SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ระบบประสาท (nervous system)
 ระบบประสาท (nervous system) คือ ระบบการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าของสัตว์ ทำาให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ รอบ
ตัวอย่างรวดเร็ว ช่วยรวบรวมข้อมูลเพื่อให้สามารถ
           ตอบสนองได้ สัตว์ชั้นตำ่าบางชนิด เช่น ฟองนำ้า ไม่มี
ระบบประสาท สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเริ่มมีระบบ
ประสาท สัตว์ชั้นสูงขึ้นมาจะมีโครงสร้างของระบบประสาทซับ
ซ้อน
           ยิ่งขึ้น ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
คือระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก
ระบบประสาทส่ว นกลาง
ระบบประสาทส่วนกลาง(the central nervous system หรือ
somatic nervous system ) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำางาน
ของร่างกาย ซึ่งทำางานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภาย
ใต้
           อำานาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง โดย
เส้นประสาทหลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแส
ประสาทออกจากบริเวณศูนย์กลาง มีอวัยวะที่เกี่ยวข้องดังนี้
                    1. สมอง(brain) เป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆ
ของระบบประสาทส่วนกลาง ทำาหน้าที่ควบคุมการทำากิจกรรม
ทั้งหมดของร่างกาย เป็นอวัยวะชนิดเดียวที่แสดงความสามารถ
ด้านสติปัญญา
            การทำากิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆ สมองของสัตว์มี
กระดูกสันหลังที่สำาคัญแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
                       1.1 เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์(cerebrum
hemisphere) คือสมองส่วนหน้า ทำาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมที่
ซับซ้อนเกี่ยวกับความรู้สึกและอารมณ์ ควบคุมความคิด ความ
จำา และความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆ เช่น การ
ได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น การรับรส การรับสัมผัส
เป็นต้น
                      1.2 เมดัลลาออบลองกาตา(medulla
oblongata) คือส่วนที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ควบคุมการทำางาน
ของระบบประสาทอัตโนวัติ เช่น การหายใจ การเต้นของหัวใจ
การไอ การจาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น
                      1.3 เซรีเบลลัม(cerebellum) คือสมองส่วน
ท้าย เป็นส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการ
ทรงตัว ช่วยให้เคลื่อนไหวได้อย่างแม่นยำา เช่น การเดิน การวิ่ง
การขี่จักรยาน เป็นต้น




 2.ไขสัน หลัง (spinal cord) เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาว
จากสมองไปภายในโพรงกระดูกสันหลัง กระแสประสาทจากส่วน
  ต่างๆ ของร่างกายจะผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแสประสาทเข้า
        และกระแสประสาทออกจากสมอง และกระแสประสาทที่
                 ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง
3. เซลล์ป ระสาท(neuron) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบ
ประสาท เซลล์ประสาทมีเยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาสซึมและ
นิวเคลียสเหมือนเซลล์อื่นๆ แต่มีรูปร่างและลักษณะแตกต่าง
          ออกไปเซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์และเส้นใย
ประสาทที่มี 2 แบบคือ เดนไดรต์(dendrite) ทำาหน้าที่นำากระแส
ประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์และแอกซอน(axon)ทำาหน้าที่นำากระแส
ประสาท
          ออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆ เซลล์ประสาท
จำาแนกตามหน้าที่การทำางานได้ 3 ชนิด คือ
                    3.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับความ
รู้สึกจากอวัยวะสัมผัส เช่น จมูก ตา หู ผิวหนัง ส่งกระแส
ประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน
                    3.2 เซลล์ประสาทประสาน เป็นตัวเชื่อมโยง
กระแสประสาทระหว่างเซลล์รับความรู้สึกกับสมอง ไขสันหลัง
และ เซลล์ประสาทสั่งการ พบในสมองและไขสันหลังเท่านั้น
                    3.3 เซลล์ประสาทสั่งการ รับคำาสั่งจากสมอง
หรือไขสันหลัง เพื่อควบคุมการทำางานของอวัยวะต่างๆ




การทำางานของระบบประสาทส่วนกลาง

         สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลที่เส้นประสาทนำาไป
ยังระบบประสาทส่วนกลางเรียกว่า “กระแสประสาท” เป็น
สัญญาณไฟฟ้าที่นำาไปสู่เซลล์ประสาททางด้านเดนไดรต์ และเดิน
ทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอกซอน แอกซอนส่วนใหญ่มีแผ่น
ไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทำาหน้าที่เป็นฉนวนและทำาให้
กระแสประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น ถ้าแผ่นไขมันนี้ฉีกขาดอาจ
ทำาให้กระแสประสาทช้าลง ทำาให้สูญเสียความสามารถในการใช้
กล้ามเนื้อ เนื่องจากการรับคำาสั่งจากระบบประสาทส่วนกลางได้
ไม่ดี




                ระบบประสาทรอบนอก
                ระบบประสาทรอบนอก (peripheral
nervous system) ทำาหน้าที่รับและนำาความรู้สึกเข้าสู่ระบบ
ประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง จากนั้นนำา
กระแสประสาทสั่ง
         การจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัส รวมทั้ง
เซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง
        ระบบประสาทรอบนอกจำาแนกตามลักษณะการทำางานได้
2 แบบดังนี้
               1. ระบบประสาทภายใต้อำานาจจิตใจ เป็น
ระบบควบคุมการทำางานของกล้ามเนื้อที่บังคับได้รวมทั้งการตอบ
สนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
                    2. ระบบประสาทนอกอำานาจจิตใจ เป็นระบบ
ประสาทที่ทำางานโดยอัตโนวัติ มีศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมอง
และไขสันหลัง ได้แก่ การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน(reflex action)
และเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัสเช่น ผิวหนัง กระแส
ประสาทจะส่งไปยังไขสันหลัง และไขสันหลังจะสั่งการตอบสนอง
ไปยังกล้ามเนื้อโดยไม่ผ่านไปที่สมอง ดังรูป เมื่อมีเปลวไฟมา
สัมผัสที่ปลายนิ้ว กระแสประสาทจะถูกส่งผ่านไปยังไขสันหลัง
โดยไม่ผ่านไปยังสมอง ไขสันหลังทำาหน้าที่สั่งการให้กล้ามเนื้อที่
แขนเกิดการหดตัว เพื่อดึงมือออกจากเปลวไฟทันที
พฤติก รรมของมนุษ ย์ท ี่ต อบสนองต่อ สิ่ง เร้า
                  พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์
เป็นปฏิกิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อการตอบโต้ต่อสิ่งเร้าทั้งภายใน
และภายนอกร่างกาย เช่น
                   - สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน
เอนไซม์ ความหิว ความต้องการทางเพศ เป็นต้น
                  - สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง
อุณหภูมิ อาหาร นำ้า การสัมผัส สารเคมี เป็นต้น
                  กิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าภายนอกอาศัยการทำางานที่ประสานกันระหว่างระบบประสาท
ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบต่อมมีท่อ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
                   1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า
                        - เมื่อได้รับแสงสว่างจ้า มนุษย์จะมี
พฤติกรรมการหรี่ตาเพื่อลดปริมาณแสงที่ตาได้รับ
                   2. การตอบสนองเมื่ออุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า
                        - ในวันที่มีอากาศร้อนจะมีเหงื่อมาก
เหงื่อจะช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกายเพื่อปรับอุณหภูมิ
ภายในร่างกายไม่ให้สูงเกินไป
                        - เมื่อมีอากาศเย็นคนเราจะเกิดอาการ
หดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือ เรียกว่า”ขนลุก”
                   3. เมื่ออาหารหรือนำ้าเข้าไปในหลอดลมเกิด
พฤติกรรมการไอหรือจาม เพื่อขับออกจากหลอดลม
                   4. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ เป็น
พฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต้ทันทีเพื่อความปลอดภัยจาก
อันตราย เช่น
- เมื่อฝุ่นเข้าตามีพฤติกรรมกะพริบตา
                              - เมื่อสัมผัสวัตถุร้อนจะชักมือจากวัตถุ
ร้อนทันที
                              - เมื่อเหยียบหนามจะรีบยกเท้าให้พ้น
หนามทันที




แหล่งที่มา   http://www.esanpt1.go.th/nites/body-wbi/body-wbi/lesson-prasate.htm

More Related Content

What's hot

Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkunatip
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cellBiobiome
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 

What's hot (20)

Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cell
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 

Viewers also liked

หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 

Viewers also liked (17)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 

Similar to ระบบประสาท

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 

Similar to ระบบประสาท (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
1
11
1
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 

ระบบประสาท

  • 1. ระบบประสาท (nervous system) ระบบประสาท (nervous system) คือ ระบบการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของสัตว์ ทำาให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ รอบ ตัวอย่างรวดเร็ว ช่วยรวบรวมข้อมูลเพื่อให้สามารถ ตอบสนองได้ สัตว์ชั้นตำ่าบางชนิด เช่น ฟองนำ้า ไม่มี ระบบประสาท สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเริ่มมีระบบ ประสาท สัตว์ชั้นสูงขึ้นมาจะมีโครงสร้างของระบบประสาทซับ ซ้อน ยิ่งขึ้น ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก ระบบประสาทส่ว นกลาง ระบบประสาทส่วนกลาง(the central nervous system หรือ somatic nervous system ) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำางาน ของร่างกาย ซึ่งทำางานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภาย ใต้ อำานาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง โดย เส้นประสาทหลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแส ประสาทออกจากบริเวณศูนย์กลาง มีอวัยวะที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. สมอง(brain) เป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆ ของระบบประสาทส่วนกลาง ทำาหน้าที่ควบคุมการทำากิจกรรม ทั้งหมดของร่างกาย เป็นอวัยวะชนิดเดียวที่แสดงความสามารถ ด้านสติปัญญา การทำากิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆ สมองของสัตว์มี กระดูกสันหลังที่สำาคัญแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1.1 เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์(cerebrum hemisphere) คือสมองส่วนหน้า ทำาหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมที่ ซับซ้อนเกี่ยวกับความรู้สึกและอารมณ์ ควบคุมความคิด ความ จำา และความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆ เช่น การ ได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น การรับรส การรับสัมผัส เป็นต้น 1.2 เมดัลลาออบลองกาตา(medulla oblongata) คือส่วนที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ควบคุมการทำางาน ของระบบประสาทอัตโนวัติ เช่น การหายใจ การเต้นของหัวใจ การไอ การจาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น 1.3 เซรีเบลลัม(cerebellum) คือสมองส่วน ท้าย เป็นส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการ
  • 2. ทรงตัว ช่วยให้เคลื่อนไหวได้อย่างแม่นยำา เช่น การเดิน การวิ่ง การขี่จักรยาน เป็นต้น 2.ไขสัน หลัง (spinal cord) เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาว จากสมองไปภายในโพรงกระดูกสันหลัง กระแสประสาทจากส่วน ต่างๆ ของร่างกายจะผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแสประสาทเข้า และกระแสประสาทออกจากสมอง และกระแสประสาทที่ ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง
  • 3. 3. เซลล์ป ระสาท(neuron) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบ ประสาท เซลล์ประสาทมีเยื่อหุ้มเซลล์ไซโทพลาสซึมและ นิวเคลียสเหมือนเซลล์อื่นๆ แต่มีรูปร่างและลักษณะแตกต่าง ออกไปเซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์และเส้นใย ประสาทที่มี 2 แบบคือ เดนไดรต์(dendrite) ทำาหน้าที่นำากระแส ประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์และแอกซอน(axon)ทำาหน้าที่นำากระแส ประสาท ออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆ เซลล์ประสาท จำาแนกตามหน้าที่การทำางานได้ 3 ชนิด คือ 3.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับความ รู้สึกจากอวัยวะสัมผัส เช่น จมูก ตา หู ผิวหนัง ส่งกระแส ประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน 3.2 เซลล์ประสาทประสาน เป็นตัวเชื่อมโยง กระแสประสาทระหว่างเซลล์รับความรู้สึกกับสมอง ไขสันหลัง และ เซลล์ประสาทสั่งการ พบในสมองและไขสันหลังเท่านั้น 3.3 เซลล์ประสาทสั่งการ รับคำาสั่งจากสมอง หรือไขสันหลัง เพื่อควบคุมการทำางานของอวัยวะต่างๆ การทำางานของระบบประสาทส่วนกลาง สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลที่เส้นประสาทนำาไป ยังระบบประสาทส่วนกลางเรียกว่า “กระแสประสาท” เป็น
  • 4. สัญญาณไฟฟ้าที่นำาไปสู่เซลล์ประสาททางด้านเดนไดรต์ และเดิน ทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอกซอน แอกซอนส่วนใหญ่มีแผ่น ไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทำาหน้าที่เป็นฉนวนและทำาให้ กระแสประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น ถ้าแผ่นไขมันนี้ฉีกขาดอาจ ทำาให้กระแสประสาทช้าลง ทำาให้สูญเสียความสามารถในการใช้ กล้ามเนื้อ เนื่องจากการรับคำาสั่งจากระบบประสาทส่วนกลางได้ ไม่ดี ระบบประสาทรอบนอก ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system) ทำาหน้าที่รับและนำาความรู้สึกเข้าสู่ระบบ ประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง จากนั้นนำา กระแสประสาทสั่ง การจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัส รวมทั้ง เซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอกจำาแนกตามลักษณะการทำางานได้ 2 แบบดังนี้ 1. ระบบประสาทภายใต้อำานาจจิตใจ เป็น ระบบควบคุมการทำางานของกล้ามเนื้อที่บังคับได้รวมทั้งการตอบ
  • 5. สนองต่อสิ่งเร้าภายนอก 2. ระบบประสาทนอกอำานาจจิตใจ เป็นระบบ ประสาทที่ทำางานโดยอัตโนวัติ มีศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมอง และไขสันหลัง ได้แก่ การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน(reflex action) และเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัสเช่น ผิวหนัง กระแส ประสาทจะส่งไปยังไขสันหลัง และไขสันหลังจะสั่งการตอบสนอง ไปยังกล้ามเนื้อโดยไม่ผ่านไปที่สมอง ดังรูป เมื่อมีเปลวไฟมา สัมผัสที่ปลายนิ้ว กระแสประสาทจะถูกส่งผ่านไปยังไขสันหลัง โดยไม่ผ่านไปยังสมอง ไขสันหลังทำาหน้าที่สั่งการให้กล้ามเนื้อที่ แขนเกิดการหดตัว เพื่อดึงมือออกจากเปลวไฟทันที
  • 6. พฤติก รรมของมนุษ ย์ท ี่ต อบสนองต่อ สิ่ง เร้า พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ เป็นปฏิกิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อการตอบโต้ต่อสิ่งเร้าทั้งภายใน และภายนอกร่างกาย เช่น - สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต้องการทางเพศ เป็นต้น - สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร นำ้า การสัมผัส สารเคมี เป็นต้น กิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อตอบสนองต่อสิ่ง เร้าภายนอกอาศัยการทำางานที่ประสานกันระหว่างระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบต่อมมีท่อ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ 1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า - เมื่อได้รับแสงสว่างจ้า มนุษย์จะมี พฤติกรรมการหรี่ตาเพื่อลดปริมาณแสงที่ตาได้รับ 2. การตอบสนองเมื่ออุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า - ในวันที่มีอากาศร้อนจะมีเหงื่อมาก เหงื่อจะช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกายเพื่อปรับอุณหภูมิ ภายในร่างกายไม่ให้สูงเกินไป - เมื่อมีอากาศเย็นคนเราจะเกิดอาการ หดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือ เรียกว่า”ขนลุก” 3. เมื่ออาหารหรือนำ้าเข้าไปในหลอดลมเกิด พฤติกรรมการไอหรือจาม เพื่อขับออกจากหลอดลม 4. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ เป็น พฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต้ทันทีเพื่อความปลอดภัยจาก อันตราย เช่น
  • 7. - เมื่อฝุ่นเข้าตามีพฤติกรรมกะพริบตา - เมื่อสัมผัสวัตถุร้อนจะชักมือจากวัตถุ ร้อนทันที - เมื่อเหยียบหนามจะรีบยกเท้าให้พ้น หนามทันที แหล่งที่มา http://www.esanpt1.go.th/nites/body-wbi/body-wbi/lesson-prasate.htm