกแบบดังนี้
สาหรับการออกแบบสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้น การพัฒนากระบวนการคิด
อย่างอิสระและ สร ้างความรู้ได ้ด ้วยตนเองของผู้เรียน
(1) สถานการณ์ปัญหา
(2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ
(4) การร่วมมือกันแก ้ปัญหา (5) การโค ้ช
เปรียบเทียบมุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ทั้ง 3 กลุ่มแนวคิด
พฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยม คอนสตรัคติวิสต
การเรียนรู้คืออะไร
การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของ
ความรู้ที่ถูกเก็บไว ้ใน
หน่วยความจา
การเปลี่ยนแปลง
อย่างมีความหมาย
เกี่ยวกับรู้ที่สร ้างขึ้น
กระบวนการเรียนรู้
คืออะไร
Antecedent
behavior
consequence
การใส่ใจ
การเข ้ารหัส
การเรียกกลับของ
สารสนเทศใน
หน่วยความจา
การร่วมมือกัน
แก ้ปัญหา
บทบาทของผู้สอน
คืออะไร
บริหารจัดการสิ่งเร ้าที่
จะให ้ผู้เรียน
นาเสนอสารสนเทศ แนะนาและให ้รูปแบบ
บทบาทของผู้เรียน รับสิ่งเร ้าที่ครูจัดให ้ รอรับสารสนเทศ
สร ้างความรู้อย่าง
ตื่นตัว
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลก
มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่
ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ
สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน
ของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ
ยกตัวอย่างประกอบ
ภารกิจ
สื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางที่มี
ความสาคัญในกระบวนการจัดการเรียนการสอนในยุคโลกาภิวัฒน์หรือในยุค
ที่เต็มไปด ้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารต่างๆ
ซึ่งช่วยเปิดโลกการเรียนรู้กว ้างไกลต่อผู้เรียนมากยิ่งขึ้นการเลือกสื่อการ
เรียนการสอนเพื่อนามาใช ้ประกอบการสอนเพื่อให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง
มีประสิทธิภาพนั้นเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง ผู้สอนจะต ้องตั้งวัตถุประสงค์เชิง
พฤติกรรมในการเรียน เพื่อใช ้วัตถุประสงค์นั้นเป็นตัวชี้นาในการเลือกสื่อการ
เรียนการสอนที่เหมาะสมบนพื้นฐานต่อไปนี้ คือ
1. ความสัมพันธ์กับเนื้อหาในบทเรียนและตรงกับจุดมุ่งหมายที่จะสอน
2. มีเนื้อหาถูกต ้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็นสื่อที่จะให ้ผลต่อการเรียน
การสอนมากที่สุด ช่วยให ้ผู้เรียนเข ้าใจในเนื้อหาวิชานั้นๆ ได ้ดีเป็นลาดับ
ขั้นตอน
3. เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน
4. สะดวกในการใช ้ มีวิธีใช ้ไม่ซับซ ้อนยุ่งยากจนเกินไป
5. ต ้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนและเป็นจริง
6. มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ ้าจะผลิตเองก็ควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
1.สื่อ CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
การนาคอมพิวเตอร์มา
เป็นเครื่องมือสร ้างให ้
เป็นโปรแกรม
คอมพิวเตอร์เพื่อให ้
ผู้เรียนนาไปเรียนด ้วย
ตนเองและเกิดการ
เรียนรู้ในโปรแกรม
ประกอบไปด ้วย
เนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด
แบบทดสอบ ลักษณะ
ของการนาเสนออาจมี
ทั้งตัวหนังสือ
ภาพกราฟิก
ภาพเคลื่อนไหว สีหรือ
เสียงเพื่อดึงดูดให ้
ผู้เรียนเกิดความสนใจ
มากยิ่งขึ้น
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
2. E-Leaning หรือบทเรียนออนไลน์
e-Learning คือ การเรียน การสอนซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทาผ่าน
ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต
เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์หรือ สัญญาณดาวเทียม ฯลฯ ซึ่งการ
เรียนลักษณะนี้เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด ้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ
(Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียน
ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือการเรียนด ้วยวีดีโอผ่านออนไลน์
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
อีบุ๊ค (e-book, e-Book, eBook,
EBook,) มาจากคาว่า electronic
book หมายถึง หนังสือที่สร ้างขึ้นด ้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็น
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ
ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมี
ปฏิสัมพันธ์และโต ้ตอบกับผู้เรียนได ้
นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สามารถแทรกภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และ
สามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต ้องการออก
ทางเครื่องพิมพ์ได ้อีกประการหนึ่งที่
สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สามารถปรับปรุงข ้อมูลให ้ทันสมัยได ้
ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มี
ในหนังสือธรรมดาทั่วไป
3. E-Book หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
4. Tablet หรือเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพกพา
Tablet เป็นเครื่องมือที่สามารถบรรจุหนังสือได ้เป็นพันๆ เล่ม โดยผู้อ่านสามารถ
เลือกเล่มไหนขึ้นมาอ่านก่อนก็ได ้ความสามารถพิเศษอีกอย่างหนึ่งของTablet คือ
การเชื่อมโยงครูอาจารย์ และนักเรียนนักศึกษา เข ้าด ้วยกันผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต
ทาให ้ข ้อจากัดเรื่องสถานที่ในการเรียนการสอนหมดไป ครูอาจารย์ และนักเรียน
นักศึกษา สามารถอยู่กันคนละที่แต่เข ้ามาเรียนพร ้อมกันแบบเห็นหน้าเห็นตาผ่านทาง
กล ้องที่ถูกติดตั้งมาบนTablet ได ้จึงทาให ้การเรียนการสอนทางไกลเกิดขึ้นได ้อย่าง
ง่ายดาย และเข ้าไปถึงกลุ่มคนทุกชั้นไม่ว่าจะอยู่ในชนบทห่างไกลแค่ไหนก็ตาม
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่
5. กระดานอัจฉริยะ INTERACTIVE BOARD
Interactive Board หรือกระดาน
อัจฉริยะ เป็นกระดานระบบสัมผัสที่มี
หน้าจอขนาดใหญ่ ทาหน้าที่เป็น
หน้าจอโปรเจคเตอร์คอมพิวเตอร์
(computer projector screen) ซึ่ง
สามารถควบคุมโดยการสัมผัสหรือ
เขียนบนหน้าจอแทนการใช ้เมาส์หรือ
คีย์บอร์ดประกอบได ้วย 4 องค์ประกอบ
คือ คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์
โปรแกรม และกระดานอัจฉริยะ ซึ่งจะ
อานวยความสะดวกให ้กับผู้ใช ้งานคือ
ไม่ต ้องเดินไปที่คอมพิวเตอร์และ
สามารถบันทึกเสียงได ้แล ้วยังสามารถ
เรียกขึ้นมาใช ้งานใหม่ได ้ทันที และยัง
สามารถใช ้ในการประชุมระหว่างตึก
หรือการเรียนการสอนระหว่างตึก
Past 3 Introduction to technologies and educational media

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCholthicha JaNg
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาMintra Subprue
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ฟาน. ฟฟฟ
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษาJitthana_ss
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3Thamonwan Kottapan
 

What's hot (19)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
The assure model
The assure modelThe assure model
The assure model
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 

Similar to Past 3 Introduction to technologies and educational media

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3FerNews
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3beta_t
 
Past 2 Introduction to technologies and educational media
 Past 2 Introduction to technologies and educational media Past 2 Introduction to technologies and educational media
Past 2 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Pennapa Kumpang
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3lalidawan
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาnfilmean
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงThunyalak Thumphila
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3micnattawat
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Kanpirom Trangern
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษาWaraporn Phimto
 

Similar to Past 3 Introduction to technologies and educational media (20)

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Past 2 Introduction to technologies and educational media
 Past 2 Introduction to technologies and educational media Past 2 Introduction to technologies and educational media
Past 2 Introduction to technologies and educational media
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 

Past 3 Introduction to technologies and educational media

  • 1. โดย นส. นพรัตน์ น้าคา 533050406-1 นส. นับเดือน บุตรละคร 533050432-0 นส. พิมพ์พลอย ศรไชย 533050438-8 ชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างปะเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2.
  • 4. เหตุผลที่ไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ แนวทางแก้ไขที่ทาให้สื่อและการ เรียนรู้มีความสอดคล้องกัน ครูสมศรีเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนการสอนเพราะ กระแสหรือได ้ยินข่าวทางการศึกษาว่าต ้องมีการเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให ้สอดคล ้องกับความเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน โดยต ้องนาสื่อเข ้า มาใช ้ในการเรียนการสอน จึงทาให ้ครูสมศรีสร ้างสื่อขึ้นมา ตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเองจากัดการ เรียนรู้ของเด็กมากเกินไป ว่าต ้องเรียนรู้ตามที่ครูจัดขึ้นมา เท่านั้น ลืมคานึงว่าการใช ้สื่อเข ้ามาในการเรียนการสอน ไม่ได ้มีเพียงแค่การหาเนื้อหามาบรรจุ , ใช ้รูปภาพแทน การบอกจากครู หรือการใช ้เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข ้า ไป เพื่อให ้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิดของตน เท่านั้น แต่ควรสร ้างองค์ความรู้ให ้เหมาะสมกับบริบท หรือสถานการณ์ต่างของผู้เรียนด ้วย เพราะถ ้าใช ้สื่อไม่ถูก วิธีหรือใช ้สื่อที่ซ้าๆก็จะทาให ้นักเรียนไม่มีแรงจูงใจในการ เรียนรู้และเกิดความเบื่อหน่ายในที่สุด ควรศึกษาโปรแกรมที่พัฒนาการ เรียนรู้ที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น นอกเหนือจากรูปแบบสื่อเดิม เช่น การสร้างบทเรียนใน e- learning , edmodo , google search หรือให ้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การออกแบบสื่อการเรียนรู้ เป็นต ้น ซึ่งจะทาให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างสรรค์ ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ เป็นการเรียนรู้ ร่วมกับครูมากกว่าการรับความรู้จาก ครูเพียงอย่างเดียว สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ : 1. ครูสมศรี จากัดความรู้ของผู้เรียน โดยสร ้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง
  • 5. เหตุผลที่ไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ แนวทางแก้ไขที่ทาให้สื่อและการ เรียนรู้มีความสอดคล้องกัน บทบาทของผู้เรียนเป็นเพียงผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ เพียงอย่างเดียว ไม่มีการ การออกขั้นตอนของการเรียนรู้ที่ชัดเจน และไม่ ฝึกฝนให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ นอกเหนือเนื้อหา ความรู้ที่ได ้รับ ซึ่งในบทเรียนของครูสมศรีต ้อง จาหมดทุกอย่างไม่มีการแบ่งความรู้หลัก หรือ ความรู้ย่อยทาให ้ผู้เรียนยิ่งมีความสับสน มากกว่าการเรียนแบบปกติ ส่งผลให ้ผู้เรียนไม่ สามารถสร ้างองค์ความรู้ของตนเองได ้ - ผู้สอนควรศึกษาหลักพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียนเพราะ การเรียนรู้ควรมี จัดเตรียมสิ่งแวดล ้อมที่ให ้ผู้เรียนได ้ กระตุ้นให ้ผู้เรียนเป็นผู้สร ้างความรู้ด ้วย ตนเอง - ฝึกให ้ผู้เรียนจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่ เรียนรู้ต่างๆให ้เป็นระเบียบ เพื่อให ้ สามารถถ่ายโยง ความรู้ และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล ้วไปสู่บริบทและ ปัญหาใหม่ได ้ ดังนั้นการทาความเข ้าใจว่าคนเรา เรียนรู้ได ้อย่างไรจึงเป็นหัวใจสาคัญที่จะ นาไปเป็นพื้นฐานในการออกแบบการ สอน สื่อ และนวัตกรรมทางการศึกษา อื่นๆ ให ้มีความเหมาะสมและสอดคล ้อง กับผู้เรียน สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์ : 2. ครูสมศรีไม่ได้ศึกษาหลักการ/ทฤษฏี พฤติกรรมต่างๆในการเรียนรู้ของผู้เรียนมาก่อน
  • 7. คือ แบบแผนการดาเนินการสอนที่ได ้รับการจัดระบบอย่าง สัมพันธ์กับทฤษฎี/หลัก การเรียนรู้หรือการสอนที่รูปแบบนั้น ยึดถือ และได ้รับการพิสูจน์ ทดสอบว่ามี ประสิทธิภาพ สามารถช่วยให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม จุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ โดยมีแนวคิดมาจาก... การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
  • 8. การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม (Behaviorism หรือ S-R Associationism) มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง (Response) หรือ พฤติกรรมที่แสดงออกมา เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม (Stimulus) (Response) มุ่งเน้นการ ออกแบบ เพื่อให ้ผู้เรียน สามารถจดจา ความรู้ให ้ได ้ใน ปริมาณมาก ที่สุด บทบาทของ ผู้เรียนเป็น ผู้รับข ้อมูล สารสนเทศ งานของ ครูผู้สอนจะ เป็นผู้นาเสนอ ข ้อมูล สารสนเทศ ข ้อมูลข่าวสาร จะถูก ถ่ายทอด โดยตรงจาก ครูผู้สอนไป ยังผู้เรียน
  • 9. ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยม (Newby, T.J. and Others, 2000) การออกแบบ สื่อตามแนว พฤติกรรม นิยม 1) ระบุวัตถุประสงค์การ สอนที่ชัดเจน 2) การสอนในแต่ละขั้นตอน นา ไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ (Mastery learning) 3) ให ้ผู้เรียนได ้ เรียนไปตาม อัตราการเรียนรู้ ของตนเอง 4) ดาเนินการ สอนไปตาม โปรแกรม 5) การออกแบบการ เรียนเป็นลักษณะเชิง เส ้นที่เป็นลาดับขั้นตอน 6) การให ้ผลตอบ กลับทันทีทันใด
  • 10. การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด ้านปริมาณ และด ้านคุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล ้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให ้เป็น ระเบียบ เพื่อให ้สามารถเรียกกลับมาใช ้ได ้ตามที่ต ้องการ และ สามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล ้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่ (Mayer, 1992) เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม ให ้ความสาคัญกับการปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง สิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับ สิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความ เข ้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด (Cognitive Process) สิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) สิ่งเร้าภายใน (ความรู้ความเข ้าใจ /กระบวนการรู้คิด)
  • 11. การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อ ตามแนวพุทธิปัญญา การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร ้างโครงสร ้างสารสนเทศ ให ้กับผู้เรียน การสร ้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม ใช ้เทคนิคเพื่อแนะนาและสนับสนุนให ้ผู้เรียนใส่ใจ - การมุ่งเน้นคาถาม (Focusing question) ซึ่งนามาใช ้ในขั้นนาเข ้าสู่ บทเรียนเพื่อกระตุ้นให ้ผู้เรียนใส่ใจในสิ่งที่จะเรียนรู้ - การเน้นคาหรือข้อความ (Highlighting) เป็นเทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให ้ ผู้เรียนใส่ใจสานสนเทศได ้โดยตรง - การใช้ Mnemonic เป็นวิธีการที่ช่วยให ้ผู้เรียนสามารถบันทึกสารสนเทศ และเรียกกลับมาใช ้ได ้ง่าย - การสร้างภาพ (Imagery) เป็นการสร ้างภาพที่เป็นตัวแทนสารสนเทศใหม่ ได ้รับ
  • 12. การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ อธิบายว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วย ตนเองโดยพยายามสร ้างความเข ้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได ้รับ โดยการสร ้างสิ่งแทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา  ผู้เรียนคือลงมือกระทาการเรียนรู้  ครูคือผู้สร ้างสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่ให ้ผู้เรียน มีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญาตามแนวคิดของเพียเจต์ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมตามแนวคิดของไวกอตสกี้
  • 15. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นรูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกัน ระหว่าง "สื่อ" (Media) กับ "วิธีการ" (Methods) โดยการนา ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ ร่วมกับสื่อ มีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อ ที่สนับสนุนการสร ้างความรู้ของ ผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการสาคัญที่ใช ้ในการออกแบบดังนี้ สาหรับการออกแบบสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ตามแนว คอนสตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้น การพัฒนากระบวนการคิด อย่างอิสระและ สร ้างความรู้ได ้ด ้วยตนเองของผู้เรียน (1) สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก ้ปัญหา (5) การโค ้ช
  • 16. เปรียบเทียบมุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ทั้ง 3 กลุ่มแนวคิด พฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยม คอนสตรัคติวิสต การเรียนรู้คืออะไร การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงของ ความรู้ที่ถูกเก็บไว ้ใน หน่วยความจา การเปลี่ยนแปลง อย่างมีความหมาย เกี่ยวกับรู้ที่สร ้างขึ้น กระบวนการเรียนรู้ คืออะไร Antecedent behavior consequence การใส่ใจ การเข ้ารหัส การเรียกกลับของ สารสนเทศใน หน่วยความจา การร่วมมือกัน แก ้ปัญหา บทบาทของผู้สอน คืออะไร บริหารจัดการสิ่งเร ้าที่ จะให ้ผู้เรียน นาเสนอสารสนเทศ แนะนาและให ้รูปแบบ บทบาทของผู้เรียน รับสิ่งเร ้าที่ครูจัดให ้ รอรับสารสนเทศ สร ้างความรู้อย่าง ตื่นตัว
  • 17. 3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลก มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน ของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบ ภารกิจ
  • 18. สื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางที่มี ความสาคัญในกระบวนการจัดการเรียนการสอนในยุคโลกาภิวัฒน์หรือในยุค ที่เต็มไปด ้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารต่างๆ ซึ่งช่วยเปิดโลกการเรียนรู้กว ้างไกลต่อผู้เรียนมากยิ่งขึ้นการเลือกสื่อการ เรียนการสอนเพื่อนามาใช ้ประกอบการสอนเพื่อให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง มีประสิทธิภาพนั้นเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง ผู้สอนจะต ้องตั้งวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรมในการเรียน เพื่อใช ้วัตถุประสงค์นั้นเป็นตัวชี้นาในการเลือกสื่อการ เรียนการสอนที่เหมาะสมบนพื้นฐานต่อไปนี้ คือ 1. ความสัมพันธ์กับเนื้อหาในบทเรียนและตรงกับจุดมุ่งหมายที่จะสอน 2. มีเนื้อหาถูกต ้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็นสื่อที่จะให ้ผลต่อการเรียน การสอนมากที่สุด ช่วยให ้ผู้เรียนเข ้าใจในเนื้อหาวิชานั้นๆ ได ้ดีเป็นลาดับ ขั้นตอน 3. เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน 4. สะดวกในการใช ้ มีวิธีใช ้ไม่ซับซ ้อนยุ่งยากจนเกินไป 5. ต ้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนและเป็นจริง 6. มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ ้าจะผลิตเองก็ควรคุ้มกับเวลาและการลงทุน
  • 19. ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ 1.สื่อ CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) การนาคอมพิวเตอร์มา เป็นเครื่องมือสร ้างให ้ เป็นโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อให ้ ผู้เรียนนาไปเรียนด ้วย ตนเองและเกิดการ เรียนรู้ในโปรแกรม ประกอบไปด ้วย เนื้อหาวิชา แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ลักษณะ ของการนาเสนออาจมี ทั้งตัวหนังสือ ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือ เสียงเพื่อดึงดูดให ้ ผู้เรียนเกิดความสนใจ มากยิ่งขึ้น
  • 20. ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ 2. E-Leaning หรือบทเรียนออนไลน์ e-Learning คือ การเรียน การสอนซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทาผ่าน ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์หรือ สัญญาณดาวเทียม ฯลฯ ซึ่งการ เรียนลักษณะนี้เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด ้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียน ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือการเรียนด ้วยวีดีโอผ่านออนไลน์
  • 21. ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ อีบุ๊ค (e-book, e-Book, eBook, EBook,) มาจากคาว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่สร ้างขึ้นด ้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็น เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมี ปฏิสัมพันธ์และโต ้ตอบกับผู้เรียนได ้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และ สามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต ้องการออก ทางเครื่องพิมพ์ได ้อีกประการหนึ่งที่ สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถปรับปรุงข ้อมูลให ้ทันสมัยได ้ ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มี ในหนังสือธรรมดาทั่วไป 3. E-Book หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
  • 22. ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ 4. Tablet หรือเครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับพกพา Tablet เป็นเครื่องมือที่สามารถบรรจุหนังสือได ้เป็นพันๆ เล่ม โดยผู้อ่านสามารถ เลือกเล่มไหนขึ้นมาอ่านก่อนก็ได ้ความสามารถพิเศษอีกอย่างหนึ่งของTablet คือ การเชื่อมโยงครูอาจารย์ และนักเรียนนักศึกษา เข ้าด ้วยกันผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต ทาให ้ข ้อจากัดเรื่องสถานที่ในการเรียนการสอนหมดไป ครูอาจารย์ และนักเรียน นักศึกษา สามารถอยู่กันคนละที่แต่เข ้ามาเรียนพร ้อมกันแบบเห็นหน้าเห็นตาผ่านทาง กล ้องที่ถูกติดตั้งมาบนTablet ได ้จึงทาให ้การเรียนการสอนทางไกลเกิดขึ้นได ้อย่าง ง่ายดาย และเข ้าไปถึงกลุ่มคนทุกชั้นไม่ว่าจะอยู่ในชนบทห่างไกลแค่ไหนก็ตาม
  • 23. ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่ 5. กระดานอัจฉริยะ INTERACTIVE BOARD Interactive Board หรือกระดาน อัจฉริยะ เป็นกระดานระบบสัมผัสที่มี หน้าจอขนาดใหญ่ ทาหน้าที่เป็น หน้าจอโปรเจคเตอร์คอมพิวเตอร์ (computer projector screen) ซึ่ง สามารถควบคุมโดยการสัมผัสหรือ เขียนบนหน้าจอแทนการใช ้เมาส์หรือ คีย์บอร์ดประกอบได ้วย 4 องค์ประกอบ คือ คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ โปรแกรม และกระดานอัจฉริยะ ซึ่งจะ อานวยความสะดวกให ้กับผู้ใช ้งานคือ ไม่ต ้องเดินไปที่คอมพิวเตอร์และ สามารถบันทึกเสียงได ้แล ้วยังสามารถ เรียกขึ้นมาใช ้งานใหม่ได ้ทันที และยัง สามารถใช ้ในการประชุมระหว่างตึก หรือการเรียนการสอนระหว่างตึก